SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
การแยกสารเนือเดียว
            ้




              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                        ั
สารเนือเดียว
                  ้
หมายถึง สารที่มองเห็นผสมกลมกลืนเป็ น
เนื้อเดียวกันตลอดทั้งสาร อาจเกิดจากสาร
หนึ่งชนิดหรื อมากกว่าหนึ่งชนิดก็ได้

ตัวอย่ าง เช่น น้ า น้ าเชื่อม เหรี ยญบาท
โซดาไฟ แก๊สหุงต้ม แอลกอฮอล์ เป็ นต้น
                                By : ครู พชรี ลิมสุ วรรณ
                                          ั ้
วิธีการแยกสารเนือเดียว
                      ้

การระเหย
 การตกผลึก
การกลัน่
 โครมาโตกราฟี
 สกัดด้วยตัวทาละลาย

                        By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                  ั
การระเหย
   ใช้สาหรับแยกสารละลายที่เกิดจากการ
ผสมกันระหว่างของแข็งและของเหลว




                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การระเหย (ต่อ)
หลักการ
   สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหยกลายเป็ นไอ
ได้ดีกว่าสารที่มีจุดเดือดสูง
   ดังนั้น สารที่ระเหย คือ ของเหลว ส่ วน
              ่
สารที่เหลืออยูในภาชนะคือ ของแข็ง
                             By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                       ั
การระเหย (ต่อ)
วิธีการ
     ให้ความร้อนแก่สารละลาย (โดยการต้ม
หรื อตากแดด) สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหย
กลายเป็ นแก๊ส (ไอ) ส่ วนของแข็งซึ่งมีจุด
                       ่
เดือดสูงกว่าจะเหลืออยูในภาชนะ

                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การระเหย (ต่อ)
ตัวอย่ างการแยกสาร
แยกเกลือออกจากน้ าทะเล
 แยกจุนสี ออกจาก CuSO4  5H2O



                      By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                ั
การตกผลึก
ใช้แยกสารที่มีความสามารถในการละลาย
ต่างกันที่อุณหภูมิต่างกัน




                       By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                 ั
การตกผลึก (ต่อ)
หลักการ
1. ความสามารถในการละลายของสาร
=> ที่อุณหภูมิสูง สารมีความสามารถในการ
ละลายสูงกว่าที่อุณหภูมิต่า : ได้ สารละลาย
อิมตัว
  ่
2. กรอง (สารละลายขณะที่ร้อน)
3. ลดอุณหภูมิ : ผลึกของสาร
                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
การตกผลึก (ต่อ)
วิธีการ
      1. ทาสารที่ตองการแยกให้เป็ น สารละลาย
                  ้
อิมตัว โดยการนาสาร (ตัวละลาย ) ใส่ ในตัวทา
  ่
ละลาย และให้ความร้อนแก่สาร จากนั้นเติมสาร
(ตัวละลาย ) ลงไปในตัวทาละลาย จนกระทังตัว่
ละลายไม่ละลาย
                             By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                       ั
วิธีการตกผลึก (ต่อ)
2. กรอง ( สารละลายขณะที่ร้อน )
3. ลดอุณหภูมิลง ( ตังสารละลายอิ่มตัว
                     ้
  ยิ่งยวด ที่อณหภูมิห้อง ,หรื อแช่ในน ้าเย็น)
              ุ
  จะได้ ผลึกของสาร


                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
สารละลายอิ่มตัว

                              ่
คือ สารละลายที่มีตวละลายอยูปริ มาณ
                   ั
    สูงสุ ด ณ อุณหภูมิขณะนั้น




                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การตกผลึก (ต่อ )
สมบัตของตัวถูกละลายทีแยกออกจากกัน
      ิ                 ่
1. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้นอย จะอิ่มตัวก่อน
                             ้
  จะตกผลึกและแยกตัวออกไปก่อน
2. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้มาก จะอิ่มตัวช้า จะ
  ตกผลึกและแยกตัวทีหลัง


                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
การตกผลึก (ต่อ )
ตัวอย่ าง
ทาสารส้มให้บริ สุทธิ์
ทา NiSO4 (aq) ให้บริ สุทธิ์
ทาเกลือให้บริ สุทธิ์


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การกลัน
                    ่
  เป็ นการแยกสารที่เกิดจากของเหลวหลาย
ชนิดผสมกัน โดยของเหลวแต่ละชนิดมี
จุดเดือดต่างกัน



                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การกลัน (ต่อ)
                 ่
ประเภทของการกลัน ่
   1. การกลันแบบธรรมดา
            ่
   2. การกลันลาดับส่ วน
              ่
   3. การกลันด้วยไอน้ า


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การกลัน (ต่อ)
                  ่
หลักการ
    1. การระเหย
    2. การควบแน่น




                       By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                 ั
การกลัน (ต่อ)
                    ่
วิธีการ
    ให้ความร้อนแก่สาร สารที่มีจุดเดือดต่า
จะกลายเป็ นไอออกมาก่อน และเมื่อผ่าน
เครื่ องควบแน่น ไอจะกลันตัวกลับมาเป็ น
                       ่
ของเหลว

                             By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                       ั
การกลันแบบธรรมดา
            ่
   เป็ นการแยกตัวทาละลายออกจากตัว
ละลาย โดยอาศัยหลักการ ระเหย และการ
ควบแน่นเพียงครั้งเดียว




                      By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                ั
การกลันแบบธรรมดา
                   ่
ลักษณะของสารที่จะแยกโดยการกลันแบบธรรมดามี
                                    ่
  ดังนี้
1. ตัวทาละลายต้องเป็ นของเหลวระเหยง่าย มีจุดเดือด
  ต่า (สถานะมักเป็ นของเหลว)
2. ตัวถูกละลายเป็ นสารที่มีจุดเดือดสูงระเหยยาก
  (สถานะของแข็ง)
3. ตัวทาละลายและตัวถูกละลายควรมีจุดเดือดต่างกัน
  มากกว่า 30 oC                    By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                             ั
การกลันแบบธรรมดา (ต่อ)
              ่
ตัวอย่ าง
แยกสารละลาย NaCl
สารละลาย MgSO4
สารละลาย KI
สารละลายNH4Cl
สารละลาย NaOH
                       By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                 ั
การกลันลาดับส่ วน
               ่
เป็ นกระบวนการแยกสารที่มีจุดเดือดต่างกัน
ออกเป็ นส่ วนๆ โดย การกลันซ้ า ๆ กันหลาย ๆ
                            ่
ครั้งอย่างต่อเนื่องในหอกลันหรื อคอลัมน์
                          ่
   มักใช้แยกสารละลายที่ตวทาละลายและตัว
                        ั
ละลายมีสถานะของเหลว จุดเดือดต่างกัน
(น้อยกว่า 30 oC)


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การกลันลาดับส่ วน (ต่อ)
             ่
สารที่มีจุดเดือดต่าจะควบแน่น และกลัน
                                     ่
  ตัวก่อน (อยูดานบนของหอกลัน )
                 ่ ้            ่
สารที่มีจุดเดือดสู งจะควบแน่นและกลัน
                                     ่
  ตัวทีหลังตามลาดับ



                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การกลันลาดับส่ วน (ต่อ)
              ่
ตัวอย่ าง
1. แยกสารละลายที่ตวทาละลายและตัวละลาย
                  ั
  สถานะของเหลว เช่น
  สารผสมระหว่างเอทานอล เมทานอล
  สารละลายกรดแอซี ติก
  สารละลายเบนซิ นในโทลูอีน


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การกลันลาดับส่ วน (ต่อ)
      ่
ตัวอย่ าง
2. การกลันแยกก๊าซธรรมชาติ
          ่
3. การกลันแยกอากาศ
            ่
4. การกลันแยกน้ ามันปิ โตรเลียม
              ่



                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
การกลันด้วยไอน้ า
                  ่
เป็ นการแยกสารที่ระเหยง่ายออกจากสารที่ระเหยยาก




                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
               ่
หลักการ
  1. การระเหย
  2.การควบแน่น
  3. การใช้กรวยแยกหรื อดูดออก




                                By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                          ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
              ่
สมบัติของสารที่แยกโดยการกลันด้ วยไอนา
                                ่   ้
  1. ต้องไม่ละลายน้ า
  2. ระเหยง่าย มีจุดเดือดหรื อต่า




                           By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                     ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
                ่
วิธีการ
1. นาสารไปต้มกับน้ าหรื อผ่านไอน้ าเข้าไปยังสารที่
   ต้องการสกัด
2. เมื่อร้อน สารที่ตองการสกัดแยก และน้ าจะระเหย
                    ้
   ออกมา พร้อมกันจนกระทังความดันไอของสารรวม
                             ่
   กับความดันไอน้ าเท่ากับความดันบรรยากาศ
   ของเหลวทั้งสอง จะกลันตัวออกมาพร้อมกันที่
                           ่
   อุณหภูมิต่ากว่า จุดเดือดของสาร
                                By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                          ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
                ่
วิธีการ
                                              ่ ั
3. ของเหลวจะควบแน่น แยกเป็ น 2 ชั้น โดยน้ าอยูช้ น
                           ่
   ล่าง สารที่ตองการสกัดอยูข้ ึนบน
               ้
4. แยกของผสมที่กลันได้โดยการใช้รวยแยกหรื อดูด
                    ่
   ออก



                                By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                          ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
              ่
ตัวอย่ าง
1. สกัดแยกน้ ามันหอมระเหยออกจากส่ วนต่างๆ
  ของพืช เช่น น้ ามันหอมระเหยจากดอก
  กุหลาบ , น้ ามันหอมระเหยจากผิวมะกรู ด
2. สกัดแยกน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช


                           By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                     ั
ข้อแตกต่างของการกลันและการระเหย
                   ่
 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกมีความแตกต่างกัน
 คือ
    การระเหย ต้องการผลิตภัณฑ์ของแข็ง ,
    การกลัน ต้องการผลิตภัณฑ์เป็ นของเหลว
          ่


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
โครมาโตกราฟี
เป็ นวิธีการแยกตัวถูกละลายที่ผสมกันหลายๆ
 ชนิดออกจากกันในสารละลายหนึ่งๆ โดยอาศัย
 ความแตกต่างของ
 1. ความสามารถในการละลาย
 2. ความสามารถในการดูดซับ
โครมาโตกราฟี ( ต่อ )
ประเภทของโครมาโตรกราฟี
1. โครโทกราฟี แบบกระดาษ
2. โครโทกราฟี แบบคอลัมน์(แบบลากระบอก)
3. ทินเลเยอร์โครโทกราฟี (แบบผิวบาง)



                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
โครมาโตกราฟี ( ต่อ )
องค์ประกอบของวิธีโครมาโตกราฟี
มี 2 องค์ประกอบ คือ
    1. ตัวทาละลาย
    2. ตัวดูดซับ



                        By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                  ั
โครมาโตราฟี (ต่อ)
ตัวดูดซับ ทาหน้าที่ดูดซับสารและเป็ นตัวกลางให้สารเคลื่อนที่ผาน      ่
   และแยกตัวออกจากกัน สารที่ดูดซับด้วยตัวดูดซับได้ดีจะ
   เคลื่อนที่ชา สารที่ดูดซับได้นอยจะเคลื่อนที่เร็ ว
              ้                 ้
   ตัวดูดซับได้แก่ กระดาษโครมาโทกราฟี ผงอลูมินา ซิลิกา
ตัวทาละลาย ทาหน้าที่ละลายและพาสารเคลื่อนไป สารที่ละลายใน
   ตัวทาละลายได้ดีจะเคลื่อน ที่แยกตัวไปก่อน สารที่ละลายในตัว
   ทาละลายได้นอยจะเคลื่อนที่ทีหลัง
                  ้
    ตัวทาละลายได้แก่ ของเหลวใส ไม่มีสี เช่น น้ า เอทานอล
   แอลกอฮอล์ เฮกเซน อีเทอร์ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ สารละลาย
   NaCl                                    By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                                     ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
อัตราการเคลื่อนที่ของสาร (Rf : Rate of flow)

Rf =       ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้
       ระยะทางที่ตวทาละลายเคลื่อนที่
                  ั




                                       By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                                 ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
สมบัติของค่า Rf
1. ค่า Rf ไม่มีหน่วย
2. ค่า Rf หาได้จากการทดลองเท่านั้น
3. ค่า Rf มีค่าไม่เกิน 1
                 ่ ั
4. ค่า Rf ขึ้นอยูกบชนิดของสารและชนิดของตัว
  ทาละลาย
5. ค่า Rf เป็ นค่าเฉพาะค่าคงที่ของแต่พลัชะสารวรรณ
                                By : ครู รี ลิ้มสุ
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
สารที่มีค่า Rf มาก แสดงว่าสารมีคุณสมบัติดงนี้
                                         ั
  1.สารเคลื่อนที่ได้เร็ วหรื อมาก
  2. สารถูกดูดซับได้นอย  ้
  3. สารละลายได้ดี



                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
สารที่มีค่า Rf น้อย แสดงว่าสารมีสมบัติ ดังนี้
  1. สารเคลื่อนได้ชาหรื อน้อย
                     ้
  2. สารถูกดูดซับได้มาก
  3. สารละลายได้นอย    ้


                            By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                      ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
ประโยชน์
1. ใช้แยกสารที่มีปริ มาณน้อยๆ ได้ ซึ่งวิธีอื่นแยกไม่ได้
2. ใช้แยกได้ท้ งสารมีสีและมีไม่มีสี สารไม่มีสีทาให้
                  ั
   ภายหลังการแยกโดย อบด้วยของไอของไอโอดีน ,
   ฉายด้วยรังสี UV , พ่นสารบางชนิดไปทาปฏิกิริยาและ
   เกิดสี ข้ ึน เช่น นินไฮดริ น
3. ใช้วิเคราะห์ชนิดของสารและหาปริ มาณของสารผสม
4. ใช้ทดลองความบริ สุทธิ์ของสาร
                                      By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                                ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
ข้ อจากัดของวิธีโครมาโตกราฟี
   ถ้าสารที่ตองการจะแยกออกจากกันมี
             ้
   ความสามารถในการละลายในตัวทาละลายใน
   ตัวทา ละลายได้เท่ากันและถูกดูดซับด้วยตัวดูด
   ซับเท่ากัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
   เพราะจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกันด้วยระยะทาง
   เท่ากัน
                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
วิธีแก้ ไข
1. เปลี่ยนชนิดของตัวทาละลาย
2.เพิ่มระยะทางของตัวดูดซับให้ยาวขึ้น
3. ใช้แบบคอลัมน์โครมาโตกราฟี (แบบกระบอก)
  เพื่อใช้แยกสารที่มีปริ มาณมากๆได้


                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การสกัดด้วยตัวทาละลาย
เป็ นการแยกสารโดยมีหลักการคือ เลือกใช้
ตัวทาละลายที่เหมาะสม ไปละลายสารที่
ต้องการออกมาโดยใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่า
ซอกซ์เลต(soxhlet)


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การสกัดด้ วยตัวทาละลาย (ต่อ)
คุณสมบัตของตัวทาละลาย
            ิ
1. สามารถละลายสารที่ตองการได้มาก และ
                          ้
  ละลายสิ่ งเจือปนได้นอย้
2. มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย จึงจะแยกออกจากสาร
  ที่สกัดได้ง่าย
3. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารที่ตองแยก
                             ้
4. หาง่าย ราคาถูกเช่น น้ า
                                By : ครู พชรี ลิมสุ วรรณ
                                          ั    ้
การสกัดด้ วยตัวทาละลาย
ตัวอย่างการสกัดด้วยตัวทาละลาย
1. ใช้สกัดน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช เช่น น้ ามันงา
  รา ถัว ปาล์ม นุ่น บัว นิยมใช้เฮกเซน เป็ นตัวทา
       ่
  ละลาย
2. สกัดสารมีสีออกจากพืช
3. ใช้สกัดน้ ามันหอมระเหยออกจากพืช
4. ใช้สกัดยาออกจากสมุนไพร
                               By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                         ั

More Related Content

What's hot

เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมDr.Woravith Chansuvarn
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 

Viewers also liked

การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Viewers also liked (9)

การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to การแยกสารเนื้อเดียว

Similar to การแยกสารเนื้อเดียว (8)

Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 

การแยกสารเนื้อเดียว

  • 1. การแยกสารเนือเดียว ้ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 2. สารเนือเดียว ้ หมายถึง สารที่มองเห็นผสมกลมกลืนเป็ น เนื้อเดียวกันตลอดทั้งสาร อาจเกิดจากสาร หนึ่งชนิดหรื อมากกว่าหนึ่งชนิดก็ได้ ตัวอย่ าง เช่น น้ า น้ าเชื่อม เหรี ยญบาท โซดาไฟ แก๊สหุงต้ม แอลกอฮอล์ เป็ นต้น By : ครู พชรี ลิมสุ วรรณ ั ้
  • 3. วิธีการแยกสารเนือเดียว ้ การระเหย  การตกผลึก การกลัน่  โครมาโตกราฟี  สกัดด้วยตัวทาละลาย By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 4. การระเหย ใช้สาหรับแยกสารละลายที่เกิดจากการ ผสมกันระหว่างของแข็งและของเหลว By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 5. การระเหย (ต่อ) หลักการ สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหยกลายเป็ นไอ ได้ดีกว่าสารที่มีจุดเดือดสูง ดังนั้น สารที่ระเหย คือ ของเหลว ส่ วน ่ สารที่เหลืออยูในภาชนะคือ ของแข็ง By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 6. การระเหย (ต่อ) วิธีการ ให้ความร้อนแก่สารละลาย (โดยการต้ม หรื อตากแดด) สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหย กลายเป็ นแก๊ส (ไอ) ส่ วนของแข็งซึ่งมีจุด ่ เดือดสูงกว่าจะเหลืออยูในภาชนะ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 7. การระเหย (ต่อ) ตัวอย่ างการแยกสาร แยกเกลือออกจากน้ าทะเล  แยกจุนสี ออกจาก CuSO4  5H2O By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 9. การตกผลึก (ต่อ) หลักการ 1. ความสามารถในการละลายของสาร => ที่อุณหภูมิสูง สารมีความสามารถในการ ละลายสูงกว่าที่อุณหภูมิต่า : ได้ สารละลาย อิมตัว ่ 2. กรอง (สารละลายขณะที่ร้อน) 3. ลดอุณหภูมิ : ผลึกของสาร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 10. การตกผลึก (ต่อ) วิธีการ 1. ทาสารที่ตองการแยกให้เป็ น สารละลาย ้ อิมตัว โดยการนาสาร (ตัวละลาย ) ใส่ ในตัวทา ่ ละลาย และให้ความร้อนแก่สาร จากนั้นเติมสาร (ตัวละลาย ) ลงไปในตัวทาละลาย จนกระทังตัว่ ละลายไม่ละลาย By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 11. วิธีการตกผลึก (ต่อ) 2. กรอง ( สารละลายขณะที่ร้อน ) 3. ลดอุณหภูมิลง ( ตังสารละลายอิ่มตัว ้ ยิ่งยวด ที่อณหภูมิห้อง ,หรื อแช่ในน ้าเย็น) ุ จะได้ ผลึกของสาร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 12. สารละลายอิ่มตัว ่ คือ สารละลายที่มีตวละลายอยูปริ มาณ ั สูงสุ ด ณ อุณหภูมิขณะนั้น By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 13. การตกผลึก (ต่อ ) สมบัตของตัวถูกละลายทีแยกออกจากกัน ิ ่ 1. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้นอย จะอิ่มตัวก่อน ้ จะตกผลึกและแยกตัวออกไปก่อน 2. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้มาก จะอิ่มตัวช้า จะ ตกผลึกและแยกตัวทีหลัง By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 14. การตกผลึก (ต่อ ) ตัวอย่ าง ทาสารส้มให้บริ สุทธิ์ ทา NiSO4 (aq) ให้บริ สุทธิ์ ทาเกลือให้บริ สุทธิ์ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 15. การกลัน ่ เป็ นการแยกสารที่เกิดจากของเหลวหลาย ชนิดผสมกัน โดยของเหลวแต่ละชนิดมี จุดเดือดต่างกัน By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 16. การกลัน (ต่อ) ่ ประเภทของการกลัน ่ 1. การกลันแบบธรรมดา ่ 2. การกลันลาดับส่ วน ่ 3. การกลันด้วยไอน้ า By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 17. การกลัน (ต่อ) ่ หลักการ 1. การระเหย 2. การควบแน่น By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 18. การกลัน (ต่อ) ่ วิธีการ ให้ความร้อนแก่สาร สารที่มีจุดเดือดต่า จะกลายเป็ นไอออกมาก่อน และเมื่อผ่าน เครื่ องควบแน่น ไอจะกลันตัวกลับมาเป็ น ่ ของเหลว By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 19. การกลันแบบธรรมดา ่ เป็ นการแยกตัวทาละลายออกจากตัว ละลาย โดยอาศัยหลักการ ระเหย และการ ควบแน่นเพียงครั้งเดียว By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 20. การกลันแบบธรรมดา ่ ลักษณะของสารที่จะแยกโดยการกลันแบบธรรมดามี ่ ดังนี้ 1. ตัวทาละลายต้องเป็ นของเหลวระเหยง่าย มีจุดเดือด ต่า (สถานะมักเป็ นของเหลว) 2. ตัวถูกละลายเป็ นสารที่มีจุดเดือดสูงระเหยยาก (สถานะของแข็ง) 3. ตัวทาละลายและตัวถูกละลายควรมีจุดเดือดต่างกัน มากกว่า 30 oC By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 21. การกลันแบบธรรมดา (ต่อ) ่ ตัวอย่ าง แยกสารละลาย NaCl สารละลาย MgSO4 สารละลาย KI สารละลายNH4Cl สารละลาย NaOH By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 22. การกลันลาดับส่ วน ่ เป็ นกระบวนการแยกสารที่มีจุดเดือดต่างกัน ออกเป็ นส่ วนๆ โดย การกลันซ้ า ๆ กันหลาย ๆ ่ ครั้งอย่างต่อเนื่องในหอกลันหรื อคอลัมน์ ่ มักใช้แยกสารละลายที่ตวทาละลายและตัว ั ละลายมีสถานะของเหลว จุดเดือดต่างกัน (น้อยกว่า 30 oC) By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 23. การกลันลาดับส่ วน (ต่อ) ่ สารที่มีจุดเดือดต่าจะควบแน่น และกลัน ่ ตัวก่อน (อยูดานบนของหอกลัน ) ่ ้ ่ สารที่มีจุดเดือดสู งจะควบแน่นและกลัน ่ ตัวทีหลังตามลาดับ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 24. การกลันลาดับส่ วน (ต่อ) ่ ตัวอย่ าง 1. แยกสารละลายที่ตวทาละลายและตัวละลาย ั สถานะของเหลว เช่น สารผสมระหว่างเอทานอล เมทานอล สารละลายกรดแอซี ติก สารละลายเบนซิ นในโทลูอีน By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 25. การกลันลาดับส่ วน (ต่อ) ่ ตัวอย่ าง 2. การกลันแยกก๊าซธรรมชาติ ่ 3. การกลันแยกอากาศ ่ 4. การกลันแยกน้ ามันปิ โตรเลียม ่ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 26. การกลันด้วยไอน้ า ่ เป็ นการแยกสารที่ระเหยง่ายออกจากสารที่ระเหยยาก By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 27. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ หลักการ 1. การระเหย 2.การควบแน่น 3. การใช้กรวยแยกหรื อดูดออก By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 28. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ สมบัติของสารที่แยกโดยการกลันด้ วยไอนา ่ ้ 1. ต้องไม่ละลายน้ า 2. ระเหยง่าย มีจุดเดือดหรื อต่า By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 29. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ วิธีการ 1. นาสารไปต้มกับน้ าหรื อผ่านไอน้ าเข้าไปยังสารที่ ต้องการสกัด 2. เมื่อร้อน สารที่ตองการสกัดแยก และน้ าจะระเหย ้ ออกมา พร้อมกันจนกระทังความดันไอของสารรวม ่ กับความดันไอน้ าเท่ากับความดันบรรยากาศ ของเหลวทั้งสอง จะกลันตัวออกมาพร้อมกันที่ ่ อุณหภูมิต่ากว่า จุดเดือดของสาร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 30. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ วิธีการ ่ ั 3. ของเหลวจะควบแน่น แยกเป็ น 2 ชั้น โดยน้ าอยูช้ น ่ ล่าง สารที่ตองการสกัดอยูข้ ึนบน ้ 4. แยกของผสมที่กลันได้โดยการใช้รวยแยกหรื อดูด ่ ออก By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 31. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ ตัวอย่ าง 1. สกัดแยกน้ ามันหอมระเหยออกจากส่ วนต่างๆ ของพืช เช่น น้ ามันหอมระเหยจากดอก กุหลาบ , น้ ามันหอมระเหยจากผิวมะกรู ด 2. สกัดแยกน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 32. ข้อแตกต่างของการกลันและการระเหย ่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกมีความแตกต่างกัน คือ การระเหย ต้องการผลิตภัณฑ์ของแข็ง , การกลัน ต้องการผลิตภัณฑ์เป็ นของเหลว ่ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 33. โครมาโตกราฟี เป็ นวิธีการแยกตัวถูกละลายที่ผสมกันหลายๆ ชนิดออกจากกันในสารละลายหนึ่งๆ โดยอาศัย ความแตกต่างของ 1. ความสามารถในการละลาย 2. ความสามารถในการดูดซับ
  • 34. โครมาโตกราฟี ( ต่อ ) ประเภทของโครมาโตรกราฟี 1. โครโทกราฟี แบบกระดาษ 2. โครโทกราฟี แบบคอลัมน์(แบบลากระบอก) 3. ทินเลเยอร์โครโทกราฟี (แบบผิวบาง) By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 35. โครมาโตกราฟี ( ต่อ ) องค์ประกอบของวิธีโครมาโตกราฟี มี 2 องค์ประกอบ คือ 1. ตัวทาละลาย 2. ตัวดูดซับ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 36. โครมาโตราฟี (ต่อ) ตัวดูดซับ ทาหน้าที่ดูดซับสารและเป็ นตัวกลางให้สารเคลื่อนที่ผาน ่ และแยกตัวออกจากกัน สารที่ดูดซับด้วยตัวดูดซับได้ดีจะ เคลื่อนที่ชา สารที่ดูดซับได้นอยจะเคลื่อนที่เร็ ว ้ ้ ตัวดูดซับได้แก่ กระดาษโครมาโทกราฟี ผงอลูมินา ซิลิกา ตัวทาละลาย ทาหน้าที่ละลายและพาสารเคลื่อนไป สารที่ละลายใน ตัวทาละลายได้ดีจะเคลื่อน ที่แยกตัวไปก่อน สารที่ละลายในตัว ทาละลายได้นอยจะเคลื่อนที่ทีหลัง ้ ตัวทาละลายได้แก่ ของเหลวใส ไม่มีสี เช่น น้ า เอทานอล แอลกอฮอล์ เฮกเซน อีเทอร์ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ สารละลาย NaCl By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 37. โครมาโตกราฟี (ต่อ) อัตราการเคลื่อนที่ของสาร (Rf : Rate of flow) Rf = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ ระยะทางที่ตวทาละลายเคลื่อนที่ ั By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 38. โครมาโตกราฟี (ต่อ) สมบัติของค่า Rf 1. ค่า Rf ไม่มีหน่วย 2. ค่า Rf หาได้จากการทดลองเท่านั้น 3. ค่า Rf มีค่าไม่เกิน 1 ่ ั 4. ค่า Rf ขึ้นอยูกบชนิดของสารและชนิดของตัว ทาละลาย 5. ค่า Rf เป็ นค่าเฉพาะค่าคงที่ของแต่พลัชะสารวรรณ By : ครู รี ลิ้มสุ
  • 39. โครมาโตกราฟี (ต่อ) สารที่มีค่า Rf มาก แสดงว่าสารมีคุณสมบัติดงนี้ ั 1.สารเคลื่อนที่ได้เร็ วหรื อมาก 2. สารถูกดูดซับได้นอย ้ 3. สารละลายได้ดี By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 40. โครมาโตกราฟี (ต่อ) สารที่มีค่า Rf น้อย แสดงว่าสารมีสมบัติ ดังนี้ 1. สารเคลื่อนได้ชาหรื อน้อย ้ 2. สารถูกดูดซับได้มาก 3. สารละลายได้นอย ้ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 41. โครมาโตกราฟี (ต่อ) ประโยชน์ 1. ใช้แยกสารที่มีปริ มาณน้อยๆ ได้ ซึ่งวิธีอื่นแยกไม่ได้ 2. ใช้แยกได้ท้ งสารมีสีและมีไม่มีสี สารไม่มีสีทาให้ ั ภายหลังการแยกโดย อบด้วยของไอของไอโอดีน , ฉายด้วยรังสี UV , พ่นสารบางชนิดไปทาปฏิกิริยาและ เกิดสี ข้ ึน เช่น นินไฮดริ น 3. ใช้วิเคราะห์ชนิดของสารและหาปริ มาณของสารผสม 4. ใช้ทดลองความบริ สุทธิ์ของสาร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 42. โครมาโตกราฟี (ต่อ) ข้ อจากัดของวิธีโครมาโตกราฟี ถ้าสารที่ตองการจะแยกออกจากกันมี ้ ความสามารถในการละลายในตัวทาละลายใน ตัวทา ละลายได้เท่ากันและถูกดูดซับด้วยตัวดูด ซับเท่ากัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกันด้วยระยะทาง เท่ากัน By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 43. โครมาโตกราฟี (ต่อ) วิธีแก้ ไข 1. เปลี่ยนชนิดของตัวทาละลาย 2.เพิ่มระยะทางของตัวดูดซับให้ยาวขึ้น 3. ใช้แบบคอลัมน์โครมาโตกราฟี (แบบกระบอก) เพื่อใช้แยกสารที่มีปริ มาณมากๆได้ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 44. การสกัดด้วยตัวทาละลาย เป็ นการแยกสารโดยมีหลักการคือ เลือกใช้ ตัวทาละลายที่เหมาะสม ไปละลายสารที่ ต้องการออกมาโดยใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่า ซอกซ์เลต(soxhlet) By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 45. การสกัดด้ วยตัวทาละลาย (ต่อ) คุณสมบัตของตัวทาละลาย ิ 1. สามารถละลายสารที่ตองการได้มาก และ ้ ละลายสิ่ งเจือปนได้นอย้ 2. มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย จึงจะแยกออกจากสาร ที่สกัดได้ง่าย 3. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารที่ตองแยก ้ 4. หาง่าย ราคาถูกเช่น น้ า By : ครู พชรี ลิมสุ วรรณ ั ้
  • 46. การสกัดด้ วยตัวทาละลาย ตัวอย่างการสกัดด้วยตัวทาละลาย 1. ใช้สกัดน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช เช่น น้ ามันงา รา ถัว ปาล์ม นุ่น บัว นิยมใช้เฮกเซน เป็ นตัวทา ่ ละลาย 2. สกัดสารมีสีออกจากพืช 3. ใช้สกัดน้ ามันหอมระเหยออกจากพืช 4. ใช้สกัดยาออกจากสมุนไพร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั