SlideShare a Scribd company logo
1 of 152
Download to read offline
บทที่ 1
บรรยากาศ
บทที่   1 บรรยากาศ
บทที่   2 ลมฟ้าอากาศ
บทที่   3 การเคลื่อนที่
บทที่   4 หน่วยของสิ่งมีชีวิต
บทที่   5 การดารงชีวิตของพืช
1.1
ชั้นบรรยากาศ
คาสาคัญ
โทรโพสเฟียร์     เทอร์โมสเฟียร์
สตราโตสเฟียร์    บรรยากาศ
มีโซสเฟียร์      อากาศ
ขั้นนา

   นักเรียนยืนขึ้น ให้สังเกตว่ามีอะไร
รอบตัวนักเรียนบ้าง ?
คาถาม
    ? บรรยากาศมีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิต
ในด้านใดอีกบ้าง
           บรรยากาศนอกจากช่วยให้อุณหภูมิของโลกเหมาะต่อ
การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลกแล้ว ยังช่วยทาให้วัตถุในห้วง
อวกาศที่เข้ามาในบรรยากาศเกิดการเผาไหม้หมดหรือเหลือเป็น
วั ต ถุ ข นาดเล็ ก ที่ ไ ม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต บนโลก และ
บรรยากาศยังป้องกันอันตรายจากรังสีต่างๆจากดวงอาทิตย์
คาถาม
     ? บรรยากาศมีองค์ประกอบอะไรบ้าง
         บรรยากาศ ประกอบด้ ว ย แก๊ ส ไนโตรเจน
แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซค์ ฝุ่นละออง ไอ
น้าและแก๊สอื่น ๆ อีกเล็กน้อย สาหรับไอน้าในอากาศ
จะมี สั ด ส่ ว นไม่ ค งที่ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 1-4 ของ
องค์ประกอบของบรรยากาศ
คาถาม
    ? เหตุใดปริมาณไอน้าในอากาศจึงมี
สัดส่วนไม่คงที่
          ปริมาณไอน้าขึ้นอยู่กับแหล่งน้าในพื้นที่ อุณหภูมิอากาศ
เหนือพื้นผิวดินและอุณหภูมิอากาศเบื้องบนซึ่งมักจะเปลี่ยนแปลงได้
ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับสภาพอากาศโดยรอบ ดังนั้นปริมาณไอน้าใน
อากาศในพื้นที่เดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกันจะมีสัดส่วนไม่คงที่
คาถาม
   ? แก๊สในบรรยากาศชนิดใดมีปริมาณ
มากที่สุด
     แก๊สไนโตรเจน 78.084%
คาถาม
   ? บรรยากาศชั้นใดมีอุณหภูมิต่าสุด
และมีค่าประมาณเท่าใด
     มีโซสเฟียร์ ประมาณ   -80๐C
คาถาม
      ? บรรยากาศแต่ละชันมีความสาคัญ
                          ้
ต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง
          ชั้ น โทรโพสเฟี ย ร์ เป็ น ชั้ น ที่ ส่ ง ผลต่ อ การด ารงชี วิ ต
วัฒนธรรม ความเป็ นอยู่ และการประกอบอาชีพของสิ่งมีชีวิต
โดยเฉพาะมนุษย์ เนื่องจากเกิดปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศต่าง ๆ
ในชั้นนี้
ชั้นสตราโตสเฟียร์ เป็นชั้นที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตบน
โ ล ก ป ล อ ด ภั ย จ า ก อั น ต ร า ย ที่ เ กิ ด จ า ก รั ง สี
อัลตราไวโอเลต เนื่องจากในชั้นนี้มีปริมาณโอโซนที่มี
คุณสมบัติในการดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวง
อาทิตย์
ชั้นมีโซสเฟียร์ เป็นชั้นที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตบนโลก
ปลอดภัยจากวัตถุนอกโลก เนื่องจากเป็นชั้นสุดท้ายที่
สูงจากผิวโลกและยังคงมีแก๊สต่าง ๆ เป็นองค์ประกอบ
ของอากาศ ซึ่งส่งผลให้วัตถุนอกโลกที่ผ่านเข้ามาเกิด
การเผาไหม้จนหมดหรือเหลือเป็นวัตถุขนาดเล็กที่ไม่
สามารถทาความเสียหายแก่สิ่งมีชีวิตบนโลกได้
ชั้นเทอร์โมสเฟียร์ เป็นชั้นที่ช่วยในการสื่อสาร
ของมนุษย์โลก เนื่องจากเป็นชั้นที่อากาศแตกตัวเป็น
ประจุ และสามารถสะท้อนคลื่นวิทยุได้ดี
กิจกรรมเพิ่มเติม
 ให้นักเรียนวาดภาพหรือทาแผนภาพ
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในชันบรรยากาศ
                         ้
          ชั้นต่าง ๆ ของโลก
1.2 ผลของรังสีจาก
  ดวงอาทิตย์สู่
  บรรยากาศ
คาสาคัญ
การสะท้อน
การดูดกลืน
รังสีจากดวงอาทิตย์
กิจกรรม 1,1
จุดประสงค์                  รังสีจากดวงอาทิตย์
1. ทาการทดลอง บันทึกข้อมูลและนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ
   เกี่ยวกับการดูดกลืนรังสีจากดวงอาทิตย์ และการคาย
   พลังงานความร้อนของดิน น้า ทราย ได้อย่างชัดเจน
2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมกบเวลาของ
                                             ิั
   การดูดกลืนรังสีจากดวงอาทิตย์ และการคายพลังงานความ
   ร้อนของดิน น้า ทราย
3. แปลความหมายข้อมูล อธิบาย และสรุปเกียวกับการดูดกลืน
                                        ่
   รังสีจากดวงอาทิตย์และการคายพลังงานความร้อนของผิว
   โลก ที่มีลักษณะต่างกันได้
4. อธิบาย และสรุปเกียวกับลักษณะของผิวโลกที่แตกต่างกัน จะ
                     ่
   ส่งผลให้อณหภูมของอากาศเหนือบริเวณนันแตกต่างกันได้
              ุ   ิ                   ้
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ขันพลาสติกขนาดเท่ากัน              3 ใบ
2. ดินบดละเอียด                       500 cm3
3. น้า                                500 cm3
4. ทราย                               500 cm3
5. เทอร์มอมิเตอร์                     3 อัน
6. กระดาษกราฟ                         1 แผ่น
7. นาฬิกาจับเวลา                      1 เรือน
ผลการทากิจกรรม

                                 เมื่อวางภาชนะกลางแดด (๐C)
ภาชนะ   อุณหภูมเริมต้น (๐C)
               ิ ่
                               นาทีที่ 5 นาทีที่ 10 นาทีที่ 15

 ดิน

 น้า

ทราย
สรุปผลการทากิจกรรม
       ดิน น้า ทราย มีสมบัติในการดูดกลืนและเปลี่ยน
รังสีดวงอาทิตย์เป็นพลังงานความร้อนแตกต่างกัน ดังนั้น
พื้นผิวโลกที่มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น เป็นบริเวณที่มีแหล่ง
น้า มีต้นไม้ หรือเป็นบริเวณดินทรายแห้งแล้ง หรือเป็น
บริเวณที่โล่ง ก็จะเป็นบริเวณที่สะสมพลังงานความร้อนไว้
แตกต่างกัน ซึ่งน่าจะส่งผลให้อณหภูมิของอากาศเหนือ
                                ุ
บริเวณนั้นแตกต่างกันไปด้วย
ตอบคาถาม
    ? รังสีจากดวงอาทิตย์แผ่มาถึงภาชนะ
แต่ละใบเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
       เท่ากัน เนื่องจากภาชนะแต่ละใบวางอยู่
ในบริเวณเดียวกันและมีแดดส่องเท่ากัน
? จากการทดลองให้เรียงลาดับภาชนะ
ที่มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากมากไปน้อย
      ทราย ดิน น้า
? จากพื้นผิวโลกเป็นดิน น้า และทรายได้รับ
 แสงแดดเท่ากัน นักเรียนคิดว่าอุณหภูมิอากาศเหนือ
 พื้นผิวดังกล่าวจะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
                ต่างกัน เนื่องจากดิน น้า และทราย เมื่อได้รับรังสีจากดวง
อาทิตย์ จะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนสะสมไว้ได้ไม่เท่ากัน สังเกตจาก
อุ ณ หภู มิ ที่ ร้ อ นขึ้ น ในกิ จ กรรม ดั ง นั้ น เมื่ อ อุ ณ หภู มิ อ ากาศ ณ บริ เ วณ
ดังกล่าวลดลง ดิน น้า ทราย จะคายความร้อนสู่อากาศได้ไม่เท่ากัน
ส่งผลให้อุณหภูมิอากาศเหนือบริเวณดังกล่าวแตกต่างกัน
1.3 องค์ประกอบของ
   ลมฟ้าอากาศ
คาสาคัญ
อุณหภูมิอากาศ    เมฆ
ความดันอากาศ     ลม
ความชื้นอากาศ    ฝน
ลมฟ้าอากาศ
1.3.1 อุณหภูมิอากาศ
กิจกรรม 1,2
จุดประสงค์                       อุณหภูมิอากาศ
1. ใช้เทอร์มอมิเตอร์ธรรมดาและเทอร์มอมิเตอร์ชนิดวัดอุณหภูมิ
   สูงสุด-ต่าสุด วัดอุณหภูมอากาศได้ถกต้อง
                           ิ        ู
2. ทดลอง บันทึกข้อมูลและนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบเกียวกับ
                                                     ่
   อุณหภูมอากาศในช่วงเวลาทีกาหนดให้
          ิ                  ่
3. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมอากาศกับเวลา
                                             ิ
4. แปลความหมายข้อมูลและอธิบายความแตกต่างของอุณหภูมิ
   อากาศในเวลาทีแตกต่างกัน
                  ่
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

1. เทอร์มอมิเตอร์ธรรมดา                         1 อัน
2. เทอร์มอมิเตอร์ชนิดวัดอุณหภูมิสูงสุด-ต่าสุด   1 ชุด
3. ขาตั้งพร้อมที่จับ                            2 ชุด
4. นาฬิกาจับเวลา                                1 เรือน
ผลการทากิจกรรม
                อุณหภูมอากาศวัดโดยใช้เทอร์มอมิเตอร์แบบธรรมดา เมื่อวันที่
                               ิ
  ...............ที.่ .................. ได้ข้อมูลดังตาราง
                                        อุณหภูมอากาศ (๐C)
                                               ิ
06:00   07:00   08:00   09:00   10:00    11:00   12:00   13:00   14:00   15:00   16:00   17:00   18:00
  น.      น.      น.      น.      น.       น.      น.      น.      น.      น.      น.      น.      น.

24.0    24.0    24.0    25.0    26.0     26.5    27.5    28.0    29.0    29.5    29.5    29.0    28.0
เมื่อนาข้อมูลอุณหภูมอากาศทีวดได้มาเขียนกราฟ ได้ดงภาพ
                    ิ      ่ั                   ั
                     กราฟแสดงอุณหภูมิอากาศตั้งแต่เวลา 06:00 - 18:00 น.
    35
    30
    25
    20
     15
     10
     5
     0
                                 08:00 น.
          06:00 น.
                      07:00 น.




                                                       10:00 น.
                                                                  11:00 น.
                                                                             12:00 น.
                                                                                        13:00 น.


                                                                                                              15:00 น.
                                                                                                                         16:00 น.


                                                                                                                                               18:00 น.
                                                                                                                                    17:00 น.
                                            09:00 น.




                                                                                                   14:00 น.
ผลการทากิจกรรม
       อุณหภูมอากาศเมือวัดโดยใช้เทอร์มอมิเตอร์ชนิดวัดอุณหภูมิ
              ิ              ่
สูงสุด-ต่าสุด เมื่อวันที.่ ..........................ที.่ ......................ได้ค่าดังตาราง

                      อุณหภูมิสูงสุด                   อุณหภูมิตาสุด
                                                                ่
                        29.5 ๐C                          24.0 ๐C
สรุปผลการทากิจกรรม


     รังสีจากดวงอาทิตย์เป็นปัจจัยสาคัญ
ปัจจัยหนึ่งทีมีผลต่ออุณหภูมิอากาศ
             ่
ตอบคาถาม
    ? จากกราฟบอกการเปลี่ยนแปลงของ
อุณหภูมิอากาศจากช่วงเวลา 06:00-18:00 น.
        อุณหภูมิอากาศในช่วงเวลา 06:00 น. มีค่า 24๐C
และอุ ณ หภู มิ จ ะค่ อ ยๆสู ง ขึ้ น และสู ง ที่ สุ ด ในช่ ว งเวลา
15:00-16:00 น. หลังจากนั้นอุณหภูมิจะค่อยๆลดลงจน
เมื่อเวลา 18:00 น. อุณหภูมิอากาศมีค่า 28             ๐C
? ค่าอุณหภูมิสูงสุด-ต่าสุดที่อ่านได้จาก
กราฟใกล้เคียงกับค่าทีอ่านได้จากเทอร์มอมิเตอร์
                     ่
ชนิดวัดอุณหภูมิสูงสุด-ต่าสุด หรือไม่ อย่างไร
และอยู่ในช่วงเวลาใด
      ตรงกัน คือ อุณหภูมิต่าสุด
                             24๐C     เวลา 06:00 น.
และค่อยๆเพิ่มจนอุณหภูมิสูงสุด 29.5๐C เวลา 15:00 น.
? แนวโน้มของอุณหภูมิอากาศในช่วงเวลา
กลางคืน ควรเป็นอย่างไร
           ต่ากว่ากลางวัน เนื่องจากในเวลากลางคืนพื้นโลกได้รับ
รังสีจากดวงอาทิตย์คิดเป็นปริมาณต่อพื้นที่ลดลงเรื่อยๆ จนเกือบ
ไม่ได้รับ ซึ่งถึงแม้ว่าที่บริเวณผิวโลกยังคงมีพลังงานความร้อน
ส่วนหนึงสะสมไว้ และยังคงคายพลังงานความร้อนให้อากาศเหนือ
         ่
บริเวณนั้น แต่ก็ไม่มากเท่าในเวลากลางวัน
? จากกราฟเวลาเท่าใดทีอณหภูมิของ
                            ุ่
อากาศมีค่าสูงสุด และต่าสุด ตามลาดับ
     สูงสุดในเวลา 15:30 น. (29๐C)
     ต่าสุดในเวลา 06:30 น. (21๐C)
? แนวโน้มการเปลียนแปลงอุณหภูมิของแต่ละภาค
                     ่
ในประเทศไทยเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
       เหมื อนกัน คือ ในเดื อนมกราคม อุณหภูมิอากาศ
ต่าสุด และอุณหภูมิอากาศจะเริ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่เดือน
กุมภาพันธ์ จนกระทั่งถึงเดือนเมษายน อุณหภูมิอากาศจะ
สูงสุด หลังจากนั้นอุณหภูมิอากาศจะค่อยๆลดลงจนต่าสุดใน
เดือนมกราคม
? อุณหภูมิอากาศในแต่ละภาคในช่วงใดมี
ค่าสูงสุด และต่าสุด และในแต่ละภาคเป็นช่วงเดียวกัน
หรือไม่ อย่างไร
       ในแต่ละภาคของประเทศไทยอุณหภูมิอากาศสูงสุดใน
เดือนเมษายน และอุณหภูมิอากาศจะต่าสุดในเดือนมกราคม
เหมือนกันทุกภาค
1.3.2 ความดันอากาศ
สังเกตกระป๋อง
กิจกรรม 1,3
จุดประสงค์           อุณหภูมิกับความดันอากาศ
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมอากาศกับการเคลื่อนที่
                                    ิ
   ของโมเลกุลอากาศ
2. ทดลองและสรุปได้ว่าจานวนโมเลกุลของอากาศในปริมาตร
   หนึ่งมีผลต่อความดันอากาศของพืนทีนน
                                  ้ ่ ั้
3. ทดลองและสรุปได้ว่าโมเลกุลอากาศมีแรงดันและความดัน
   อากาศมีความสัมพันธ์กบอุณหภูมอากาศ
                        ั       ิ
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

1. ลูกโป่ง                           1 ใบ
2. น้าอุ่น (60๐C-70๐C)               500 cm3
3. ขันน้าพลาสติก                     1 ใบ
สรุปผลการทากิจกรรม


    อุณหภูมิอากาศมีผลต่อการเคลื่อนที่ของ
โมเลกุลของอากาศและความดันอากาศ
ตอบคาถาม
    ? จานวนโมเลกุลของอากาศในลูกโป่งก่อน
และหลังวางบนน้าร้อนเท่ากันหรือไม่
      เท่ากัน เนื่องจากหลังจากที่เป่าลมใส่ในลูกโป่งจะมัด
ปากลูกโป่งแน่น จนโมเลกุลของอากาศไม่สามารถออกมา
จากลูกโป่งได้
? เมื่อวางลูกโป่งบนน้าร้อน ขนาดของลูกโป่ง
เปลี่ยนแปลงอย่างไร
        ขยายใหญ่ขึ้น เนื่องจากอากาศภายในลูกโป่งเมื่อได้รับพลังงาน
ความร้อนจากการถ่ายโอนพลังงานความร้อนจากน้าร้อนในภาชนะ ทา
ให้โมเลกุลของอากาศมีพลังงานมากขึ้น จึงเคลื่อนที่เร็วขึ้นอยู่ภายใน
ลูกโป่งชนผนังลูกโป่งทุกทิศทุกทางบ่อยครังขึน มีแรงดันบนพื้นผิวลูกโป่ง
                                       ้ ้
มากขึน ส่งผลให้ความดันอากาศภายในลูกโป่งเพิมขึนและมากกว่าความ
      ้                                       ่ ้
ดันอากาศภายนอก ผนังลูกโป่งยืดออกตามแรงดันอากาศที่อยู่ภายใน
ขนาดลูกโป่งจึงขยายใหญ่ขึ้น
? อะไรเป็นสาเหตุททาให้ขนาดของลูกโป่งเปลี่ยนแปลงไป
                       ี่
       ปริ ม าตรอากาศภายในลู ก โป่ ง ซึ่ ง อยู่ ใ นระบบปิ ด เมื่ อ
ขยายตัว เนื่องจากโมเลกุลอากาศได้รับพลังงานมากขึ้น เคลื่อนที่
ชนผนั ง ลู ก โป่ ง มากขึ้ น ผนั ง ลู ก โป่ ง จะยื ด หรื อ ขยายออกตาม
แรงดั นของโมเลกุ ล อากาศที่ อ ยู่ ภ ายในลู กโป่ ง ทาให้ ปริม าตร
อากาศภายในลูกโป่งมีปริมาตรเพิ่มขึ้น ลูกโป่งมีขนาดใหญ่ขึ้น
ตามลาดับ
? ความดันอากาศบนยอดดอยอินทนนท์มีค่า
มากกว่าหรือน้อยกว่า 760 mmHg
      น้อยกว่า เนื่องจากบนยอดดอยอินทนนท์มีความ
สูงมากกว่าระดับน้าทะเล
1.3.3 ลม
กิจกรรม 1,4
               การวัดอัตราเร็วลมและทิศทางลม
                จุดประสงค์
1. ประดิษฐ์เครื่องมือวัดอัตราเร็วลมและทิศทางลม
   อย่างง่ายได้
2. อธิบายหลักการทางานของเครื่องมือที่สร้างขึ้นได้
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.   กระดาษ A4 ขนาด 120 gm            1   แผ่น
2.   ไม้มีความยาว 20 cm               1   อัน
3.   วงเวียน                          1   อัน
4.   กระดาษว่าว ขนาด 1x10 cm          1   แผ่น
5.   เทปใส                            1   ม้วน
6.   กาว                              1   หลอด
7.   กรรไกร                           1   อัน
8.   ด้ายเย็บผ้าขนาดเล็ก              1   หลอด
ผลการทากิจกรรม

      บริเวณ    ระดับอัตราเร็วลม      ทิศทางลม
    หน้าเสาธง       ระดับ 4        ตะวันออกเฉียงใต้
   กลางสนาม         ระดับ 5        ตะวันออกเฉียงใต้
หลังตึกอานวยการ     ระดับ 2           ตะวันออก
สรุปผลการทากิจกรรม

     เครื่องมือวัดอัตราเร็วลมและทิศทางลม
อย่างง่ายที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้น สามารถใช้วัด
และเปรียบเทียบอัตราเร็วและทิศทางลมได้
ดังตัวอย่างคือ......
ตอบคาถาม
    ? จากข้อมูลบริเวณทีมีอตราเร็วลมมากทีสด
                       ่ ั              ่ ุ
คือบริเวณใด
     บริเวณกลางสนาม
? ข้อมูลอัตราเร็วลมและทิศทางลมมีประโยชน์
อย่างไรบ้าง
        ทาให้เราสามารถวางแผนการใช้ประโยชน์จากลมได้ถูก
ทิศทาง และคุ้มค่ากับการลงทุนในงานนั้นๆ เช่น การสร้างกังหัน
ลมเพื่อใช้ในการเกษตร การผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นต้น
1.3.4 ความชื้นอากาศ
กิจกรรม 1,5
 จุดประสงค์             ความชื้นอากาศ
1. ออกแบบการทดลองโดยใช้สารละลายโคบอลต์
   (II) คลอไรด์
2. ตรวจสอบความชื้นอากาศที่บริเวณต่างๆใน
   โรงเรียนหรือที่บ้าน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.   กระดาษกรอง                         1 แผ่น
2.   สารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ 5%    10 cm3
3.   บีกเกอร์ 100 cm3                   1 ใบ
4.   ปากคีบโลหะ                         1 อัน
5.   เทปใส                              1 ม้วน
6.   เครื่องเป่าผม                      1 อัน
7.   กรรไกร                             1 อัน
ผลการทากิจกรรม
1. กระดาษกรองชุบสารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์
       ขณะเปียก จะมีสชมพู
                        ี
       ขณะแห้ง     จะมีสนาเงิน
                          ี ้
2. สีกระดาษกรองทีวางไว้บริเวณต่าง ๆ
                 ่
            สถานทีตรวจวัด
                   ่                 สีของกระดาษชุบโคบอลต์ (II) คลอไรด์
           ในห้องปรับอากาศ                              ม่วง
            ในเรือนเพาะชา                               ชมพู
               กลางแจ้ง                                น้าเงิน
                ระเบียง                                 ม่วง
                ห้องน้า                              ชมพู-ม่วง
     หมายเหตุ เก็บข้อมูลวันที.่ ...........
สรุปผลการทากิจกรรม

      ในบริเวณสิ่งแวดล้อมต่างกันจะมีจานวนไอน้าใน
อากาศหรือความชื้นอากาศต่างกัน สถานที่ที่ใกล้แหล่ง
น้าและอุณหภูมิอากาศสูงย่อมทาให้น้าระเหยกลายเป็น
ไอน้าในอากาศได้มากกว่าดังเช่นใน......ส่วนบริเวณที่
แห้งหรือไม่มแหล่งนาย่อมจะมีน้าระเหยกลายเป็นไอน้า
            ี
ในอากาศได้น้อย ดังเช่น.....
ตอบคาถาม
    ? ความชื้นของอากาศมีผลต่อสีของโคบอลต์
(II) คลอไรด์ อย่างไร
     เปลี่ ย นจากสารละลายสี น้ าเงิ น เป็ น
สารละลายสีชมพู
? ความชื้นอากาศที่บริเวณต่าง ๆ เหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร
        แตกต่างกัน บริเวณที่มีความชื้นมาก เช่น ห้องน้า เรือน
เพาะชา กระดาษที่ชุบสารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ จะ
ยังคงเป็นสีชมพู ส่วนบริเวณที่มีความชื้นน้อยมาก เช่น ที่ระเบียง
และที่ กลางแจ้ ง น้ าจะระเหยออกจากกระดาษชุ บสารละลาย
โคบอลต์ (II) คลอไรด์ และเปลี่ยนเป็นสีน้าเงิน
? ปัจจัยใดส่งผลต่อความชื้นอากาศบ้าง

      ปริมาณไอน้าในอากาศ ซึ่งขึ้นอยู่กับแหล่ง
น้าและอุณหภูมิอากาศ
อากาศอยู่ในสภาวะอิมตัวด้วยไอน้า คือ
                       ่
สภาวะที่อากาศรับไอน้าได้ปริมาณสูงสุด ณ
อุณหภูมิอากาศขณะนั้น
      ปริ ม าณไอน้ าอิ่ ม ตั ว คื อ ปริ ม าณไอน้ า
สูงสุดที่อากาศสามารถรับไว้ได้
? เปรียบเทียบปริมาณไอน้าอิมตัวในอากาศ
                                ่
ที่อณหภูมิ 30
    ุ         ๐C และ 40๐C


    อุณหภูมิ   30๐C     จะมีปริมาณไอน้าอิ่มตัวใน
อากาศน้ อ ยกว่ า ที่ อุ ณ หภู มิ 40๐ C อยู่ 20

g/m3
? จากกราฟอุณหภูมิและปริมาณไอน้าอิมตัว
                                     ่
ในอากาศมีความสัมพันธ์อย่างไร
        เมื่ออุณหภูมิอากาศมากขึ้นจะทาให้ปริมาณ
ไอน้าอิ่มตัวในอากาศมากขึ้นด้วย
กิจกรรม 1,6
 จุดประสงค์       การหาความชื้นสัมพัทธ์
1. ทดลองและอธิบายการหาค่าความชื้นสัมพัทธ์ด้วย
   ไซครอมิเตอร์
2. แปลความหมายและอธิบายค่าความชื้นสัมพัทธ์ของ
   อากาศที่วัดได้
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

1. ไซครอมิเตอร์                   1 อัน
2. กระบอกฉีดยาขนาด 20 cm3         1 อัน
3. น้า                            20 cm3
ผลการทากิจกรรม
             การวัดความชื้นสัมพัทธ์โดยใช้ ไซครอมิเตอร์ ในพื้นที่..............
เมื่อวันที.่ .............
                        อุณหภูมิ (๐C)              ผลต่างของ      ค่าความชืน้
 สถานทีตรวจวัด
        ่
                กระเปาะแห้ง     กระเปาะเปียก     อุณหภูมิ (๐C) สัมพัทธ์(ร้อยละ)
ในห้องปรับอากาศ      25               22              3               76
ในเรือนเพาะชา        32               29              3               79
กลางแจ้ง             33               28              5               67
ระเบียง              30               26              4               72
ห้องน้า              29               27              2               85
สรุปผลการทากิจกรรม

      อากาศในห้องน้ามีปริมาณไอน้าจริงในอากาศ
ใกล้เคียงกับปริมาณไอน้าอิมตัวมากกว่าอากาศบริเวณ
                         ่
กลางแจ้ง ซึ่งมีปริมาณไอน้าจริงในอากาศแตกต่างกับ
ปริมาณไอน้าอิ่มตัวค่อนข้างมาก ค่าความชื้นสัมพัทธ์
ของอากาศในห้องน้ามีค่าสูงกว่าค่าความชื้นสัมพัทธ์ที่
บริเวณกลางแจ้ง
ตอบคาถาม
     ? ค่าความชื้นสัมพัทธ์ทวัดได้จากบริเวณที่
                           ี่
ต่างกันมีค่าเป็นอย่างไร
        ต่ า งกั น คื อ อากาศในห้ อ งน้ ามี ค่ า ความชื้ น
สั มพั ทธ์ สูงกว่ าอากาศในเรื อนเพาะชา ในห้ องปรั บ
อากาศที่ระเบียง และบริเวณกลางแจ้ง ตามลาดับ
? ถ้าวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ในช่วงเวลาต่างกันในสถานที่
เดียวกัน ค่าความชื้นสัมพัทธ์แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร

       แตกต่างกัน เพราะในสภาพปกติแต่ละวันอุณหภูมิอากาศ
จะมีการเปลี่ยนแปลง ในช่วงเช้ามืดอุณหภูมิอากาศจะต่า อากาศ
มีประมาณไอน้าอิ่มตัวน้อย ส่วนในตอนบ่ายอุ ณหภูมิอากาศจะสูงขึ้น
อากาศมีประมาณไอน้าอิ่มตัวมากกว่า ค่าความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศใน
ตอนเช้าจะมีค่าสูงกว่าค่าความชื้นสัมพัทธ์ในตอนบ่าย
? ถ้าอุณหภูมกระเปาะแห้งอ่านได้ 28๐C และอุณหภูมิ
                 ิ
กระเปาะเปียกอ่านได้ 24๐C ค่าความชืนสัมพัทธ์จะเป็นเท่าใด
                                   ้

       ผลต่างของอุณหภูมิ คือ 4๐C
       อ่านค่าจากการเทียบหาจุดตัดระหว่างค่าอุณหภูมกระเปาะ
                                                  ิ
แห้งกับผลต่างอุณหภูมิ (28,4)       จะได้ค่าความชื้นสัมพัทธ์
=72%
1.3.5 เมฆและฝน
? ก่อนฝนตกสังเกตเห็นเมฆบนท้องฟ้ามี
ลักษณะอย่างไร
     เห็นเป็นก้อนหรือแผ่นหนาทึบสีเทาเข้ม
? ทาไมเมฆจึงมีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน

     เนื่องจากไอน้าในอากาศเกิดการควบแน่น
ในระดับความสูงแตกต่างกัน และระยะเวลาใน
การควบแน่นต่างกัน
กิจกรรม 1,7
  จุดประสงค์             มาดูเมฆกัน
1. สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของเมฆบนท้องฟ้า
2. สังเกต จาแนกและอธิบายชนิดของเมฆ และ
   ปริมาณเมฆในท้องฟ้า
3.เปรียบเทียบและอธิบายชนิดของเมฆในท้องฟ้ากับ
   แผนภาพจากเมฆในหนังสือ
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

1. กระดาษวาดรูป               2 แผ่น
2. แผนภาพเมฆ                  1 แผ่น
ข้อแนะนา
1. ในการสังเกตลักษณะรูปร่างเมฆควรสังเกตให้ละเอียดในเวลา
   เดียวกันก่อนจะบันทึกโดยการวาดรูป เนื่องจากเมฆจะ
   เปลี่ยนแปลงรูปร่างเร็วมาก
2. ในการสังเกตปริมาณเมฆในท้องฟ้า ควรเริมจากการแบ่ง
                                          ่
   ขอบเขตทรงกลมท้องฟ้าออกเป็น 4 ส่วน
3. สังเกตเมฆทีละส่วน
4. บอกลักษณะท้องฟ้าโดยอ้างอิงกับตารางในหนังสือ
สรุปผลการทากิจกรรม

      ท้องฟ้าในวันที่...........ณ......... มีลักษณะเป็น
ท้องฟ้าโปร่ง มีเมฆน้อย เพียง 2/10 ของท้องฟ้า
และเมฆอยู่ในระดับสูง ขนาดเล็ก ๆ ทั้งนี้อาจ
เนื่องมาจากในอากาศมีปริมาณไอน้าในอากาศน้อย
ความชื้นสัมพัทธ์ต่า อากาศจะค่อนข้างเย็นและแห้ง
เนื่องจากอยู่ในช่วงฤดูหนาว
กลุ่มคา
ซีร์โร (CIRRO) เมฆระดับสูง เป็นริ้ว ๆ
อัลโต (ALTO) เมฆระดับกลาง
คิวมูลัส (CUMULUS) เมฆเป็นก้อน เป็นแผ่น
สเตรตัส (STRATUS) เมฆเป็นชัน ๆ้
นิมบัส (NIMBUS)     เมฆที่ก่อให้เกิดฝน
ตอบคาถาม
     ? สังเกตเมฆลักษณะอย่างไรบ้าง

       ส่วนใหญ่เมฆอยู่ในระดับสูงมีทั้งที่มีรูปร่างเป็น
ก้อนเล็กๆ และเป็นแผ่นบางๆ กระจายอยู่บนท้องฟ้า
? ขณะที่สงเกตเมฆมีการเปลี่ยนแปลง
             ั
ลักษณะและปริมาณหรือไม่ อย่างไร
     มี ก ารเปลี่ ย นแปลงรู ป ร่ า งไปบ้ า ง ส่ ว น
ปริมาณไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
? นักเรียนคิดว่าสถานะของละอองน้าในเมฆที่อยู่
ในที่สูงๆ กับที่อยู่ในที่ต่า เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
        เมฆที่อยู่ระดับสูงจะประกอบด้วยผลึกน้าแข็งเกือบทั้งหมด
เพราะอุณหภูมที่ระดับสูงต่ากว่าจุดเยือกแข็ง ส่วนเมฆที่ระดับปาน
              ิ
กลางจะประกอบด้วยผลึกน้าแข็งและละอองน้า เนื่องจากเมฆมี
อุณหภูมิไม่ต่าพอที่จะเป็ นผลึ กน้าแข็ ง สาหรับเมฆที่ระดับต่าจะ
ประกอบด้วยละอองน้าเกือบทั้งหมด
? ในท้องฟ้าที่มีปริมาณแสงอาทิตย์เท่ากัน เมฆที่เห็น
เป็นสีขาว และเมฆที่เห็นเป็นสีเข้ม เมฆกลุ่มใดมีจานวน
ละอองน้ามากกว่ากัน
        เมฆที่เห็นเป็นสีขาวจ้า แสดงว่ากลุ่มของละอองน้าในเมฆ
มีน้อยดูดแสงไว้น้อยแล้วสะท้อนแสงจานวนมากมาเข้าตา แต่ถ้า
สิ่งกระทบเมฆแล้วทาให้เราเห็นเป็นแสงเข้ม แสดงว่ากลุ่มของ
ละอองน้าในเมฆมีมาก ดูดแสงไว้ได้มากแล้วสะท้อนแสงจานวน
น้อยมาเข้าตา จึงเห็นเป็นแสงสีเข้ม
? ถ้าละอองน้าหรือเกล็ดน้าแข็งในเมฆมีขนาดใหญ่ขึ้น
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
        อากาศที่บริเวณดังกล่าวไม่สามารถต้านหรือพยุงกลุ่มของ
ละอองน้าหรือน้าแข็งไว้ได้ น้าหรือน้าแข็งก็จะตกลงมากยังผิวโลก
ในรูปต่างๆ เช่น เป็นฝน หิมะ หรือลูกเห็บ ซึ่งเรียกว่า น้าฟ้า
? น้าฟ้าที่ตกในประเทศไทย ได้แก่อะไรบ้าง

         ส่วนใหญ่จะเป็นฝน ลูกเห็บ เพราะอากาศของประเทศไทย
ที่บริเวณผิวโลกสูงกว่าจุดเยือกแข็ง
? ปริมาณฝนเฉลี่ยมากที่สุดและน้อยที่สุดมีค่า
เท่าใด และตรงกับเดือนใด
        ในช่ วงเดื อ นกั นยายนมี ปริ มาณฝนเฉลี่ ย มาก
ที่สุด 252.5          มิลลิเมตร และในเดือนมกราคมมี
ปริมาณฝนเฉลี่ยน้อยที่สุด 16.8 มิลลิเมตร
? เดือนที่มีปริมาณฝนเฉลี่ยมากตรงกับฤดูฝนของ
ประเทศไทยหรือไม่อย่างไร
      มิถุนายน-ตุลาคม ตรงกับฤดูฝนของประเทศ
ไทย
กิจกรรม 1,8
               การวัดปริมาณน้าฝนอย่างง่าย
       จุดประสงค์
1. อธิบายหลักการของเครื่องวัดปริมาณน้าฝน
2. ทดลองสร้างเครื่องวัดปริมาณน้าฝนอย่างง่ายและ
แสดงวิธีการวัด
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

1. ขวดน้าดืม ขวดปากกว้าง
           ่
   กระป๋องรูปทรงกระบอก               3 ใบ
   ขนาดต่างๆ ที่ทาด้วยพลาสติกใส      (ชนิดละ 1ใบ)
2. สายพลาสติกพร้อมทีรดน้าต้นไม้
                     ่               1 ชุด
? ภาชนะทีใช้ในการทดลองนี้แตกต่างกัน
              ่
อย่างไร

     ภาชนะมีขนาดแตกต่างกัน
? ปัญหาของการทดลองนีคืออะไร
                        ้


      ขนาดของภาชนะมีผลต่อระดับความสูง
ของน้าในภาชนะหรือไม่
? จากปัญหาของการทดลองดังกล่าว ตัว
แปรต้น ตัวแปรตม ตัวแปรควบคุม คืออะไร
      ตัวแปรต้น คือ ขนาดของภาชนะ
      ตัวแปรตาม คือ ระดับความสูงของน้าในภาชนะ
      ตัวแปรควบคุม คือ ภาชนะรูปทรงกระบอกมีลักษณะใส,
การฉีดน้าเป็นฝอยเหนือภาชนะทุกใบอย่างสม่าเสมอ, ภาชนะทุก
ใบวางตั้งฉากกับพื้น
? สมมติฐานการทดลอง คืออะไร

      ขนาดของภาชนะไม่มีผลต่อระดับความสูงของ
น้าในภาชนะ
ผลการทากิจกรรม

  ความสูงของน้าในภาชนะทรงกระบอก (cm)
ใบที่ 1          ใบที่ 2         ใบที่ 3
 1.0               1.2             1.1
สรุปผลการทากิจกรรม
      ขนาดของภาชนะทรงกระบอกไม่มผลต่อความสูง
                                     ี
ของระดับน้าในภาชนะ ดังนั้นในการสร้างเครื่องมือ
วัดปริมาณน้าฝนในธรรมชาติจึงนิยมใช้ภาชนะ
ทรงกระบอกปากกว้างขนาดใหญ่ เพื่อสามารถวัด
ระดับความสูงของน้าฝนที่ตั้งฉากกับพื้นผิวก้นภาชนะ
ที่รองรับน้าฝนที่ตกลงมาในช่วงเวลาที่กาหนด โดยไม่
มีการระเหยหรือซึมลงไปในพื้นดิน
ตอบคาถาม
   ? ปริมาณน้าฝนในภาชนะทีมีขนาดต่างๆ
                          ่
แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
        แตกต่างกั น เพราะภาชนะมี ข นาดของ
พื้นที่หน้าตัดต่างกันตามขนาดของภาชนะ
? ความสูงของน้าในภาชนะต่างๆ แตกต่าง
กันหรือไม่ อย่างไร
    แตกต่างกันเล็กน้อย
Post-test
ถ้าอากาศมีความชืน 20 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ที่อุณหภูมิ
                   ้
30๐C และที่อณหภูมิ 40๐C มีความชืนสัมพัทธ์เป็นเท่าใด
               ุ                     ้
ตามลาดับ กาหนด
      ที่อุณหภูมิ 30๐C มีปริมาณไอน้าอิมตัวที่ 20 กรัมต่อ
                                       ่
ลูกบาศก์เมตร
      ที่อุณหภูมิ 40 ๐C มีปริมาณไอน้าอิ่มตัวที่ 40 กรัมต่อ

ลูกบาศก์เมตร
1
ความหนาแน่นของอากาศทีระดับสูงกว่าน้าทะเล
                             ่
ขึ้นไปเรื่อย ๆ จะมีสภาพอย่างไร
      ก. เพิ่มขึ้นไม่แน่นอน
      ข. คงที่
      ค. ลดลง
      ง. เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
2
ความดัน 1 บรรยากาศ มีค่าเท่ากับข้อใด
    ก. 760 มิลลิเมตรของปรอท
    ข. 660 มิลลิเมตรของปรอท
    ค. 560 มิลลิเมตรของปรอท
    ง. 460 มิลลิเมตรของปรอท
3
เครื่องมือวัดความกดดันอากาศคือข้อใด
      ก. ไฮกรอมิเตอร์
      ข. บารอมิเตอร์
      ค. เทอร์มอมิเตอร์
      ง. วินเนอร์มิเตอร์
4
ข้อใดถูกต้อง
ก. ทีความสูงเดียวกัน ความดันอากาศจะต่างกัน
       ่
ข. ทีความสูงเดียวกัน ความดันอากาศจะเท่ากัน
     ่
ค. ที่ความสูงเท่ากัน อากาศจะมีความดันไม่คงที่
ง. ข้อ ก และ ค ถูกต้อง
5
ในระดับสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ อุณหภูมิของอากาศจะ
เป็นเช่นใด
     ก. เพิ่มขึ้น        ข. ลดลง
     ค. คงที่            ง. ลดลงเรื่อย ๆ
6
ก๊าซโอโซนมีประโยชน์อย่างไรต่อมนุษย์
    ก. ดูดกลืนรังสีทมาจากนอกโลก
                      ี่
    ข. การคมนาคมในอากาศ
    ค. ห่อหุ้มโลกเพื่อป้องกันรังสีทรายแรง
                                   ี่
    ง. ข้อ 1 และ 3 ถูกต้อง
7
การสื่อสารโดยใช้คลื่นวิทยุต้องอาศัยบรรยากาศ
ชั้นใด
     ก. ไอโอโนสเฟียร์        ข. โอโซโนสเฟียร์
     ค. สตราโตสเฟียร์        ง. เทอร์โมสเฟียร์
8
นักบินจะทราบได้อย่างไรว่า เครื่องบินอยู่สงจาก
                                         ู
ระดับน้าทะเล 10000 ฟุต
     ก.อ่านจากเทอร์โมมิเตอร์
     ข.อ่านจากบารอมิเตอร์
     ค.อ่านจากอัลติมิเตอร์
     ง.อ่านจากไฮโกรมิเตอร์
9
ปริมาณของก๊าซโอโซนในชันบรรยากาศลด
                        ้
น้อยลง เป็นผลเนื่องมาจากสารใด
     ก.สารพีวซี
             ี
     ข.สารซีเอฟซี
     ค.สารพีเอฟซี
     ง.สารคาร์บอน
10
ความชื้นของอากาศเกี่ยวข้องกับการระเหยของน้า
อย่างไร
ก. ความชื้นของอากาศน้อย น้าระเหยได้เร็ว
ข. ความชื้นของอากาศมาก น้าระเหยได้เร็ว
ค. ความชื้นของอากาศน้อย น้าระเหยได้ช้า
ง. ความชื้นของอากาศไม่เกี่ยวข้องกับการระเหย
11
บรรยากาศชั้นใดที่ช่วยดูดซับรังสี
อัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
     ก.ชั้นสตราโทสเฟียร์
     ข.ชั้นไอโอโนสเฟียร์
     ค.ชั้นโทรโพสเฟียร์
     ง.ชั้นมีโซสเฟียร์
12
เครื่องมือในข้อใดที่ไม่ใช้หลักการในเรื่องความ
ดันของอากาศ
      ก.แอลทิมิเตอร์
      ข.บารอมิเตอร์
      ค.ไฮโกรมิเตอร์
      ง.แอนิรอยด์บารอมิเตอร์
13
ข้อใดเป็นความหมายของ "ความดันอากาศ"
     ก. แรงดันอากาศ/หนึ่งหน่วยพื้นที่
     ข. แรงดันอากาศ/หนึ่งหน่วยมวล
     ค. แรงดันอากาศ/หนึ่งหน่วยปริมาตร
     ง. แรงดันอากาศ/หนึ่งหน่วยความยาว
14
อากาศในถังก๊าซมีความดัน 304 เซนติเมตร
ของปรอทมีค่าความดันเป็นกี่บรรยากาศ
    ก. 0.4 บรรยากาศ
    ข. 2 บรรยากาศ
    ค. 3 บรรยากาศ
    ง. 4 บรรยากาศ
15
ถ้าความดันของปรอทลดลงไป 20 มิลลิเมตร
แสดงว่าความสูงขณะนั้นเป็นเท่าใด (ทุกๆ ความ
สูงจากระดับน้าทะเล 11 เมตร ระดับปรอทจะ
ลดลงจากเดิม 1 มิลลิเมตรปรอท)
     ก.11 เมตร            ข. 110 เมตร
     ค. 220 เมตร          ง. 330 เมตร
16
ถ้าอาคารเรียนอยู่สูงจากระดับน้าทะเล 1,540
เมตร ความดันอากาศจะมีค่าเท่าใด
     ก. 620 มิลลิเมตรของปรอท
     ข. 720 มิลลิเมตรของปรอท
     ค. 900 มิลลิเมตรของปรอท
     ง. 920 มิลลิเมตรของปรอท
17
กาลอากาศ หมายถึงอะไร
ก.อากาศทั้งหมดทีห่อหุ้มโลกของเราไว้
                ่
ข.การเกิดลมพายุเนืองจากจากเปลียนแปลงความกดดันของ
                  ่             ่
อากาศ
ค.เกณฑ์เฉลียของอากาศในทีแห่งใดแห่งหนึง ในช่วงเวลา
            ่             ่           ่
พอสมควร
ง.สภาวะของอากาศในทีแห่งใดแห่งหนึงในช่วงเวลาอันจากัด
                       ่            ่
ซึ่งไม่ยาวนัก
18
ข้อใดไม่ใช่ ประโยชน์ของบรรยากาศทีห้มห่อโลก
                                   ุ่
ก.ช่วยกั้นรังสีคลื่นสัน
                      ้
ข.ช่วยกรองรังสีอลตราไวโอเลต
                    ั
ค.ดูดกลืนและทาลายวัตถุทพ่งเข้าหาโลก
                        ี่ ุ
ง.ช่วยลดความร้อนให้แก่บรรยากาศบนโลก
19
ชั้นบรรยากาศของโลกไม่ฟ้งกระจายออกไปสู่
                        ุ
อวกาศเนื่องจากอะไร
    ก.ชั้นโอโซนกั้นไว้
    ข.เรือนกระจกกั้นไว้
    ค.แรงดึงดูดของโลก
    ง.แรงดึงดูดจากดวงอาทิตย์
20
ส่วนประกอบของอากาศทีมีปริมาณมากทีสุด คือ
                      ่          ่
อะไร
     ก.ก๊าซอาร์กอน
     ข.ก๊าซออกซิเจน
     ค.ก๊าซไนโตรเจน
     ง.ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
21
บรรยากาศชั้นทีมีความแปรปรวนตลอดเวลา คือ
               ่
ข้อใด
     ก.เอกโซสเฟียร์
     ข.โทรโพสเฟียร์
     ค.สตราโตสเฟียร์
     ง.ไอโอโนสเฟียร์
22
อุณหภูมิของอากาศบนยอดเขาเย็นกว่าทีเชิงเขา
                                  ่
เพราะเหตุใด
    ก.บนยอดเขามีเมฆมากกว่า
    ข.บนยอดเขามีป่ามากกว่า
    ค.บนยอดเขามีฝนตกชุกกว่า
    ง.บนยอดเขาอยู่สงจากผิวโลกมากกว่า
                   ู
23
ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศ
กับความหนาแน่นอากาศ
     ก.ความดันมาก ความหนาแน่นมาก
     ข.ความดันมาก ความหนาแน่นน้อย
     ค.ความดันน้อย ความหนาแน่นมาก
     ง.ความดันคงที่ ความหนาแน่นน้อย
24
เครื่องเขียนทีใช้หลักของความกดอากาศ คืออะไร
              ่
      ก.ดินสอ            ข.ชอล์ก
      ค.พิมพ์ดีด         ง.ปากกาหมึกซึม
25
ในกรณีที่อณหภูมเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกและกระเปาะ
          ุ      ิ
แห้งของไฮโกรมิเตอร์มค่าเท่ากัน ควรจะบอกลักษณะของ
                     ี
อากาศได้ว่าอย่างไร
    ก.ตากผ้าจะแห้งช้ากว่าปกติ
    ข. ตากผ้าจะแห้งเร็วกว่าปกติ
    ค. ความชืนสัมพัทธ์ตามาก
               ้        ่
    ง. ปริมาณไอน้าในอากาศมีน้อยมาก
26
ความชื้นสัมพัทธ์ 60 % หมายความว่าอย่างไร
ก. อากาศมีไอน้าอิมตัวอยู่ 60 %
                 ่
ข. อากาศมีไอน้าอิมตัวอยู่ 40 %
                   ่
ค. อากาศมีไอน้าอยู่ 40 % ของไอน้าอิมตัว
                                     ่
ง. อากาศมีไอน้าอยู่ 60 % ของไอน้าอิมตัว
                                   ่
27
ส่วนทีเป็นอากาศห่อหุ้มโลกอยู่นี้เรียกกันว่า
      ่
อย่างไร
     ก. กาลอากาศ
     ข. ความกดอากาศ
     ค. บรรยากาศ
     ง. ภูมิอากาศ
28
บริเวณทีมีหย่อมความกดอากาศต่าพัดผ่าน
        ่
ลักษณะอากาศจะเป็นอย่างไร
     ก. ท้องฟ้าแจ่มใส อากาศร้อนอบอ้าว
     ข. ท้องฟ้ามีเมฆมาก อากาศหนาวเย็น
     ค. ท้องฟ้ามีเมฆฝน อากาศร้อนอบอ้าว
     ง. ท้องฟ้าแจ่มใส อากาศหนาวเย็น
29
ข้อใดกล่าวถึงลมทะเลถูกต้อง
ก. เกิดในเวลากลางวัน พัดจากชายฝั่งไปสู่ทะเล
ข. เกิดเวลากลางคืน พัดจากชายฝั่งไปสู่ทะเล
ค. เกิดเวลากลางวันพัดจากทะเลสู่ชายฝั่ง
ง. เกิดเวลากลางคืนพัดจากทะเลสู่ชายฝั่ง
30
อากาศมีแรงดันทุกทิศทุกทางพิสูจน์ได้จาก
    ก. วัตถุจมลงในน้า
    ข. ไม่มีข้อใดพิสูจน์ได้
    ค. เป่าลูกโป่งจนแตก
    ง. ว่าวลอยอยู่ในอากาศ
31
การเกิดลม มีหลักการอย่างไร
ก. อากาศร้อนลอยตัวสูงขึน อากาศเย็นไหลเข้ามาแทนที่
                         ้
ข. อากาศเย็นลอยตัวต่าลง อากาศร้อนไหลเข้ามาแทนที่
ค. อากาศร้อนลอยตัวต่าลง อากาศเย็นไหลเข้ามาแทนที่
ง. อากาศเย็นลอยตัวสูงขึน อากาศร้อนไหลเข้ามาแทนที่
                       ้
32
ความชื้นสัมพัทธ์มีผลอย่างไรในชีวิตประจาวัน
ก. ความชื้นสัมพัทธ์ต่า เสื้อผ้าจะแห้งช้า
ข. ความชื้นสัมพัทธ์สง จะรู้สึกเหนียวตัว
                     ู
ค. ความชื้นสัมพัทธ์สูง เสื้อผ้าจะแห้งเร็ว
ง. ความชื้นสัมพัทธ์ต่า อากาศจะร้อนอบอ้าว
33
บริเวณใดต่อไปนี้มีความดันอากาศสูงทีสด
                                   ่ ุ
     ก. ไหล่เขา
     ข. หุบเขา
     ค. คอเขา
     ง. ยอดเขา
34
ถ้าความกดดันอากาศสองบริเวณมีความแตกต่างกัน
มาก มีโอกาสเกิดเหตุการณ์ใดตามมามากที่สุด
    ก. ฝนตกฟ้าคะนอง
    ข. พายุรุนแรง
    ค. ความกดอากาศสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
    ง. ปริมาณไอน้าในอากาศมากขึ้น
35
ข้อใดไม่ถกต้อง
            ู
   ก. อากาศทีอยู่ในสภาวะทีมความชืนมากทีสด เป็นอากาศทีอมตัวด้วย
                    ่       ่ ี   ้      ่ ุ          ่ ิ่
ไอน้ามากทีสด    ่ ุ
   ข. เมื่อระดับความสูงเพิมขึน ความดันของอากาศลดลง เพราะความ
                          ่ ้
หนาแน่นของอากาศเพิมขึน่ ้
   ค. ความแตกต่างของอุณหภูมกระเปาะเปียกและกระเปาะแห้งมีมากขึน
                                ิ                               ้
ค่าความชืนสัมพัทธ์จะน้อยลง
              ้
   ง. น้าค้างเกิดจากอากาศมีไอน้ามากเย็นตัวลงจนไม่สามารถรับไอน้าได้
อีกจึงเปลียนเป็นหยดน้าเล็ก ๆ
          ่
36
ข้อใดไม่ถกต้อง
          ู
ก. ความหนาแน่นของอากาศจะค่อย ๆ ลดลงเมื่อสูงจากผิวโลก
มากขึน้
ข. ในบรรยากาศของโลก อุณหภูมจะลดลงตามระดับความสูง
                                ิ
ค. มีปัจจัยหลายอย่างทีทาให้อณหภูมในทีต่าง ๆ แตกต่างกัน
                      ่     ุ     ิ ่
ง. ความดันของอากาศจะลดลงตามระดับความสูง
37
ข้อใดไม่จัดเป็นหยาดน้าฟ้า
     ก. ฝน
     ข. หิมะ
     ค. ลูกเห็บ
     ง. น้าค้าง
38
บรรยากาศคือข้อใด
   ก. สภาพแวดล้อมรอบโลก
   ข. สิ่งที่มองเห็นเป็นท้องฟ้า
   ค. อากาศเหนือก้อนเมฆทังหมด ้
   ง. อากาศทีอยู่รอบตัวเราและห่อหุ้มโลก
                ่
39
บรรยากาศชั้นทีมีเมฆ หมอก ฝน และพายุ มี
               ่
ระดับความสูงจากพื้นดินไปเท่าใด
     ก. 10 กิโลเมตร
     ข. 20 กิโลเมตร
     ค. 30 กิโลเมตร
     ง. 40 กิโลเมตร
40
บริเวณที่สูงขึ้นไปจากผิวโลก อากาศจะมีลักษณะ
อย่างไร
ก. ความหนาแน่นลดลง ความดันลดลง
ข. ความหนาแน่นลดลง ความดันเพิ่มขึ้น
ค. ความหนาแน่นเพิ่มขึ้น ความดันลดลง
ง. ความหนาแน่นเพิ่มขึ้น ความดันเพิ่มขึ้น
41
บรรยากาศคือความดันอากาศทีระดับความสูง
                         ่
จากน้าทะเลเท่าใด
ก. 0 กิโลเมตร      ข. 1 กิโลเมตร
ค. 2 กิโลเมตร      ง. 3 กิโลเมตร
42
ข้อใดกล่าวถึงบรรยากาศใกล้ผิวโลกถูกต้อง
ก. ความสูงน้อย อุณหภูมิต่า
ข. ความสูงมาก อุณหภูมิสูง
ค. ความสูงน้อย ความดันน้อย
ง. ความสูงมาก ความดันน้อย
43
บรรยากาศชั้นทีเราอาศัยอยู่เรียกว่าชั้นอะไร
               ่
ก. เทอร์โมสเฟียร์
ข. มีโซสเฟียร์
ค. โทรโพสเฟียร์
ง. สตราโตสเฟียร์
44
ลักษณะสาคัญของบรรยากาศชั้นทีเราอาศัยอยู่
                                  ่
เป็นอย่างไร
     ก. อุณหภูมิคงทีอยู่ตลอดเวลา
                     ่
     ข. อุณหภูมิเพิมเมื่อความสูงเพิ่ม
                   ่
     ค. อุณหภูมิลดลงเมื่อความสูงเพิม ่
     ง. อุณหภูมิลดลงเมื่อความสูงลดลง
45
เครื่องมือทีใช้วดความดันอากาศคือข้ออะไร
            ่ ั
ก. บารอมิเตอร์
ข. อะนิโมมิเตอร์
ค. แอลติมิเตอร์
ง. ไฮกรอมิเตอร์
46
ชาวประมงใช้ลมชนิดใดในการออกเรือไปหาปลา
ในทะเล และลมนี้เกิดในเวลาใด
ก. ลมบก เวลากลางวัน
ข. ลมบก เวลากลางคืน
ค. ลมทะเล เวลากลางวัน
ง. ลมทะเล เวลากลางคืน
47
CFC คือสารประกอบทีประกอบด้วยธาตุใด
                  ่
   ก. คาร์บอน ฟลูออรีน ปรอท
   ข. คาร์บอน คลอรีน ไนโตรเจน
   ค. คาร์บอน ฟลูออรีน คลอรีน
   ง. คาร์บอน ซัลเฟอร์ แมงกานีส
48
อะไรเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้อณหภูมิของโลก
                             ุ
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก
      ก. การทดลองนิวเคลียร์
      ข. การเผาทาลายบ่อน้ามัน
      ค. การทากิจกรรมของมนุษย์
      ง. การเกิดพิบัติกับธรรมชาติ
49
ถ้าโลกของเราไม่มชนบรรยากาศห่อหุ้มจะเกิดสิ่งใด
                  ี ั้
ก. เกิดเมฆ ลม ฝน พายุตลอดเวลา
ข. เครื่องบินและเครื่องร่อนบินอยู่ไม่ได้
ค. ผิวโลกจะเรียบไม่มหลุมและบ่อเหมือนผิวของดวง
                       ี
    จันทร์
ง. โลกจะมีอุณหภูมิสูงตลอดเวลาและอุณหภูมิสูงเท่ากัน
    ทั่วโลก
50
ความดัน 1 บรรยากาศ มีค่าเป็นกี่บาร์
   ก. 1 บาร์
   ข. 1.013 บาร์
   ค. 2 บาร์
   ง. 2.013 บาร์

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศkrupornpana55
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2fal-war
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาManchai
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 

What's hot (20)

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2 แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
แบบทดสอบวิทย์ ม.1ตอนที่2
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 

Similar to บทที่ 1

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศkrupornpana55
 
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4pageใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
 ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศdnavaroj
 
ความชื้น
ความชื้นความชื้น
ความชื้นdnavaroj
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์Aus2537
 

Similar to บทที่ 1 (8)

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4pageใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
 
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
 ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
ใบความรู้+อากาศเคลื่อนที่ได้อย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f18-4page
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
ความชื้น
ความชื้นความชื้น
ความชื้น
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
 

More from Nang Ka Nangnarak

บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการNang Ka Nangnarak
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการNang Ka Nangnarak
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554Nang Ka Nangnarak
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554Nang Ka Nangnarak
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมNang Ka Nangnarak
 

More from Nang Ka Nangnarak (20)

Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
 
15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
 

บทที่ 1