SlideShare a Scribd company logo
1
เห็ดจั่น หรือเห็ดตับเต่าขาว หรือเห็ดตีนแรด เป็นชื่อของเห็ดรับประทานได้ ที่มีขนาดดอก
ใหญ่ เห็ดชนิดนี้มีทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ทางภาคเหนือเรียกเห็ดจั่น ภาคกลางเรียก
เห็ดตับเต่าขาว ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือเรียก เห็ดตีนแรด กล่าวกันว่าเห็ดชนิดนี้อร่อยไม่
แพ้เห็ดโคน เมื่อทาอาหารแล้วเห็นเมือกเล็กน้อย มีรสกลิ่นและความเหนียวไม่แพ้เห็ดโคน
และมีขนาดใหญ่ซึ่งใช้เพียง ๑-๒ ดอก ก็พอที่จะรับประทานได้ทั้งครอบครัว
เห็ด Marasmius maximus hongo เห็ดนี้ขึ้นทั่วไปในป่าดอยสุเทพ และดอยปุยบนพื้นดินที่มีใบไม้ ผุเปื่อยในฤดูฝน เห็ด
ชนิดนี้พอจะสังเกตได้ง่าย เพราะมีหมวกเห็ดบาง ครีบหมวก แต่ละครีบเรียงห่างกัน และมีความหนา มากกว่าเห็ดธรรมดา
หมวกเห็ดมีผิวบาง คล้ายกระดาษสีน้าตาลอ่อน สีชมพู สีน้าตาลอ่อน และสีน้าตาลอ่อนปนม่วง ซึ่งเวลาแห้งหรือดอกบาน
เต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีเนื้อ หมวกเห็ดมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๒-๕ เซนติเมตร
เห็ดมัน เป็นเห็ดอีกชนิดหนึ่ง ที่รับประทานได้มีจาหน่ายทางภาคเหนือ ในฤูดฝน ชอบเกิดบนขอนไม้ในป่า ไม่ค่อย
แพร่หลายนัก อาจเป็นเพราะเห็ดชนิดนี้เหนียวกว่าเห็ดชนิดอื่น และรสไม่อร่อยเท่าไรนัก เห็ดมัน มีหมวกเห็ดสีขาวนวล ผิว
ด้านในเรียบและมีลักษณะเห็นเป็นเงามันคล้ายผ้าไหม ด้านบนมีรอยเว้าลงไปเป็นแอ่ง ส่วนมากจะไม่อยู่กึ่งกลางดอก แต่
ค่อนไปข้างใดข้างหนึ่ง
เห็ดซาง เป็นเห็ดที่รับประทานได้ชนิดหนึ่ง ที่พบจาหน่ายในฤดูฝนทางภาคเหนือ ลักษณะดอกเห็ดชอบขึ้นเป็นดอกเดี่ยว ซึ่ง
อยู่กันเป็นกลุ่ม และมีโคนก้านดอกติดกันมองดูเหมือนช่อดอกไม้ เห็ดชนิดนี้ขึ้น เกาะติดอยู่บนขอนไม้ผุเปื่อย ในป่าและ
พื้นดินในป่า จัดว่าเป็นเห็ดสดชนิดหนึ่งที่มีเนื้อเห็ด เหนียวกว่าเห็ดธรรมดา ดอกเห็ดเมื่อ เจริญเต็มที่มีลักษณะเป็นรูปกรวย
ปากแตร ซึ่งมีหมวกเห็ดเว้าบุ๋มลึกลงไป
เห็ด Collybia มีหลายชนิด ชนิดที่กล่าวนี้เก็บรวบรวม ได้จากบริเวณกอไผ่ที่มีใบหล่นเน่าเปื่อย อยู่บนผิวดินปกติเห็ดชนิดนี้
ขึ้นเป็นดอกเดี่ยวและอยู่กัน เป็นกลุ่ม หมวกเห็ดมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๒-๕ เซนติเมตร รูปร่างหมวกเห็ด กางออกเห็น
แบบรูปโค้ง เกือบเป็นครึ่งวงกลมซึ่ง เมื่อบานเต็มที่จะแผ่กางออกแบนราบ เห็นเส้นตรงกลาง หมวกเห็ดมักจะเว้าแหว่งลงไป
ทาให้ขอบหมวกพลิกงอขึ้นด้านบนเล็กน้อย และมีลักษณะหยักเป็นหยักเห็นคลื่น ผิวหมวกเห็ดด้านบน เป็นสีน้าตาลอ่อน
หรือสีน้าตาลอมแดง
เห็ดตีนตุ๊กแกหรือเห็ดแคลง เป็นเห็ดขนาดเล็กซึ่งเกิดชุกชุม ตามท่อนไม้ผุหรือบนลาต้นไม้ที่ตายแล้ว บนท่อนอ้อยที่ทิ้งอยู่
ในไร่ ตามรั้วบ้านที่ทาด้วยไม้เนื้ออ่อน ตามท่อนไม้ไผ่ที่ผุเปื่อยหรือตายแล้ว ฯลฯ ในฤดูฝนจะพบเห็นเห็ดชนิด นี้มากมาย
นับว่าเป็นเห็ดที่ขึ้นง่าย และขึ้นอยู่ทั่วไปเห็ดตีนตุ๊กแก เป็นเห็ดชนิดหนึ่งที่รับประทานได้ เห็ดชนิดนี้ทางภาคใต้เรียก เห็ด
แคลง คนส่วนมากนิยมนาไปทอดกับไข่ หรือนาไปแกงคั่วกับเนื้อสัตว์ โดยใช้เห็ดที่เกิดใหม่ๆ
เห็ดหอยนางรมขาว เป็นเห็ดสดที่รับประทานได้ เช่นเดียวกับเห็ดมะม่วงบ้านเรา ซึ่งจัดอยู่ในพวกเดียวกัน เห็ดชนิดนี้อยู่ใน
ระหว่างการค้นคว้า ทดลองเพาะเลี้ยงต่อไป อาจจะเป็นเห็ดอีกชนิดหนึ่งที่นามาส่งเสริมเพาะเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรม เห็ดหอย
นางรมขาวมีรสหวานอร่อยน่ารับประทาน แต่มีข้อเสียที่นาไปหุงต้มแล้วจะมีเนื้อนิ่ม และเหนียวกว่าเห็ดบางชนิด เช่น
เห็ดโคน และ เห็ดฟาง ฯลฯ
เห็ดเป๋าฮื้อ เป็นเห็ดรับประทานได้อีกชนิดหนึ่ง พี่น้องกับเห็ดหอยนางรมขาว เห็ดทั้งสองชนิดนี้มีผู้นาเชื้อมาจากต่างประเทศ
แล้วเพาะเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรม ในปัจจุบัน ซึ่งปรากฏว่าเห็ดเป๋าฮื้อได้รับความนิยมดีกว่า เพราะมีเนื้อเห็ดแข็งกว่าและ
รูปร่างลักษณะคล้ายอาหารกระป๋องชนิดหนึ่งที่เรียกว่า เอ็นหอย หรือเป๋าฮื้อ ซึ่งมีผู้ตั้งไว้ และเป็นชื่อที่รู้จักกันแพร่หลายใน
ขณะนี้ เห็ดเป๋าฮื้อโดยธรรมชาติขึ้นบนเปลือกต้นไม้ผุ หรือขอนไม้ผุ
เห็ดไข่นก เป็นเห็ดสดรับประทานได้ พบทางภาคเหนือของประเทศไทยในฤดูฝน เห็ดชนิดนี้จัดว่าเป็นเห็ดขนาดใหญ่
เช่นเดียวกับเห็ดไข่ห่านขาวและเหลือง ชอบขึ้นในป่าละเมาะ บนพื้นดินที่มีใบไม้ผุพังเน่าเปื่อย เห็ดไข่นกเป็นเห็ดในสกุล
เดียวกับกับเห็ดที่มีพิษหลายชนิด เช่น เห็ด Amanita muscaria หรือเรียกชื่อธรรมดาว่า Fly Cap ซึ่งเป็นเห็ดมีพิษมาก แต่ไม่
ถึงกับ ทาให้เสียชีวิต Amanita phalloides เรียกชื่อธรรมดาว่าเห็ด Death Cap ซึ่งจัดว่าเป็นเห็ดที่มีพิษมาก ถึงกับทาให้
เสียชีวิตถ้ารับประทาน
เห็ดเพ็ก เป็นเห็ดขนาดเล็กที่รับประทานได้ ซึ่งขึ้นตามป่าที่มีหญ้าเพ็ก เช่น ป่าทางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ทางภาคใต้ ที่มีที่ราบสูงหรือตามเชิงเขา ที่มีหญ้าเพ็กขึ้น ลักษณะดอกเห็ดค่อนข้างมีเนื้อแห้งและเหนียวเล็กน้อย ผู้เก็บเห็ด
และผู้ซื้อนิยมนาไปผัดกับไข่ โดยใช้เห็ดที่ออกใหม่ๆในฤดูฝน เห็ดชนิดนี้จะขึ้นกันเป็นกลุ่มงอกออกข้างๆ กอหญ้าที่แห้ง
ตายแล้ว หรือที่มีใบหญ้าผุพังทับถม ดอกเห็ดมีรูปร่างคล้ายกรวยตรงกลางหมวก
เห็ดหอม เป็นเห็ดรับประทานได้ที่มีชื่อเสียงและราคาสูง เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ส่วนมากคนรู้จักเห็ดชนิดนี้ในรูป
ของเห็ดแห้ง ซึ่งสั่งมาขายจากต่างประเทศ ปัจจุบันเห็ดหอมสามารถที่จะเพาะเลี้ยงได้ดีทางภาคเหนือของประเทศไทย แต่ที่
ยังไม่ได้นาออกมาเผยแพร่ ให้เพาะเลี้ยงกันเป็นปกติ เห็ดชนิดนี้ใช้ไม้จาพวกเนื้อแข็งเป็นวัตถุมาเพาะเลี้ยง แต่ถ้าเรานาไม้
ดังกล่าวที่มีขายทางภาคเหนือมาเพาะเห็ด ชนิดนี้หมด จะเป็นการทาลายป่าของเราอย่างน่าเสียดาย
เห็ดลม หรือเห็ดกระด้าง เป็นเห็ดขอนชนิดหนึ่งที่รับประทานได้ เห็ดลมมีจาหน่ายมาก ปลายฤดูฝนและฤดูหนาวทาง
ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ผู้ขายเก็บมาจากขอนไม้ในป่า เห็ดลมจัดว่า เป็นเห็ดเนื้อแห้งและ
เหนียวคล้ายหนัง ชาวบ้านจะเก็บเห็ดชนิดนี้ร้อยเป็นพวงขาย หรือขายปนกับผักที่ใช้ประกอบแกงแคที่มีชื่อเสียงทาง
ภาคเหนือ ลักษณะดอกเห็ดขึ้นเป็นเห็ดดอกเดียว มีโคนก้าน<wbrเล็กปลายบานออกคล้าย รูปกรวย
เห็ดข้าวตอก เป็นเห็ดรับประทานได้ ผู้เขียนติดใจในรสหวานของเห็ดชนิดนี้ ผู้เขียนยังนึกต่อไปว่าน่าจะเรียก เห็ดดอก
พุทธชาด หรือเห็ดดอกมะลิ ดูจะใกล้เคียงกว่า ชื่อเห็ดข้าวตอก แต่อย่างไรก็ตาม ชื่อที่เรียกก็คงมีความหมายเช่นกัน เพราะ
เห็ดชนิดนี้ขึ้นขาวเป็นกลุ่มใหญ่ มองดูคล้ายกับโปรยข้าวตอกดอกไม้ หมวกเห็ดมีสีบริสุทธิ์ เวลากางออกเต็มที่ ร่มหมวก
เกือบจะแบนราบเป็นเส้นตรง ยกเว้นที่ยอดมีตุ่มแหลมเล็กน้อย
เห็ดไข่ห่านเหลือง เป็นเห็ดป่าชนิดหนึ่งรับประทานได้ มีชุกชุมมากทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเรียกเห็ด
นี้ว่าเห็ดระโงกเหลืองเห็ดนี้เกิดบนพื้นดินในป่าที่มีใบไม้ผุเปื่อยทับถม เห็ดไข่ห่านเหลืองเป็นป่าชนิดหนึ่งรับประทานได้ มี
ชุกชุมมาก ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเรียกเห็ดนี้ว่า เห็ดระโงกเหลืองเห็ดนี้เกิดบนพื้นดิน ในป่าที่มี
ใบไม้ผุเปื่อยทับถมอยู่
เห็ดชานหมาก (วงแหวน ๒ ชั้น) เป็นเห็ดชนิดหนึ่ง ชอบขึ้นบนสนามหญ้า และตามกองมูลสัตว์ ในต่างประเทศเรียกเห็ด
ชนิดนี้ว่า Horse mushroom บางครั้งเราอาจพบเห็ดนี้ ตามต้นไม้เห็ดชานหมากชอบ ขึ้นเดี่ยวอิสระแต่ขึ้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
หรือกระจายทั่วไปบนสนามหญ้าในฤูดฝน จัดว่าเป็นเห็ดที่ใช้รับประทานได้และมีรสดี มีผู้เก็บไปรับประทานกันเสมอ เห็ด
ชนิดนี้มีหมวกเห็ดสีขาว ผิวด้านนอกเรียบแต่บางที่มีเกล็ดละเอียดปกคลุมอยู่
เห็ดบัว เป็นเห็ดฟางชนิดหนึ่งที่ขึ้นง่าย และเรารู้จักกันดี มีจาหน่ายในท้องตลาดทั้งปี แต่ก่อนเห็ดชนิดนี้มีขึ้นตามธรรมชาติ
ตามกองฟางข้าว จึงมีชื่อเรียกว่า เห็ดฟาง ต่อมามี การส่งเสริมให้เพาะปลูกเห็ดชนิดนี้ขึ้น จนเป็นอุตสาหกรรมทั่วประเทศ
โดยมีวัตถุดิบที่ใช้เพาะเลี้ยง คือ มูลม้าเปลือกบัวและ ฟางข้าว หรือในมูลม้า และ เปลือกบัวที่หมักให้ผุเปื่อยแล้ว จึงมีชื่อเรียก
เห็ดชนิดนี้อีกชื่อหนี่งว่า เห็ดบัว
เห็ดชานหมาก (วงแหวน 1 ชั้น) เป็นเห็ดที่ขึ้นตามป่า แต่ก็ไม่เสมอไป เคยพบเห็ดชนิดนี้ขึ้นบนสนามหญ้าในกรุงเทพฯ มา
ครั้งหนึ่ง ในต่างประเทศเรียกเห็ดชนิดนี้ว่า wood mushroom ขึ้นอยู่บนพื้นดินในป่า เห็ดชานหมากขาวขึ้นในฤดูฝน และ
ชอบขึ้นเป็นดอกเดี่ยวๆ แต่อยู่เป็นกลุ่ม จัดว่าเป็นเห็ดรับประทานได้ชนิดหนึ่ง และมีรสอร่อยด้วย
เห็ดหน้าวัว เป็นเห็ดรับประทานได้ ที่กล่าวกันว่าอร่อยมากเหมือนเห็ดหล่ม แต่จัดเป็น เห็ดในสกุลเดียวกัน เห็ดชนิดนี้ ขึ้น
ตามป่าไม้ผลัดใบ พบทางภาคเหนือของประเทศไทย แต่ไม่ชุกชุมเหมือนเห็ดหล่มหรือเห็ดตะไคล เราจะพบเห็ดชนิดนี้ขาย
ปะปน รวมอยู่กับเห็ดอื่นๆ แต่เพียง ๓-๔ ดอกอาจเป็นเพราะ ผู้เก็บเห็ดมาขายบางคน ไม่กล้าเพาะกลัวจะเป็นพิษ หรืออาจ
เป็นเพราะเห็ดชนิดนี้ มีขึ้นไม่มากนัก
เห็ดกระโดง เป็นเห็ดรับประทานได้ชนิดหนึ่ง ซึ่งออกดอกในฤดูฝนมีมาก ทางภาคเหนือ เนื่องจากเห็ดชนิดนี้มีก้านยาว จีงมี
ชื่อว่าเห็ดกระโดง ในต่างประเทศเรียกเห็ดนี้ว่า Parasol mushroom หรือ tall mushroom ลักษณะดอกเห็ดดูน่ากลัวจึง มีผู้ที่
เกรงกลัวไม่กล้าซื้อไปรับประทาน จัดว่าเป็นเห็ดสดชนิดหนึ่ง
ที่มา:จากหนังสือ เห็ดเมืองไทย อนงค์ จันทร์ศรีกุล วท.บ.(จุฬา) , M.S (วิสคอมซิน),สาขาโรคพืช
กองวิจัยโรคพืช กรมวิชาการเกษตร
2
เห็ด
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เห็ด เป็น[ฟังไจ]ชั้นสูงที่มีขนาดใหญ่ มนุษย์รู้จักเห็ดและการนาเห็ดมาประกอบอาหารรับประทานมาเป็นเวลานานแล้ว
ประมาณ 130 ล้านปี เห็ดนอกจากจะนามาเป็นอาหารแล้ว เห็ดยังมีผลต่อสภาพแวดล้อมของโลกโดยการย่อยสลายซากพืช
มูลสัตว์ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เป็นการลดปริมาณของเสียบน พื้นโลกอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้เนื่องจากเห็ด
มา เอ็นไซม์ (Enzme) หลายชนิดที่ย่อยสลายวัสดุ มีโครงสร้างของอาหารที่ซับซ้อนให้อยู่ในรูปของ สารอาหารที่สามารถดูด
ซึมไปใช้ได้ เช่น เห็ดหอม เห็ดสกุลนางรม เห็ดกระดุม นอกจากนี้ยังมีเห็ดที่ต้องอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ หรือ อาศัย
อาหารจากรากพืชอีกหลายชนิดในธรรมชาติ โดยมีทั้งเห็ดที่รับประทานได้และเห็ดพิษ
ความหมายของเห็ด
เห็ดมีความหมายหลายอย่างขึ้นอยู่กับการใช้ประโยชน์ ถ้าใช้เป็นมอาหารเห็ดจะอยู่ในกลุ่มพืชผัก เห็ดเป็นพวกที่มี
สารอาหารโปรตีนสูง อุดมด้วยวิตามินและเกลือแร่ที่สาคัญหลายชนิด
โดยเฉพาะวิตามิน B 1, B2 และมีแคลอรี่ต่า เห็ดถูกจัดเป็นพืชชั้นต่ากลุ่มหนึ่ง เนื่องจากเห็ดไม่มี คลอโรฟิล สังเคราะห์แสง
ไม่ได้ ปรุงอาหารไม่ได้ ต้องอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดยการเป็น ปรสิต (Parasite) หรือขึ้นบนรากพืชที่ตายแล้ว
(Saprophyte) หรืออาศัยอาหารจากรากพืชอื่นๆ (Mycorrhiza) โดยทั่วไปเห็ดเป็นชื่อใช้เรียกราชั้นสูงกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมี
วิวัฒนาการสูง สูงกว่าราอื่นๆมีวงจรชีวิตที่สลับซับซ้อนกว่าเชื้อราทั่วไป เริ่มจาก สปอร์ ซึ่งเป็นอวัยวะหรือส่วนที่สร้างเซล
ขยายพันธุ์ เพื่อตกไปในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจะงอกเป็นใยและกลุ่ม ใยรา (Mycelium) เจริญพัฒนาเป็นกลุ่มก้อนเกิด
เป็นดอกเห็ดอยู่เหนือพื้นดินบนต้นไม้ ขอนไม้ ซากพืช มูลสัตว์ ฯลฯ
เมื่อดอกเห็ดเจริญจะสร้างสปอร์ซึ่งจะปลิวไปงอกเป็นใยรา และเป็นดอกเห็ดได้อีก หมุนเวียนเช่นนี้เรื่อยไป
ชนิด
เห็ดมีอยู่หลายชนิด โดยเห็ดที่รู้จักกันทั่วไป ที่สามารถนามารับประทานได้และใช้เป็นสมุไพร เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดโคน
เห็ดหอม เห็ดเผาะ เห็ดฟาง เห็ดลม เห็ดหูหนู เห็ดหลินจือ
ส่วนต่างๆของเห็ด
1.หมวก (Cap or pilleus)
เป็นส่วนที่อยู่ด้านบนสุด มีรูปร่างต่าง ๆ กันเช่น โค้งนูน รูปกรวยรูปปากแตร รูประฆัง ผิวบนหมวกต่างกัน เช่น ผิว
เรียบ ขรุขระ มีขนเกล็ด มีสีแตกต่างกันและอาจมีการเปลี่ยนแป ลงได้
2.ครีบ (Gill or lamelta)
อาจเป็นแผ่นหรือซี่บาง ๆอยู่ใต้หมวกเรียงเป็นรัศมี หรือเป็นรู (Pores) ครีบเป็นที่เกิดของสปอร์
3.ก้าน (Dtalk or stipe)
ปลายข้างหนึ่งของก้านยึดติดกับดอก หรือหมวกเห็ด มีขนาด รูปร่าง สี ต่างกันในแต่ละชนิด บางชนิดไม่มีก้าน เช่น
เห็ดหูหนู เห็ดเผาะ
4.วงแหวน (Ring or annulus)
เป็นส่วนที่เกิดจากเยื่อบาง ๆ ที่ยึดขอบหมวก กับก้านดอกที่ขาดออกจากหมวกเห็ดบาน
5.เปลือกหรือเยื่อหุ้มดอก (Vova outer veil)
เป็นส่วนนอกสุดที่หุ้มหมวก และก้านไว้ภายในขณะที่ยังเป็นดอกอ่อน จะแตกออกเมื่อดอกเริ่มบาน ส่วนของเปลือก
หุ้มจะยังอยู่ที่โคน
6.เนื้อ (Context)
เนื้อภายในหมวกหรือก้านอาจจะสั้น เหนียวนุ่ม เปราะ เป็นเส้นใย
คุณสมบัติของเห็ด
1.เห็ดที่รับประทานได้ (Edible mushroom)
เห็ดที่รับประทานได้มักมีรสและกลิ่นหอม เนื้ออ่อนนุ่มหรือกรอบ เช่น เห็ดหูหนู เห็ดฟาง เห็ดนางรม เห็ดภูฏาน
เห็ดโคน เห็ดตับเต่า บางชนิดเพาะเลี้ยงได้ บางชนิดเพาะเลี้ยงไม่ได้
2.เห็ดมีพิษ (Poisonous mushroom)
เห็ดมีพิษมีหลายชนิด บางชนิดมีพิษร้ายแรงถึงตาย เช่น เห็ดระโงกหิน บางชนิดมีพิษทาให้เกิดอาการอาเจียนมึนเมา เช่น
เห็ดร่างแห เห็ดปลอกหาน เห็ดหัวกรวดครีบเขียวอ่อน เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
การจาแนกเห็ดพิษเป็นไปได้ยาก เนื่องจากเห็ดในสกุลเดียวกัน บางชนิดรับประทานได้ บางชนิดเป็นพิษถึงตาย เช่น เห็ดใน
สกุล อะมานิตา (Amanita) และเห็ดรับประทานเห็ดที่รู้จักเท่านั้น เนื่องจากความเป็นพิษของเห็ดบางชนิดรุนแรงถึงตาย บาง
ชนิดทาให้เกิดอาการอาเจียน หรือท้องร่วง พิษของเห็ดจะเข้าไปทาลายระบบประสาท ตับไตและประสาทตา
คุณค่าทางโภชนาการของเห็ด
1.มีโปรตีนสูงกว่าพืชผักชนิดอื่นๆ ยกเว้น ถั่วเหลือง ถั่วลันเตา
2.มีไขมันที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย (Unsaturated fatty acid)
3.มีกรดอมิโนที่จาเป็นต่อร่างกาย
4.มีแคลอรี่ต่า
5.มีวิตามินหลายชนิดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิตามิน บี 1 บี 2 วิตามิน ซี
6.มีส่วนประกอบของเยื่อใย(Fiber) และคาร์โบไฮเดรต
7.มีแร่ธาตุที่สาคัญหลายชนิด
การบริโภค
การบริโภคเห็ด ในจีนและญี่ปุ่น นิยมนามาทาน้าแกง น้าชา ยาบารุงร่างกาย ทางฝั่งยุโรปนาไปปรุงเป็นซุป ในประเทศไทยมี
การนามาผสมในแกงต่าง ๆ รวมถึงต้มยา และบางชนิดก็นามาต้มจิ้มน้าพริกอีกด้วย มีการจาหน่ายเห็ดเพื่อการบริโภค จึงมี
ธุรกิจทาฟาร์มเห็ด หรือการเพาะเห็ดเพื่อจาหน่ายเห็ดสด รวมทั้งแปรรูปเห็ด เช่น ปลาประป๋อง อาหารแมว
3
เห็ดน่ารู้
เห็ดนางฟ้าภูฏาน
เห็ดนางฟ้าภูฏาน เป็นเห็ดนางรมชนิดหนึ่งมีการนาเชื้อเห็ดมาจากราชอาณาจักรภูฏาน และมีการเพาะเลี้ยง
ทั่วประเทศยกเว้นฤดูหนาวทางภาคเหนือที่เห็ดไม่ออกดอก
ลักษณะทั่วไป เห็ดนางฟ้าภูฏานเกิดเป็นกลุ่ม มีโคนเชื่อมติดกันกลุ่มละ 3 – 10 ดอก หมวกเห็ด รูปใบพาย
หรือรูปพัด ผิวสีน้าตาลอ่อนอมเทาหรือม่วงอ่อน ผิวเรียบ เนื้อหมวกสีขาว ด้านล่างมีครีบแคบและเรียวยาวลงไปจด
ก้านดอก ครีบสีขาว ก้านดอกอยู่ไม่กึ่งกลางดอกมักค่อนไปด้านใดด้านหนึ่ง ยาว 1 – 4 เซนติเมตร สีขาว โคนเรียว
เล็ก ผิวเรียบแต่เป็นสันนูนและร่องเตี้ย ๆ ยาวตลอดก้านดอก เนื้อในก้านดอกสีขาวฟูนิ่ม
สปอร์ สีขาว ผิวเรียบ ผนังบาง ขนาด 7-10 x 3-4 ไมโครเมตร ( อนงค์ จันทร์ศรีกุล.2542 : 23 )
แหล่งที่พบ เห็ดนางฟ้าเป็นเห็ดที่เกิดขึ้นจากการเพาะเลี้ยง จากการสารวจพบว่าอาเภอเนินสง่า มีเกษตรกรที่
เพาะเห็ดนางฟ้าเป็นอาชีพอยู่ 1 ราย ที่ตาบลหนองฉิม มีก้อนเห็ดประมาณ 3,000 ก้อน และมีการเพาะเลี้ยงที่โรงเพาะ
เห็ดโรงเรียนเนินสง่าวิทยา ปัจจุบันนักเรียนสามารถเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเห็ดนางฟ้าเพื่อขยายพันธุ์ได้ แล้วนามา
เพาะเลี้ยงกับขี้เลื่อยไม้ยางพาราหรือฟางข้าวก็ได้ ในอดีตเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม ชาวบ้านเพาะเลี้ยงโดยใช้ท่อนไม้
เนื้ออ่อน แต่ปัจจุบันไม้หายากได้ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพาราแทน
ฤดูที่พบ เห็ดนางฟ้าเป็นเห็ดเมืองร้อนสามารถเพาะเลี้ยงได้ตลอดปี ยกเว้นฤดูหนาวถ้าอากาศหนาวมากเห็ด
จะไม่ออกดอก
ประโยชน์ เห็ดนางฟ้าเป็นเห็ดที่มีผู้นิยมนามาบริโภคเนื่องจาก มีรสชาติดี ขนาดดอกใหญ่ ราคาไม่แพง
เพาะเลี้ยงง่าย ตามธรรมชาติจะช่วยย่อยสลายกิ่งไม้ท่อนไม้ ทาให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของดิน
เห็ดนางฟ้ามีรูปร่างลักษณะคล้ายคลึงกับเห็ดนางรม เห็ดทั้งสองชนิดนี้จัดอยู่ในวงศ์ (family) เดียวกัน ชื่อ
"เห็ดนางฟ้า" เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นในเมืองไทย คนไทยบางคนเรียกว่าเห็ดแขก เนื่องจากมีผู้พบเห็นเห็ดนี้ครั้งแรกที่
ประเทศอินเดีย พบขึ้นตามธรรมชาติบนตอไม้เนื้ออ่อนที่กาลังผุ ในแถบเมืองแจมมู (Jammu) บริเวณเชิงเขาหิมาลัย
ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Pleurotus sajor-caju (Fr.) Singer
เห็ด นางฟ้าถูกนาไปเลี้ยงในอาหารวุ้นเป็นครั้งแรกโดย Jandaik ในปี ค.ศ. 1947 ต่อมา Rangaswami และ
Nadu แห่ง Agricultural University, Coimbattore ในอินเดียเป็นผู้นาเชื้อบริสุทธิ์ของเห็ดนางฟ้าเข้ามาฝากไว้ที่
American Type Culture Collection (ATCC) ในอเมริกาเมื่อปี ค.ศ. 1975 ได้ทราบว่าประมาณปี ค.ศ. 1977 ทางกอง
วิจัยโรคพืช กรมวิชาการเกษตร เป็นผู้นาเชื้อจาก ATCC เข้ามาประเทศไทยเพื่อทดลองเพาะดู ปรากฏว่าสามารถ
เจริญได้ดี
อีก สายพันธุ์หนึ่ง เป็นเห็ดที่มีผู้นาเข้ามาจากประเทศภูฐาน มาเผยแพร่แก่นักเพาะเห็ดไทย ได้มีการเรียกชื่อ
เห็ดนี้ว่า เห็ดนางฟ้าภูฐาน มีหลายสายพันธุ์ซึ่งชอบอุณหภูมิที่แตกต่างกัน บางพันธุ์ออกได้ดีในฤดูร้อน บ้างพันธุ์
ออกได้ดีในฤดูหนาว เป็นที่นิยมมาเพาะเป็นการค้ากันมาก
ลักษณะ ของดอกเห็ดนางฟ้า มีลักษณะคล้ายกับดอกเห็ดเป๋าฮื้อ และดอกเห็ดนางรม เมื่อเปรียบเทียบกับเห็ด
เป๋าฮื้อ ดอกเห็ดนางฟ้าสีจะอ่อนกว่า และมีครีบอยู่ชิดกันมากกว่า เห็นนางฟ้าสามารถเก็บไว้ในตู้เย็นนานได้หลายวัน
เช่นเดียวกับเห็ดเป๋าฮื้อ เนื่องจากเห็ดชนิดนี้ไม่มีการย่อตัวเหมือนกับเห็ดนางรม ด้านบนของดอกจะมีสีนวลๆ ถึงสี
น้าตาลอ่อน ในอินเดียดอกเห็ดมีขนาดตั้งแต่ 5 - 14 เซ็นติเมตร และจะมีน้าหนักอยู่ระหว่าง 30 - 120 กรัม เห็ด
นางฟ้ามีรสอร่อย เวลานาไปปรุงอาหารจะมีกลิ่นชวนรับประทาน เห็ดชนิดนี้สามารถนาไปตากแห้ง เก็บไว้เป็น
อาหารได้ เมื่อจะนาเห็ดมาปรุงอาหาร ก็นาไปแช่น้าเห็ดจะคืนรูปเดิมได้
เห็ดนางรมฮังการี
"เห็ด นางรม" (Oyster Mushroom ) เป็นเห็ดที่มีถิ่นกาเนิดอยู่ทางถิ่นประเทศแถบยุโรป เห็ดพวกนี้
เจริญเติบโต ได้ดีในพวกไม้โอ๊ค (oak) ไม้เมเปิ้ล (maple) ไม้พืช (peach) ฯลฯ และสามารถเจริญเติบโตได้ทั่วไปใน
เขตอบอุ่น ต่อมาได้มีการนาเข้ามาทดลองเพาะเลี้ยงในประเทศไทย พบว่า เห็ดชนิดนี้สามารถปรับตัวและ
เจริญเติบโตได้ดีในประเทศไทย จึงได้มีการเผยแพร่วิธีการเพาะเห็ดชนิดนี้จนเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป เห็ด
นางรมจัดเป็นเห็ดที่ประชาชนนิยมรับประทานกันมาก ทั้งนี้เนื่องจากเห็ดนางรมมีลักษณะคล้ายเห็ดมะม่วง หรือเห็ด
ขอนขาวที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติบนตอไม้ที่ผุพัง ประกอบกับเห็ดนางรมเป็นเห็ดที่มีสีขาวสะอาดมีคุณค่าทางอาหาร
สูงและมีรสชาติ หอมหวาน นอกจากนี้เนื้อของเห็ดนางรมยังไม่เหนียวมากเหมือนเห็ดมะม่วงหรือเห็ดขอนขาว ที่
สาคัญคือ "เห็ดนางรม" มีสารบางอย่างที่มีสรรพคุณเป็นยารักษาโรคไม่แพ้เห็ดชนิดอื่นๆ จึงทาให้ประชาชนรู้จักเห็ด
ชนิดนี้เป็นอย่างดี
เห็ด นางรม หรือOyster mushroom จัดได้ว่าเป็นเห็ดชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงโดยเฉพาะ โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ไม่แพ้เห็ดชนิดอื่นๆ นอกจากนี้เห็ดนางรมยังให้ปริมาณแร่ธาตุหลายชนิด เช่น แคลเซียม
ฟอสฟอรัส โปแตสเซี่ยม และยังให้พลังงานค่อนข้างสูง เห็ดนางรม มีวิตามินบี 1 วิตามินบี 2 สูงกว่าเห็ดชนิดอื่นๆ
และยังมีกรดโฟลิคสูงกว่าพืชผักและเนื้อสัตว์กรด พวกนี้ช่วยป้องกันรักษาโรคโลหิตจางได้ จึงเหมาะสาหรับผู้ป่วย
ที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และยังเหมาะต่อผู้ที่ต้องการลดน้าหนักเพราะเห็ดมีปริมาณของไขมันน้อย
และมี ปริมาณโซเดียมต่า จึงเหมาะที่จะใช้เป็นอาหารสาหรับผู้ที่เป็นโรคหัวใจและโรคไตอักเสบ ประกอบกับเห็ด
นางรมที่เพาะง่าย สามารถเจริญเติบโตได้ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย จึงได้มีการเพาะเห็ดนี้กันอย่างแพร่หลาย
คุณค่าทางโภชนาการ
คุณค่าอาหาร
เห็ดนางรม 100 กรัม ให้พลังงาน 30 กิโลแคลอรี่ ประกอบด้วย
โปรตีน 2.1 กรัม
ไขมัน 0.3 กรัม
คาร์โบไฮเดรต 4.8 กรัม
แคลเซียม 4 มิลลิกรัม
ฟอสฟอรัส 61 มิลลิกรัม
เหล็ก 0.3 มิลลิกรัม
ไนอะซิน 2.7 มิลลิกรัม
วิตามินซี 21 มิลลิกรัม
วิธีการเพาะ
1. ผสมวัสดุเพาะทั้งหมดเข้าด้วยกัน และทดสอบความชื้นให้พอเหมาะโดยจะมีความชื้นประมาณ 75 -
80%
2. บรรจุวัสดุเพาะลงในถุง ถ้าเป็นวัสดุเพาะเป็นขี้เลื่อยใช้ถุงขนาด 6.5x12.5 นิ้ว หนัก 800 - 1,000 กรัม
ถ้าวัสดุเพาะเป็นฟางหมักควรใช้ถุงขนาด 7x13 นิ้ว แล้วอัดวัสดุให้แน่น แต่ละถุงจะมีน้าหนักประมาณ ถ้าเป็น
ฟางหมัก 6-8 ขีด ถ้าเป็นขี้เลื่อยประมาณ 600 - 800 กรัม เสร็จแล้วใส่คอขวดรัดด้วยยางรัดปิดด้วยจุกสาลี
3. นาถุงก้อนเห็ดที่บรรจุแล้วไปนึ่งฆ่าเชื้อ โดยใช้หม้อนึ่ง 2 แบบ คือ
3.1 หม้อนึ่งฆ่าเชื้อแบบลูกทุ่ง หรือหม้อนึ่งไม่อัดความดัน โดยใช้ถัง 200 ลิตร บรรจุครั้งละ 100 ถุง นึ่ง
นาน 1.5-2 ชั่วโมง หรือหม้อนึ่งที่ประกอบด้วยเหล็กแผ่นเป็นรูปสี่เหลี่ยมบรรจุถุงได้ตั้งแต่ 500-5,000 ถุง โดย
ใช้ระยะเวลาในการนึ่งประมาณ 4-10 ชั่วโมง
3.2 การนึ่งแบบมีความดัน จะเป็นถังที่สามารถทนความร้อนสูงได้ 121 องศาเซลเซียส และมีความดัน
ประมาณ 15 - 18 ปอนด์/ตารางนิ้ว ใช้เวลาในการนึ่งประมาณ 2 - 3 ชั่วโมง
การปลูกเชื้อเห็ดลงถุง
เปิดจุกสาลีออกแล้วใช้ เชื้อเห็ดในเมล็ดธัญพืชหยอดลงไปประมาณ 20 เมล็ด แล้วปิดด้วยกระดาษ
นาไปบ่มให้เส้นใยเห็ดเดินต่อไป ระยะเวลาการบ่มเส้นใย เห็ดนางรมและนางฟ้าภูฐาน จะใช้เวลาประมาณ
25-30 วัน ส่วนเห็ดนางฟ้าและเห็ดเป๋าฮื้อ จะใช้เวลา ประมาณ 45 - 50 วัน
การเปิดดอก
เมื่อเส้นใยเห็ดเดินเต็ม ถุงหรือใช้เวลาในการบ่มได้ที่แล้ว นาถุงก้อนเชื้อเห็ดเข้าในโรงเรือนเปิดดอก
และดึงกระดาษที่ปิดหน้าถุงออก เพิ่มความชื้นภายในโรงเรือนให้ได้ ประมาณ 80 - 85% โดยการฉีดพ่นน้า
เป็นละอองฝอย วันละ 2 - 3 ครั้ง จากนั้นประมาณ 7 - 10 วัน ดอกเห็ดก็จะเริ่มออกและเก็บได้ ก่อนเก็บ
ผลผลิต ควรงดการให้น้าเพราะเห็ดจะเปียกชื้นไม่เป็นที่ต้องการของตลาด
การเก็บเกี่ยว
ทาการดึงดอกเห็ดที่ออกจากหน้าถุงเมื่อโตเต็มที่อยู่ในระยะที่ ยังไม่บาน สังเกตจากขอบดอกเห็ดยังงุ้ม
อยู่ โดยดึงดอกเห็ดให้หลุดออกจากถุงทั้งกลุ่มไม่ให้เหลือโคนติดที่ถุง เพราะจะทาให้หน้าถุงเน่าทาให้มีเชื้อรา
อื่นหรือมีแมลงหวี่เข้าทาลาย
ประโยชน์ของเห็ดนานาชนิด
ชฎาพร นุชจังหรีด
ภาควิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
เห็ด เป็นแหล่งอาหารโปรตีนจากธรรมชาติ ที่มีวิวัฒนาการมาจากการประสานเส้นใยจานวนมากของเชื้อรา
ชั้นสูง และถึงแม้เห็ดจะขาดกรดอะมิโนบางตัวไปบ้าง แต่ในเรื่องของรสชาติและเนื้อสัมผัสนั้น รับรองว่าเห็ดไม่
เป็นรองใครในยุทธจักรอาหารอย่างแน่นอน ที่สาคัญเห็ดยังให้คุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยา ซึ่งมี
คุณสมบัติที่ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันในร่างกาย และช่วยลดอัตราความเสี่ยงจากโรคร้ายต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง เบาหวาน
อัลไซเมอร์ หลอดเลือดหัวใจอุดตัน และความดันโลหิตสูง เป็นต้น
เห็ดจัดเป็นอาหารประเภทผักที่ปราศจากไขมัน มีปริมาณน้าตาลและเกลือค่อนข้างต่า และยังเป็นแหล่ง
โปรตีนที่ดี เมื่อเทียบกับผักอีกหลายชนิด อีกทั้งยังมีรสชาติและกลิ่นที่ชวนรับประทาน ซึ่งรสชาติที่โดดเด่นนี้ มา
จากการที่เห็ดมีกรดอะมิโนกลูตามิคเป็นองค์ประกอบ โดยกรดอะมิโนตัวนี้จะทาหน้าที่ช่วยกระตุ้นประสาทการ
รับรู้รสอาหารของลิ้นให้ ไวกว่าปกติ และทาให้มีรสชาติคล้ายกับเนื้อสัตว์ นอกจากนี้เห็ดยังอุดมไปด้วยวิตามิน
โดยเฉพาะวิตามินบีรวม (ไรโบฟลาวิน) และไนอาซิน ซึ่งจะช่วยควบคุมการทางานของระบบย่อยอาหาร ในส่วน
ของเกลือแร่ เห็ดจัดเป็นแหล่งเกลือแร่ที่สาคัญ โดยมีเกลือแร่ต่างๆ เช่น ซิลิเนียม ทาหน้าที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ ลด
ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน โปแตสเซียม ทาหน้าที่ควบคุมจังหวะการเต้นของ
หัวใจ สมดุลของน้าในร่างกาย การทางานของกล้ามเนื้อและระบบประสาทต่างๆ ลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
อัมพฤกษ์ และอัมพาต ส่วนทองแดง ทาหน้าที่ช่วยเสริมสร้างการทางานของธาตุเหล็ก และที่สาคัญ เห็ดมี
องค์ประกอบของพฤกษเคมีที่ชื่อว่า “โพลีแซคคาไรด์”(Polysaccharide) จะทางานร่วมกับแมคโครฟากจ์
(macrophage) ซึ่งเป็นเซลล์คุ้มกันขนาดใหญ่ที่ออกจากหลอดเลือดเข้าสู่เนื้อเยื่อและจะไป จับกับโพลีแซคคาไรด์ที่
บริเวณกระเพาะอาหาร และนาไปส่งยังเซลล์คุ้มกันตัวอื่นๆ โดยจะช่วยกระตุ้นวงจรการทางานของระบบภูมิคุ้มกัน
ของร่างกาย เสริมและช่วยเพิ่มปริมาณและประสิทธิภาพของเซลล์คุ้มกันธรรมชาติ ให้ทาหน้าที่ทาลายเซลล์
แปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย รวมถึงพวกไวรัสและแบคทีเรียอื่นๆ ด้วย เห็ดที่มีปริมาณสารโพลีแซคคาไรด์สูง คือ
เห็ดหอมหรือเห็ดชิตาเกะ เห็ดนางรม เห็ดหูช้าง และเห็ดกระดุม เป็นต้น และเห็ดอื่นๆ ที่นิยมนามารับประทาน
ได้แก่ เห็ดหลินจือ เห็ดฟาง เห็ดหูหนู เห็ดกระดุมหรือแชมปิญอง เห็ดโคน และเห็ดเข็มทอง เป็นต้น นอกจากนี้ยัง
สามารถใช้เห็ดเป็นยาได้อีกด้วย ซึ่งสรรพคุณทางยาของเห็ดมีมากมาย เช่น ช่วยควบคุมการทางานของอวัยวะสาคัญ
ต่างๆ เช่น สมอง หัวใจ ปอด ตับ และระบบไหลเวียนของโลหิต เนื่องจากชาวจีนจัดเห็ดเป็นยาเย็น เพราะมี
สรรพคุณช่วยลดไข้ เพิ่มพลังชีวิต ดับร้อนใน แก้ช้าใน บารุงร่างกาย ลดระดับน้าตาล และคอเลสเตอรอลในหลอด
เลือด ลดความดัน ขับปัสสาวะ ช่วยให้หายหงุดหงิด บารุงเซลล์ประสาท รักษาอาการอัลไซเมอร์ และที่สาคัญ คือ
ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
ประโยชน์ทางการแพทย์ของเห็ดชนิดต่างๆ มีดังนี้
1. เห็ดหอม หรือเห็ดชิตาเกะเป็นยาอายุวัฒนะ เพราะช่วยลดไขมันในเส้นเลือด อีกทั้งยังเพิ่มภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ
ไวรัสและมะเร็งด้วย และมีกรดอะมิโนถึง 21 ชนิด มีวิตามิน บี 1 บี 2 สูง พอๆ กับยีสต์ มีวิตามินดีสูงช่วยบารุง
กระดูกและมีปริมาณโซเดียมต่า เหมาะสาหรับผู้ที่เป็นโรคไต นอกจากนี้ยังมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และเหล็ก ซึ่ง
ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง ช่วยลดความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร ช่วยบารุงกาลัง บรรเทาอาการ
ไข้หวัด ชาวจีนยกให้เห็ดหอมเป็นอาหารต้นตารับ “อมตะ”
2. เห็ดหูหนู เป็นกลุ่มคาร์โบไฮเดรต สามารถเพิ่มความแข็งแรงให้เม็ดเลือดขาวในผู้สูงอายุ ทาให้ภูมิ
ต้านทานร่างกายดีขึ้น รวมทั้งช่วยรักษาโรคกระเพาะและริดสีดวง เห็ดหูหนูขาว ช่วยบารุงปอดและไต
3. เห็ดหลินจือ มีสารสาคัญ เบต้ากลูแคน ซึ่งมีคุณสมบัติต้านมะเร็ง คนญี่ปุ่นมักใช้ควบคู่กับการรักษา
โรคมะเร็งและโรคผู้สูงอายุ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคความดันโลหิตสูง
4. เห็ดกระดุมหรือเห็ดแชมปิญอง รูปร่างกลมมน คล้ายกระดุมที่มีขนาดใหญ่ ผิวเนื้อนวล มีให้เลือกทั้งแบบ
สดหรือบรรจุกระป๋อง มีบทบาทในการรักษาและป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมมากที่สุด โดยสารบางอย่างในเห็ดนี้
ไปช่วยยับยั้งเอนไซม์อะโรมาเตส (aromatase) ทาให้เกิดการยับยั้งการเปลี่ยนฮอร์โมนเอนโดรเจนเป็นฮอร์โมน
เอสโตรเจนใน ผู้หญิงวัยหมดประจาเดือน เมื่อร่างกายผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนได้น้อยลงก็ลดโอกาสการ
เจริญเติบโตของเซลล์ มะเร็งเต้านมให้น้อยลงตามไปด้วย
5. เห็ดนางรม เห็ดนางฟ้า และเห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดสามอย่างนี้อยู่ตระกูลเดียวกัน เจริญเติบโตเป็นช่อๆ คล้ายพัด
เห็ดนางรมมีสีขาวอมเทา เห็ดนางฟ้ามีสีขาวอมน้าตาล ขณะที่เห็ดเป๋าฮื้อจะมีสีคล้าและเนื้อเหนียวหนาและนุ่มอร่อย
คล้ายเนื้อสัตว์ มากกว่า เชื่อว่าสามารถป้องกันโรคหวัด ช่วยการไหลเวียนเลือด และโรคกระเพาะ
6. เห็ดฟาง เป็นเห็ดยอดนิยมของคนไทย นิยมเพาะกันบนกองฟางข้าวชื้นๆ โคนมีสีขาว ส่วนหมวกสีน้าตาล
อมเทา หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด ให้วิตามินซีสูง และมีกรดอะมิโนสาคัญอยู่หลายชนิด หากรับประทานเป็น
ประจาจะช่วยเสริมภูมิคุ้มกันการติดเชื้อต่างๆ อีกทั้งยังช่วยลดความดันโลหิตและเร่งการสมานแผล
7. เห็ดหลินจือ นอกจากใช้รับประทานแล้ว ปัจจุบันยังมีการนาไปเป็นส่วนผสมของเครื่องสาอางค์อีกด้วย
เพราะมีคุณสมบัติช่วยต้านอนุมูลอิสระ ยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้อร้าย รวมทั้งกระตุ้นภูมิคุ้มกันไวรัส
8. เห็ดเข็มทอง เป็นเห็ดสีขาว หัวเล็กๆ ขึ้นติดกันเป็นแพ รสชาติเหนียวนุ่ม นามารับประทานแบบสดๆ ใส่
กับสลัดผักก็ได้ ถ้าชอบสุกก็นาไปย่าง ผัดหรือลวกแบบสุกี้ ถ้ากินเป็นประจาจะช่วยรักษาโรคตับ กระเพาะ และ
ลาไส้อักเสบเรื้อรัง
9. เห็ดโคน ช่วยเจริญอาหาร บารุงกาลัง แก้บิด แก้คลื่นไส้ อาเจียน แก้ไอ ละลายเสมหะ การทดลองทาง
เภสัชศาสตร์พบว่าน้าที่สกัดจากเห็ดโคนสามารถยับยั้งเชื้อโรคบาง ชนิด เช่น เชื้อไทฟอยด์
เห็ดนางนวล
เห็ดหลินจือ
มหัศจรรย์น้าเห็ด 5 อย่าง
ว่า กันว่าการที่ "เห็ด" เป็นอาหารมหัศจรรย์นั้น มีสาเหตุมาจากฤดูการเกิดที่ไม่เหมือนกับพืชผักชนิด
อื่นๆ เพราะใช้เวลาเพาะเพียงสั้นๆ ในขณะที่จานวนผลิตผลที่ได้นั้นมากมายดาษดื่นเหลือเกิน ถึงเวลางอกงาม
แต่ละทีก็ผุดขึ้นราวกับตั้งนาฬิกาปลุกธรรมชาติ พอใกล้เวลาก็มุดหายลงดิน เก็บตัวเงียบรอเวลาอีกครั้ง
ปัจจุบัน เห็ดที่เรานิยมรับประทานกันมีอยู่มากมายหลายชนิด มีทั้งแบบสด บรรจุกระป๋อง หรือแม้แต่
เห็ดตากแห้ง ซึ่งความนิยมในการรับประทานมีมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยรูปแบบ และรสชาติเฉพาะตัวที่แตกต่างจาก
อาหารประเภทพืชผักด้วยกัน รวมทั้งการที่คนหันมานิยมรับประทานอาหารแบบมังสวิรัติกันมากขึ้น ก็ทาให้
เห็ดถูกนามาใช้ปรุงอาหารแทนเนื้อสัตว์มากขึ้นตามไปด้วย มีงานวิจัยหลายชิ้นที่ยืนยันว่าเห็ดมีคุณสมบัติ
ป้องกันโรคได้
ตัวอย่าง เช่น ในประเทศจีนและญี่ปุ่น นิยมนาเห็ดมาปรุงเป็นน้าแกง น้าชา ยาบารุงร่างกาย และยา
รักษาโรคต่างๆ มีการทาวิจัยเกี่ยวกับเห็ดมากว่า 30 ปียืนยันว่าในเห็ดมีสารบางอย่างที่ช่วยกระตุ้นการทางาน
ของระบบภูมิคุ้มกัน และลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ และช่วยในการต้านมะเร็งหลายๆ ชนิดได้ด้วย
ด้วย คุณประโยชน์มากมายจาก "เห็ด" ทาให้ สถานีฟาร์มเห็ด พัฒนาการแปรรูปผลผลิตจากเห็ดมาทา
เป็นเครื่องดื่มบารุงสุขภาพ โดยเครื่องดื่มดังกล่าวสกัดมาจากเห็ด 5 ชนิด ซึ่งได้แก่ เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้าภูฏาน
และเห็ดนางรมฮังการี เห็ดหูหนูดา เห็ดหูหนูขาว และผสมน้าผึ้ง 100 เปอร์เซ็นต์ ที่ช่วยในเรื่องเป็นยา
อายุวัฒนะ
เมื่อ เห็ดทั้ง 5 รวมตัวกัน สกัดออกมาเป็นเครื่องดื่ม เเน่นอนว่าก่อนหน้านั้นทุกคนเห็นว่าเห็ดเพียงชนิด
เดียวก็สามารถให้ประโยชน์ แก่สุขภาพร่างการหลายด้านแล้ว แต่อย่างไรก็ตามเมื่อของดีทั้ง 5 รวมตัวกัน
ประโยชน์นานัปประการที่ผู้บริโภคจะได้รับนั้นย่อมเพิ่มขึ้นทวีคูณ เราลองมาวิเคราะห์ถึงประโยชน์แต่ละด้าน
ที่จะได้รับจากเห็ดกันเลยดีกว่า
นานาสารอาหารจากเห็ด
- โปรตีน เมื่อนาเห็ด 5 อย่างมารวมกันประกอบอาหารแล้ว จะได้โปรตีนจากเห็ดที่ร่างกายดูดซึมไปใช้
งานได้ง่ายที่สุด ง่ายกว่าเนื้อสัตว์ โปรตีนจากเห็ดจะไปสร้างกรดอะมิโนที่บารุงสมองปรับสมดุลของการสร้าง
เซลล์ใหม่ ในร่างกาย ต้านการเกิดมะเร็ง ขจัดสารพิษ
- เห็ดเป็นอาหารที่ปราศจากไขมัน มีปริ มาณน้าตาล และเกลือต่ามาก แถมยังเป็นแหล่งโปรตีน
คุณภาพสูงเมื่อเทียบกับโปรตีนที่ได้จากเนื้อสัตว์ มีธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินซี วิตามินบีรวม
ซีลีเนียม โปแตสเซียม และทองแดง จึงเป็นอาหารที่มีคุณค่าสูงที่ควรเลือกรับประทานเป็นประจา
- ซีลีเนียม เป็นสารอาหารที่ช่วยต้านการเกิดอนุมูลอิสระใกล้เคียงกับวิตามินอี ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงต่อ
การเกิดมะเร็งและโรคภัยต่างๆ ที่มากับวัยสูงอายุ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ การรับประทานเห็ดหอม (ชิ้น
ขนาดกลางๆ 5 ชิ้น) จะให้ซีลีเนียมประมาณ 1 ใน 3 ของปริมาณที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน นอกจากในเห็ดแล้ว
ยังมีอยู่ในธัญพืชและเนื้อสัตว์ด้วย
- โปแตสเซียม เป็นสารอาหารที่จาเป็นอย่างยิ่งในการควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ ความสมดุล
ของน้าในร่างกาย การทางานของกล้ามเนื้อ และระบบประสาทต่างๆ ทาง FDA ของสหรัฐอเมริการะบุไว้ว่า
การรับประทานอาหารที่เป็นแหล่งของโปแตสเซียมจะ ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดความดันเลือดสูง และอัม
พฤกษ์ อัมพาต ซึ่งในเห็ดนั้นมีโปแตสเซียมสูง และโซเดียมต่า การรับประทานอาหารที่ปรุงจากเห็ดกระดุม
หรือเห็ดแชมปิญอง 1 จานจะให้โปแตสเซียมได้พอๆ กับส้มหรือมะเขือเทศลูกโตๆ เลยทีเดียว
- วิตามินบีรวม ในเห็ดขึ้นชื่อว่าเป็นอาหารที่อุดมด้วยวิตามินบีรวม ไม่ว่าจะเป็น ไรโบฟลาวิน (ที่
นอกจากจะได้จากเห็ดแล้ว ยังมีมากในเครื่องในสัตว์ นม ไข่ และเต้าหู้) ช่วยบารุงสุขภาพผิวพรรณและการ
มองเห็น ขณะที่ไนอาซิน (ยังพบมากในปลาทูน่า เนื้อแดง ถั่วลิสง และอะโวคาโด) จะช่วยควบคุมการทางาน
ของระบบย่อยอาหาร และระบบประสาท สถาบันอาหารแห่งสหรัฐอเมริกาได้ประมาณไว้ว่า การรับประทาน
เห็ดแชมปิญองขนาดกลางๆ 5 ชิ้น จะได้ปริมาณไรโบฟลาวินมากพอๆ กับการดื่มนมสดถึง 8 ออนซ์
- ทองแดง เป็นสารอาหารที่ร่างกายต้องการเช่นเดียวกัน เพื่อมาช่วยเสริมการทางานของ ธาตุเหล็ก
ประโยชน์ มากมายดังที่กล่าวมา คงพอเป็นเครื่องการันตีคุณค่าและประโยชน์ของ
ผลผลิต จากเห็ด ในสถานีเห็ดของเราได้เป็นอย่างดีใช่ไหมละครับ นับจากนีเป็นต้นไป สถานีเห็ด
ขอเป็นเพื่อนดูแลสุขภาพของคุณและคนที่คุณรัก ด้วยการมอบสิ่งดีดี มีประโยชน์ให้แก่คุณตลอดไป
แล้วคุณล่ะครับ คิดได้หรือยังว่าจะเลือกรับประทานหรือชอบเห็ดชนิดไหน แต่ที่ส้าคัญ อย่า
ลืมเลือกสรรเห็ดปลอดสารพิษจาก "สถานีเห็ด" มาปรุงอาหารอร่อยๆ กันเป็นประจ้าน่ะครับ เพื่อ
ประโยชน์ต่อสุขภาพของคุณเองและคนที่คุณรัก

More Related Content

What's hot

8.ถ่ายเชื้อข้างฟ่างลงก้อนเห็ด
8.ถ่ายเชื้อข้างฟ่างลงก้อนเห็ด8.ถ่ายเชื้อข้างฟ่างลงก้อนเห็ด
8.ถ่ายเชื้อข้างฟ่างลงก้อนเห็ดsombat nirund
 
6.การต่อเชื้อข้าวฟ่างสู่ข้าวฟ่าง
6.การต่อเชื้อข้าวฟ่างสู่ข้าวฟ่าง6.การต่อเชื้อข้าวฟ่างสู่ข้าวฟ่าง
6.การต่อเชื้อข้าวฟ่างสู่ข้าวฟ่างsombat nirund
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
Lilly Phattharasaya
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
Wichai Likitponrak
 
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Isการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
M Mild Charinrat Aloha
 
Is แผ่นพับ
Is แผ่นพับIs แผ่นพับ
Is แผ่นพับ
M Mild Charinrat Aloha
 
11.การนึ่งแบบไม่ใช้หม้อแรงดัน
11.การนึ่งแบบไม่ใช้หม้อแรงดัน11.การนึ่งแบบไม่ใช้หม้อแรงดัน
11.การนึ่งแบบไม่ใช้หม้อแรงดันsombat nirund
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
cherdpr1
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
khuwawa
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
Wichai Likitponrak
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบานAN'z NP Soparpipat
 
การเพาะเห็ดภายในบ้าน
การเพาะเห็ดภายในบ้านการเพาะเห็ดภายในบ้าน
การเพาะเห็ดภายในบ้าน
gamsh_
 
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
banhongschool
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003withawat na wanma
 
การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1Pranruthai Saothep
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
Wichai Likitponrak
 
ไม้ดอกล้มลุก
ไม้ดอกล้มลุกไม้ดอกล้มลุก
ไม้ดอกล้มลุกArtit Songsee
 

What's hot (20)

8.ถ่ายเชื้อข้างฟ่างลงก้อนเห็ด
8.ถ่ายเชื้อข้างฟ่างลงก้อนเห็ด8.ถ่ายเชื้อข้างฟ่างลงก้อนเห็ด
8.ถ่ายเชื้อข้างฟ่างลงก้อนเห็ด
 
6.การต่อเชื้อข้าวฟ่างสู่ข้าวฟ่าง
6.การต่อเชื้อข้าวฟ่างสู่ข้าวฟ่าง6.การต่อเชื้อข้าวฟ่างสู่ข้าวฟ่าง
6.การต่อเชื้อข้าวฟ่างสู่ข้าวฟ่าง
 
แมลงวัน
แมลงวันแมลงวัน
แมลงวัน
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Isการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
 
Is แผ่นพับ
Is แผ่นพับIs แผ่นพับ
Is แผ่นพับ
 
11.การนึ่งแบบไม่ใช้หม้อแรงดัน
11.การนึ่งแบบไม่ใช้หม้อแรงดัน11.การนึ่งแบบไม่ใช้หม้อแรงดัน
11.การนึ่งแบบไม่ใช้หม้อแรงดัน
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
วินหรรมบาน
วินหรรมบานวินหรรมบาน
วินหรรมบาน
 
การเพาะเห็ดภายในบ้าน
การเพาะเห็ดภายในบ้านการเพาะเห็ดภายในบ้าน
การเพาะเห็ดภายในบ้าน
 
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
แมลง ยุง
แมลง ยุงแมลง ยุง
แมลง ยุง
 
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
ป้ายชื่อพรรณไม้.Doc2003
 
การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
ไม้ดอกล้มลุก
ไม้ดอกล้มลุกไม้ดอกล้มลุก
ไม้ดอกล้มลุก
 

Similar to 11111

หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบnangna
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โรงเรียนประชาบำรุง อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
 
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
kaewpanya km
 
กุหลาบ 1
กุหลาบ 1กุหลาบ 1
กุหลาบ 1nangna
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
Wichai Likitponrak
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
Wan Ngamwongwan
 
เทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนเทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุน
V'View Piyarach
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
 

Similar to 11111 (20)

หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบ
 
Raitai
RaitaiRaitai
Raitai
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
แตงกวาผลยาว เบอร์ ๒
 
กุหลาบ 1
กุหลาบ 1กุหลาบ 1
กุหลาบ 1
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
เทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนเทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุน
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
LA445 02
LA445 02LA445 02
LA445 02
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 

More from Surapong Jakang

แบบประเมิน
แบบประเมินแบบประเมิน
แบบประเมิน
Surapong Jakang
 
หน้าจออบรม
หน้าจออบรมหน้าจออบรม
หน้าจออบรม
Surapong Jakang
 
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2Surapong Jakang
 
สัมภาษณ์ผู้บริหารจัดแล้ว
สัมภาษณ์ผู้บริหารจัดแล้วสัมภาษณ์ผู้บริหารจัดแล้ว
สัมภาษณ์ผู้บริหารจัดแล้วSurapong Jakang
 
Manual Swish max3
Manual Swish max3Manual Swish max3
Manual Swish max3
Surapong Jakang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศSurapong Jakang
 
แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221
Surapong Jakang
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4Surapong Jakang
 
แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3Surapong Jakang
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2Surapong Jakang
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 

More from Surapong Jakang (20)

แบบประเมิน
แบบประเมินแบบประเมิน
แบบประเมิน
 
หน้าจออบรม
หน้าจออบรมหน้าจออบรม
หน้าจออบรม
 
11111
1111111111
11111
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
โครงการอบรมสังคมแห่งการเรียนรู้กับsocail media generation2
 
swishmax2
swishmax2swishmax2
swishmax2
 
swishmax1
swishmax1swishmax1
swishmax1
 
สัมภาษณ์ผู้บริหารจัดแล้ว
สัมภาษณ์ผู้บริหารจัดแล้วสัมภาษณ์ผู้บริหารจัดแล้ว
สัมภาษณ์ผู้บริหารจัดแล้ว
 
Manual Swish max3
Manual Swish max3Manual Swish max3
Manual Swish max3
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
A2 swishmax
A2 swishmaxA2 swishmax
A2 swishmax
 
A1 swishmax
A1 swishmaxA1 swishmax
A1 swishmax
 
แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221แผนการสอนวิชาง30221
แผนการสอนวิชาง30221
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
ใบลา
ใบลาใบลา
ใบลา
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4
 
แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

11111

  • 1. 1 เห็ดจั่น หรือเห็ดตับเต่าขาว หรือเห็ดตีนแรด เป็นชื่อของเห็ดรับประทานได้ ที่มีขนาดดอก ใหญ่ เห็ดชนิดนี้มีทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ทางภาคเหนือเรียกเห็ดจั่น ภาคกลางเรียก เห็ดตับเต่าขาว ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือเรียก เห็ดตีนแรด กล่าวกันว่าเห็ดชนิดนี้อร่อยไม่ แพ้เห็ดโคน เมื่อทาอาหารแล้วเห็นเมือกเล็กน้อย มีรสกลิ่นและความเหนียวไม่แพ้เห็ดโคน และมีขนาดใหญ่ซึ่งใช้เพียง ๑-๒ ดอก ก็พอที่จะรับประทานได้ทั้งครอบครัว เห็ด Marasmius maximus hongo เห็ดนี้ขึ้นทั่วไปในป่าดอยสุเทพ และดอยปุยบนพื้นดินที่มีใบไม้ ผุเปื่อยในฤดูฝน เห็ด ชนิดนี้พอจะสังเกตได้ง่าย เพราะมีหมวกเห็ดบาง ครีบหมวก แต่ละครีบเรียงห่างกัน และมีความหนา มากกว่าเห็ดธรรมดา หมวกเห็ดมีผิวบาง คล้ายกระดาษสีน้าตาลอ่อน สีชมพู สีน้าตาลอ่อน และสีน้าตาลอ่อนปนม่วง ซึ่งเวลาแห้งหรือดอกบาน เต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีเนื้อ หมวกเห็ดมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๒-๕ เซนติเมตร เห็ดมัน เป็นเห็ดอีกชนิดหนึ่ง ที่รับประทานได้มีจาหน่ายทางภาคเหนือ ในฤูดฝน ชอบเกิดบนขอนไม้ในป่า ไม่ค่อย แพร่หลายนัก อาจเป็นเพราะเห็ดชนิดนี้เหนียวกว่าเห็ดชนิดอื่น และรสไม่อร่อยเท่าไรนัก เห็ดมัน มีหมวกเห็ดสีขาวนวล ผิว ด้านในเรียบและมีลักษณะเห็นเป็นเงามันคล้ายผ้าไหม ด้านบนมีรอยเว้าลงไปเป็นแอ่ง ส่วนมากจะไม่อยู่กึ่งกลางดอก แต่ ค่อนไปข้างใดข้างหนึ่ง
  • 2. เห็ดซาง เป็นเห็ดที่รับประทานได้ชนิดหนึ่ง ที่พบจาหน่ายในฤดูฝนทางภาคเหนือ ลักษณะดอกเห็ดชอบขึ้นเป็นดอกเดี่ยว ซึ่ง อยู่กันเป็นกลุ่ม และมีโคนก้านดอกติดกันมองดูเหมือนช่อดอกไม้ เห็ดชนิดนี้ขึ้น เกาะติดอยู่บนขอนไม้ผุเปื่อย ในป่าและ พื้นดินในป่า จัดว่าเป็นเห็ดสดชนิดหนึ่งที่มีเนื้อเห็ด เหนียวกว่าเห็ดธรรมดา ดอกเห็ดเมื่อ เจริญเต็มที่มีลักษณะเป็นรูปกรวย ปากแตร ซึ่งมีหมวกเห็ดเว้าบุ๋มลึกลงไป เห็ด Collybia มีหลายชนิด ชนิดที่กล่าวนี้เก็บรวบรวม ได้จากบริเวณกอไผ่ที่มีใบหล่นเน่าเปื่อย อยู่บนผิวดินปกติเห็ดชนิดนี้ ขึ้นเป็นดอกเดี่ยวและอยู่กัน เป็นกลุ่ม หมวกเห็ดมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๒-๕ เซนติเมตร รูปร่างหมวกเห็ด กางออกเห็น แบบรูปโค้ง เกือบเป็นครึ่งวงกลมซึ่ง เมื่อบานเต็มที่จะแผ่กางออกแบนราบ เห็นเส้นตรงกลาง หมวกเห็ดมักจะเว้าแหว่งลงไป ทาให้ขอบหมวกพลิกงอขึ้นด้านบนเล็กน้อย และมีลักษณะหยักเป็นหยักเห็นคลื่น ผิวหมวกเห็ดด้านบน เป็นสีน้าตาลอ่อน หรือสีน้าตาลอมแดง เห็ดตีนตุ๊กแกหรือเห็ดแคลง เป็นเห็ดขนาดเล็กซึ่งเกิดชุกชุม ตามท่อนไม้ผุหรือบนลาต้นไม้ที่ตายแล้ว บนท่อนอ้อยที่ทิ้งอยู่ ในไร่ ตามรั้วบ้านที่ทาด้วยไม้เนื้ออ่อน ตามท่อนไม้ไผ่ที่ผุเปื่อยหรือตายแล้ว ฯลฯ ในฤดูฝนจะพบเห็นเห็ดชนิด นี้มากมาย นับว่าเป็นเห็ดที่ขึ้นง่าย และขึ้นอยู่ทั่วไปเห็ดตีนตุ๊กแก เป็นเห็ดชนิดหนึ่งที่รับประทานได้ เห็ดชนิดนี้ทางภาคใต้เรียก เห็ด แคลง คนส่วนมากนิยมนาไปทอดกับไข่ หรือนาไปแกงคั่วกับเนื้อสัตว์ โดยใช้เห็ดที่เกิดใหม่ๆ
  • 3. เห็ดหอยนางรมขาว เป็นเห็ดสดที่รับประทานได้ เช่นเดียวกับเห็ดมะม่วงบ้านเรา ซึ่งจัดอยู่ในพวกเดียวกัน เห็ดชนิดนี้อยู่ใน ระหว่างการค้นคว้า ทดลองเพาะเลี้ยงต่อไป อาจจะเป็นเห็ดอีกชนิดหนึ่งที่นามาส่งเสริมเพาะเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรม เห็ดหอย นางรมขาวมีรสหวานอร่อยน่ารับประทาน แต่มีข้อเสียที่นาไปหุงต้มแล้วจะมีเนื้อนิ่ม และเหนียวกว่าเห็ดบางชนิด เช่น เห็ดโคน และ เห็ดฟาง ฯลฯ เห็ดเป๋าฮื้อ เป็นเห็ดรับประทานได้อีกชนิดหนึ่ง พี่น้องกับเห็ดหอยนางรมขาว เห็ดทั้งสองชนิดนี้มีผู้นาเชื้อมาจากต่างประเทศ แล้วเพาะเลี้ยงเป็นอุตสาหกรรม ในปัจจุบัน ซึ่งปรากฏว่าเห็ดเป๋าฮื้อได้รับความนิยมดีกว่า เพราะมีเนื้อเห็ดแข็งกว่าและ รูปร่างลักษณะคล้ายอาหารกระป๋องชนิดหนึ่งที่เรียกว่า เอ็นหอย หรือเป๋าฮื้อ ซึ่งมีผู้ตั้งไว้ และเป็นชื่อที่รู้จักกันแพร่หลายใน ขณะนี้ เห็ดเป๋าฮื้อโดยธรรมชาติขึ้นบนเปลือกต้นไม้ผุ หรือขอนไม้ผุ เห็ดไข่นก เป็นเห็ดสดรับประทานได้ พบทางภาคเหนือของประเทศไทยในฤดูฝน เห็ดชนิดนี้จัดว่าเป็นเห็ดขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเห็ดไข่ห่านขาวและเหลือง ชอบขึ้นในป่าละเมาะ บนพื้นดินที่มีใบไม้ผุพังเน่าเปื่อย เห็ดไข่นกเป็นเห็ดในสกุล เดียวกับกับเห็ดที่มีพิษหลายชนิด เช่น เห็ด Amanita muscaria หรือเรียกชื่อธรรมดาว่า Fly Cap ซึ่งเป็นเห็ดมีพิษมาก แต่ไม่ ถึงกับ ทาให้เสียชีวิต Amanita phalloides เรียกชื่อธรรมดาว่าเห็ด Death Cap ซึ่งจัดว่าเป็นเห็ดที่มีพิษมาก ถึงกับทาให้ เสียชีวิตถ้ารับประทาน
  • 4. เห็ดเพ็ก เป็นเห็ดขนาดเล็กที่รับประทานได้ ซึ่งขึ้นตามป่าที่มีหญ้าเพ็ก เช่น ป่าทางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ทางภาคใต้ ที่มีที่ราบสูงหรือตามเชิงเขา ที่มีหญ้าเพ็กขึ้น ลักษณะดอกเห็ดค่อนข้างมีเนื้อแห้งและเหนียวเล็กน้อย ผู้เก็บเห็ด และผู้ซื้อนิยมนาไปผัดกับไข่ โดยใช้เห็ดที่ออกใหม่ๆในฤดูฝน เห็ดชนิดนี้จะขึ้นกันเป็นกลุ่มงอกออกข้างๆ กอหญ้าที่แห้ง ตายแล้ว หรือที่มีใบหญ้าผุพังทับถม ดอกเห็ดมีรูปร่างคล้ายกรวยตรงกลางหมวก เห็ดหอม เป็นเห็ดรับประทานได้ที่มีชื่อเสียงและราคาสูง เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ส่วนมากคนรู้จักเห็ดชนิดนี้ในรูป ของเห็ดแห้ง ซึ่งสั่งมาขายจากต่างประเทศ ปัจจุบันเห็ดหอมสามารถที่จะเพาะเลี้ยงได้ดีทางภาคเหนือของประเทศไทย แต่ที่ ยังไม่ได้นาออกมาเผยแพร่ ให้เพาะเลี้ยงกันเป็นปกติ เห็ดชนิดนี้ใช้ไม้จาพวกเนื้อแข็งเป็นวัตถุมาเพาะเลี้ยง แต่ถ้าเรานาไม้ ดังกล่าวที่มีขายทางภาคเหนือมาเพาะเห็ด ชนิดนี้หมด จะเป็นการทาลายป่าของเราอย่างน่าเสียดาย เห็ดลม หรือเห็ดกระด้าง เป็นเห็ดขอนชนิดหนึ่งที่รับประทานได้ เห็ดลมมีจาหน่ายมาก ปลายฤดูฝนและฤดูหนาวทาง ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ผู้ขายเก็บมาจากขอนไม้ในป่า เห็ดลมจัดว่า เป็นเห็ดเนื้อแห้งและ เหนียวคล้ายหนัง ชาวบ้านจะเก็บเห็ดชนิดนี้ร้อยเป็นพวงขาย หรือขายปนกับผักที่ใช้ประกอบแกงแคที่มีชื่อเสียงทาง ภาคเหนือ ลักษณะดอกเห็ดขึ้นเป็นเห็ดดอกเดียว มีโคนก้าน<wbrเล็กปลายบานออกคล้าย รูปกรวย
  • 5. เห็ดข้าวตอก เป็นเห็ดรับประทานได้ ผู้เขียนติดใจในรสหวานของเห็ดชนิดนี้ ผู้เขียนยังนึกต่อไปว่าน่าจะเรียก เห็ดดอก พุทธชาด หรือเห็ดดอกมะลิ ดูจะใกล้เคียงกว่า ชื่อเห็ดข้าวตอก แต่อย่างไรก็ตาม ชื่อที่เรียกก็คงมีความหมายเช่นกัน เพราะ เห็ดชนิดนี้ขึ้นขาวเป็นกลุ่มใหญ่ มองดูคล้ายกับโปรยข้าวตอกดอกไม้ หมวกเห็ดมีสีบริสุทธิ์ เวลากางออกเต็มที่ ร่มหมวก เกือบจะแบนราบเป็นเส้นตรง ยกเว้นที่ยอดมีตุ่มแหลมเล็กน้อย เห็ดไข่ห่านเหลือง เป็นเห็ดป่าชนิดหนึ่งรับประทานได้ มีชุกชุมมากทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเรียกเห็ด นี้ว่าเห็ดระโงกเหลืองเห็ดนี้เกิดบนพื้นดินในป่าที่มีใบไม้ผุเปื่อยทับถม เห็ดไข่ห่านเหลืองเป็นป่าชนิดหนึ่งรับประทานได้ มี ชุกชุมมาก ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเรียกเห็ดนี้ว่า เห็ดระโงกเหลืองเห็ดนี้เกิดบนพื้นดิน ในป่าที่มี ใบไม้ผุเปื่อยทับถมอยู่ เห็ดชานหมาก (วงแหวน ๒ ชั้น) เป็นเห็ดชนิดหนึ่ง ชอบขึ้นบนสนามหญ้า และตามกองมูลสัตว์ ในต่างประเทศเรียกเห็ด ชนิดนี้ว่า Horse mushroom บางครั้งเราอาจพบเห็ดนี้ ตามต้นไม้เห็ดชานหมากชอบ ขึ้นเดี่ยวอิสระแต่ขึ้นอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม หรือกระจายทั่วไปบนสนามหญ้าในฤูดฝน จัดว่าเป็นเห็ดที่ใช้รับประทานได้และมีรสดี มีผู้เก็บไปรับประทานกันเสมอ เห็ด ชนิดนี้มีหมวกเห็ดสีขาว ผิวด้านนอกเรียบแต่บางที่มีเกล็ดละเอียดปกคลุมอยู่
  • 6. เห็ดบัว เป็นเห็ดฟางชนิดหนึ่งที่ขึ้นง่าย และเรารู้จักกันดี มีจาหน่ายในท้องตลาดทั้งปี แต่ก่อนเห็ดชนิดนี้มีขึ้นตามธรรมชาติ ตามกองฟางข้าว จึงมีชื่อเรียกว่า เห็ดฟาง ต่อมามี การส่งเสริมให้เพาะปลูกเห็ดชนิดนี้ขึ้น จนเป็นอุตสาหกรรมทั่วประเทศ โดยมีวัตถุดิบที่ใช้เพาะเลี้ยง คือ มูลม้าเปลือกบัวและ ฟางข้าว หรือในมูลม้า และ เปลือกบัวที่หมักให้ผุเปื่อยแล้ว จึงมีชื่อเรียก เห็ดชนิดนี้อีกชื่อหนี่งว่า เห็ดบัว เห็ดชานหมาก (วงแหวน 1 ชั้น) เป็นเห็ดที่ขึ้นตามป่า แต่ก็ไม่เสมอไป เคยพบเห็ดชนิดนี้ขึ้นบนสนามหญ้าในกรุงเทพฯ มา ครั้งหนึ่ง ในต่างประเทศเรียกเห็ดชนิดนี้ว่า wood mushroom ขึ้นอยู่บนพื้นดินในป่า เห็ดชานหมากขาวขึ้นในฤดูฝน และ ชอบขึ้นเป็นดอกเดี่ยวๆ แต่อยู่เป็นกลุ่ม จัดว่าเป็นเห็ดรับประทานได้ชนิดหนึ่ง และมีรสอร่อยด้วย เห็ดหน้าวัว เป็นเห็ดรับประทานได้ ที่กล่าวกันว่าอร่อยมากเหมือนเห็ดหล่ม แต่จัดเป็น เห็ดในสกุลเดียวกัน เห็ดชนิดนี้ ขึ้น ตามป่าไม้ผลัดใบ พบทางภาคเหนือของประเทศไทย แต่ไม่ชุกชุมเหมือนเห็ดหล่มหรือเห็ดตะไคล เราจะพบเห็ดชนิดนี้ขาย ปะปน รวมอยู่กับเห็ดอื่นๆ แต่เพียง ๓-๔ ดอกอาจเป็นเพราะ ผู้เก็บเห็ดมาขายบางคน ไม่กล้าเพาะกลัวจะเป็นพิษ หรืออาจ เป็นเพราะเห็ดชนิดนี้ มีขึ้นไม่มากนัก
  • 7. เห็ดกระโดง เป็นเห็ดรับประทานได้ชนิดหนึ่ง ซึ่งออกดอกในฤดูฝนมีมาก ทางภาคเหนือ เนื่องจากเห็ดชนิดนี้มีก้านยาว จีงมี ชื่อว่าเห็ดกระโดง ในต่างประเทศเรียกเห็ดนี้ว่า Parasol mushroom หรือ tall mushroom ลักษณะดอกเห็ดดูน่ากลัวจึง มีผู้ที่ เกรงกลัวไม่กล้าซื้อไปรับประทาน จัดว่าเป็นเห็ดสดชนิดหนึ่ง ที่มา:จากหนังสือ เห็ดเมืองไทย อนงค์ จันทร์ศรีกุล วท.บ.(จุฬา) , M.S (วิสคอมซิน),สาขาโรคพืช กองวิจัยโรคพืช กรมวิชาการเกษตร 2 เห็ด จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
  • 8. เห็ด เป็น[ฟังไจ]ชั้นสูงที่มีขนาดใหญ่ มนุษย์รู้จักเห็ดและการนาเห็ดมาประกอบอาหารรับประทานมาเป็นเวลานานแล้ว ประมาณ 130 ล้านปี เห็ดนอกจากจะนามาเป็นอาหารแล้ว เห็ดยังมีผลต่อสภาพแวดล้อมของโลกโดยการย่อยสลายซากพืช มูลสัตว์ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เป็นการลดปริมาณของเสียบน พื้นโลกอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้เนื่องจากเห็ด มา เอ็นไซม์ (Enzme) หลายชนิดที่ย่อยสลายวัสดุ มีโครงสร้างของอาหารที่ซับซ้อนให้อยู่ในรูปของ สารอาหารที่สามารถดูด ซึมไปใช้ได้ เช่น เห็ดหอม เห็ดสกุลนางรม เห็ดกระดุม นอกจากนี้ยังมีเห็ดที่ต้องอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ หรือ อาศัย อาหารจากรากพืชอีกหลายชนิดในธรรมชาติ โดยมีทั้งเห็ดที่รับประทานได้และเห็ดพิษ ความหมายของเห็ด เห็ดมีความหมายหลายอย่างขึ้นอยู่กับการใช้ประโยชน์ ถ้าใช้เป็นมอาหารเห็ดจะอยู่ในกลุ่มพืชผัก เห็ดเป็นพวกที่มี สารอาหารโปรตีนสูง อุดมด้วยวิตามินและเกลือแร่ที่สาคัญหลายชนิด โดยเฉพาะวิตามิน B 1, B2 และมีแคลอรี่ต่า เห็ดถูกจัดเป็นพืชชั้นต่ากลุ่มหนึ่ง เนื่องจากเห็ดไม่มี คลอโรฟิล สังเคราะห์แสง ไม่ได้ ปรุงอาหารไม่ได้ ต้องอาศัยอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดยการเป็น ปรสิต (Parasite) หรือขึ้นบนรากพืชที่ตายแล้ว (Saprophyte) หรืออาศัยอาหารจากรากพืชอื่นๆ (Mycorrhiza) โดยทั่วไปเห็ดเป็นชื่อใช้เรียกราชั้นสูงกลุ่มหนึ่ง ซึ่งมี วิวัฒนาการสูง สูงกว่าราอื่นๆมีวงจรชีวิตที่สลับซับซ้อนกว่าเชื้อราทั่วไป เริ่มจาก สปอร์ ซึ่งเป็นอวัยวะหรือส่วนที่สร้างเซล ขยายพันธุ์ เพื่อตกไปในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจะงอกเป็นใยและกลุ่ม ใยรา (Mycelium) เจริญพัฒนาเป็นกลุ่มก้อนเกิด เป็นดอกเห็ดอยู่เหนือพื้นดินบนต้นไม้ ขอนไม้ ซากพืช มูลสัตว์ ฯลฯ เมื่อดอกเห็ดเจริญจะสร้างสปอร์ซึ่งจะปลิวไปงอกเป็นใยรา และเป็นดอกเห็ดได้อีก หมุนเวียนเช่นนี้เรื่อยไป ชนิด เห็ดมีอยู่หลายชนิด โดยเห็ดที่รู้จักกันทั่วไป ที่สามารถนามารับประทานได้และใช้เป็นสมุไพร เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดโคน เห็ดหอม เห็ดเผาะ เห็ดฟาง เห็ดลม เห็ดหูหนู เห็ดหลินจือ ส่วนต่างๆของเห็ด 1.หมวก (Cap or pilleus) เป็นส่วนที่อยู่ด้านบนสุด มีรูปร่างต่าง ๆ กันเช่น โค้งนูน รูปกรวยรูปปากแตร รูประฆัง ผิวบนหมวกต่างกัน เช่น ผิว เรียบ ขรุขระ มีขนเกล็ด มีสีแตกต่างกันและอาจมีการเปลี่ยนแป ลงได้ 2.ครีบ (Gill or lamelta) อาจเป็นแผ่นหรือซี่บาง ๆอยู่ใต้หมวกเรียงเป็นรัศมี หรือเป็นรู (Pores) ครีบเป็นที่เกิดของสปอร์ 3.ก้าน (Dtalk or stipe) ปลายข้างหนึ่งของก้านยึดติดกับดอก หรือหมวกเห็ด มีขนาด รูปร่าง สี ต่างกันในแต่ละชนิด บางชนิดไม่มีก้าน เช่น เห็ดหูหนู เห็ดเผาะ 4.วงแหวน (Ring or annulus) เป็นส่วนที่เกิดจากเยื่อบาง ๆ ที่ยึดขอบหมวก กับก้านดอกที่ขาดออกจากหมวกเห็ดบาน
  • 9. 5.เปลือกหรือเยื่อหุ้มดอก (Vova outer veil) เป็นส่วนนอกสุดที่หุ้มหมวก และก้านไว้ภายในขณะที่ยังเป็นดอกอ่อน จะแตกออกเมื่อดอกเริ่มบาน ส่วนของเปลือก หุ้มจะยังอยู่ที่โคน 6.เนื้อ (Context) เนื้อภายในหมวกหรือก้านอาจจะสั้น เหนียวนุ่ม เปราะ เป็นเส้นใย คุณสมบัติของเห็ด 1.เห็ดที่รับประทานได้ (Edible mushroom) เห็ดที่รับประทานได้มักมีรสและกลิ่นหอม เนื้ออ่อนนุ่มหรือกรอบ เช่น เห็ดหูหนู เห็ดฟาง เห็ดนางรม เห็ดภูฏาน เห็ดโคน เห็ดตับเต่า บางชนิดเพาะเลี้ยงได้ บางชนิดเพาะเลี้ยงไม่ได้ 2.เห็ดมีพิษ (Poisonous mushroom) เห็ดมีพิษมีหลายชนิด บางชนิดมีพิษร้ายแรงถึงตาย เช่น เห็ดระโงกหิน บางชนิดมีพิษทาให้เกิดอาการอาเจียนมึนเมา เช่น เห็ดร่างแห เห็ดปลอกหาน เห็ดหัวกรวดครีบเขียวอ่อน เห็ดขี้ควาย เป็นต้น การจาแนกเห็ดพิษเป็นไปได้ยาก เนื่องจากเห็ดในสกุลเดียวกัน บางชนิดรับประทานได้ บางชนิดเป็นพิษถึงตาย เช่น เห็ดใน สกุล อะมานิตา (Amanita) และเห็ดรับประทานเห็ดที่รู้จักเท่านั้น เนื่องจากความเป็นพิษของเห็ดบางชนิดรุนแรงถึงตาย บาง ชนิดทาให้เกิดอาการอาเจียน หรือท้องร่วง พิษของเห็ดจะเข้าไปทาลายระบบประสาท ตับไตและประสาทตา คุณค่าทางโภชนาการของเห็ด 1.มีโปรตีนสูงกว่าพืชผักชนิดอื่นๆ ยกเว้น ถั่วเหลือง ถั่วลันเตา 2.มีไขมันที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย (Unsaturated fatty acid) 3.มีกรดอมิโนที่จาเป็นต่อร่างกาย 4.มีแคลอรี่ต่า 5.มีวิตามินหลายชนิดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิตามิน บี 1 บี 2 วิตามิน ซี 6.มีส่วนประกอบของเยื่อใย(Fiber) และคาร์โบไฮเดรต 7.มีแร่ธาตุที่สาคัญหลายชนิด การบริโภค
  • 10. การบริโภคเห็ด ในจีนและญี่ปุ่น นิยมนามาทาน้าแกง น้าชา ยาบารุงร่างกาย ทางฝั่งยุโรปนาไปปรุงเป็นซุป ในประเทศไทยมี การนามาผสมในแกงต่าง ๆ รวมถึงต้มยา และบางชนิดก็นามาต้มจิ้มน้าพริกอีกด้วย มีการจาหน่ายเห็ดเพื่อการบริโภค จึงมี ธุรกิจทาฟาร์มเห็ด หรือการเพาะเห็ดเพื่อจาหน่ายเห็ดสด รวมทั้งแปรรูปเห็ด เช่น ปลาประป๋อง อาหารแมว 3 เห็ดน่ารู้ เห็ดนางฟ้าภูฏาน เห็ดนางฟ้าภูฏาน เป็นเห็ดนางรมชนิดหนึ่งมีการนาเชื้อเห็ดมาจากราชอาณาจักรภูฏาน และมีการเพาะเลี้ยง ทั่วประเทศยกเว้นฤดูหนาวทางภาคเหนือที่เห็ดไม่ออกดอก ลักษณะทั่วไป เห็ดนางฟ้าภูฏานเกิดเป็นกลุ่ม มีโคนเชื่อมติดกันกลุ่มละ 3 – 10 ดอก หมวกเห็ด รูปใบพาย หรือรูปพัด ผิวสีน้าตาลอ่อนอมเทาหรือม่วงอ่อน ผิวเรียบ เนื้อหมวกสีขาว ด้านล่างมีครีบแคบและเรียวยาวลงไปจด ก้านดอก ครีบสีขาว ก้านดอกอยู่ไม่กึ่งกลางดอกมักค่อนไปด้านใดด้านหนึ่ง ยาว 1 – 4 เซนติเมตร สีขาว โคนเรียว เล็ก ผิวเรียบแต่เป็นสันนูนและร่องเตี้ย ๆ ยาวตลอดก้านดอก เนื้อในก้านดอกสีขาวฟูนิ่ม สปอร์ สีขาว ผิวเรียบ ผนังบาง ขนาด 7-10 x 3-4 ไมโครเมตร ( อนงค์ จันทร์ศรีกุล.2542 : 23 ) แหล่งที่พบ เห็ดนางฟ้าเป็นเห็ดที่เกิดขึ้นจากการเพาะเลี้ยง จากการสารวจพบว่าอาเภอเนินสง่า มีเกษตรกรที่ เพาะเห็ดนางฟ้าเป็นอาชีพอยู่ 1 ราย ที่ตาบลหนองฉิม มีก้อนเห็ดประมาณ 3,000 ก้อน และมีการเพาะเลี้ยงที่โรงเพาะ เห็ดโรงเรียนเนินสง่าวิทยา ปัจจุบันนักเรียนสามารถเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเห็ดนางฟ้าเพื่อขยายพันธุ์ได้ แล้วนามา เพาะเลี้ยงกับขี้เลื่อยไม้ยางพาราหรือฟางข้าวก็ได้ ในอดีตเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม ชาวบ้านเพาะเลี้ยงโดยใช้ท่อนไม้ เนื้ออ่อน แต่ปัจจุบันไม้หายากได้ใช้ขี้เลื่อยไม้ยางพาราแทน ฤดูที่พบ เห็ดนางฟ้าเป็นเห็ดเมืองร้อนสามารถเพาะเลี้ยงได้ตลอดปี ยกเว้นฤดูหนาวถ้าอากาศหนาวมากเห็ด จะไม่ออกดอก ประโยชน์ เห็ดนางฟ้าเป็นเห็ดที่มีผู้นิยมนามาบริโภคเนื่องจาก มีรสชาติดี ขนาดดอกใหญ่ ราคาไม่แพง เพาะเลี้ยงง่าย ตามธรรมชาติจะช่วยย่อยสลายกิ่งไม้ท่อนไม้ ทาให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของดิน เห็ดนางฟ้ามีรูปร่างลักษณะคล้ายคลึงกับเห็ดนางรม เห็ดทั้งสองชนิดนี้จัดอยู่ในวงศ์ (family) เดียวกัน ชื่อ "เห็ดนางฟ้า" เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นในเมืองไทย คนไทยบางคนเรียกว่าเห็ดแขก เนื่องจากมีผู้พบเห็นเห็ดนี้ครั้งแรกที่ ประเทศอินเดีย พบขึ้นตามธรรมชาติบนตอไม้เนื้ออ่อนที่กาลังผุ ในแถบเมืองแจมมู (Jammu) บริเวณเชิงเขาหิมาลัย ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Pleurotus sajor-caju (Fr.) Singer เห็ด นางฟ้าถูกนาไปเลี้ยงในอาหารวุ้นเป็นครั้งแรกโดย Jandaik ในปี ค.ศ. 1947 ต่อมา Rangaswami และ Nadu แห่ง Agricultural University, Coimbattore ในอินเดียเป็นผู้นาเชื้อบริสุทธิ์ของเห็ดนางฟ้าเข้ามาฝากไว้ที่ American Type Culture Collection (ATCC) ในอเมริกาเมื่อปี ค.ศ. 1975 ได้ทราบว่าประมาณปี ค.ศ. 1977 ทางกอง วิจัยโรคพืช กรมวิชาการเกษตร เป็นผู้นาเชื้อจาก ATCC เข้ามาประเทศไทยเพื่อทดลองเพาะดู ปรากฏว่าสามารถ
  • 11. เจริญได้ดี อีก สายพันธุ์หนึ่ง เป็นเห็ดที่มีผู้นาเข้ามาจากประเทศภูฐาน มาเผยแพร่แก่นักเพาะเห็ดไทย ได้มีการเรียกชื่อ เห็ดนี้ว่า เห็ดนางฟ้าภูฐาน มีหลายสายพันธุ์ซึ่งชอบอุณหภูมิที่แตกต่างกัน บางพันธุ์ออกได้ดีในฤดูร้อน บ้างพันธุ์ ออกได้ดีในฤดูหนาว เป็นที่นิยมมาเพาะเป็นการค้ากันมาก ลักษณะ ของดอกเห็ดนางฟ้า มีลักษณะคล้ายกับดอกเห็ดเป๋าฮื้อ และดอกเห็ดนางรม เมื่อเปรียบเทียบกับเห็ด เป๋าฮื้อ ดอกเห็ดนางฟ้าสีจะอ่อนกว่า และมีครีบอยู่ชิดกันมากกว่า เห็นนางฟ้าสามารถเก็บไว้ในตู้เย็นนานได้หลายวัน เช่นเดียวกับเห็ดเป๋าฮื้อ เนื่องจากเห็ดชนิดนี้ไม่มีการย่อตัวเหมือนกับเห็ดนางรม ด้านบนของดอกจะมีสีนวลๆ ถึงสี น้าตาลอ่อน ในอินเดียดอกเห็ดมีขนาดตั้งแต่ 5 - 14 เซ็นติเมตร และจะมีน้าหนักอยู่ระหว่าง 30 - 120 กรัม เห็ด นางฟ้ามีรสอร่อย เวลานาไปปรุงอาหารจะมีกลิ่นชวนรับประทาน เห็ดชนิดนี้สามารถนาไปตากแห้ง เก็บไว้เป็น อาหารได้ เมื่อจะนาเห็ดมาปรุงอาหาร ก็นาไปแช่น้าเห็ดจะคืนรูปเดิมได้
  • 12. เห็ดนางรมฮังการี "เห็ด นางรม" (Oyster Mushroom ) เป็นเห็ดที่มีถิ่นกาเนิดอยู่ทางถิ่นประเทศแถบยุโรป เห็ดพวกนี้ เจริญเติบโต ได้ดีในพวกไม้โอ๊ค (oak) ไม้เมเปิ้ล (maple) ไม้พืช (peach) ฯลฯ และสามารถเจริญเติบโตได้ทั่วไปใน เขตอบอุ่น ต่อมาได้มีการนาเข้ามาทดลองเพาะเลี้ยงในประเทศไทย พบว่า เห็ดชนิดนี้สามารถปรับตัวและ เจริญเติบโตได้ดีในประเทศไทย จึงได้มีการเผยแพร่วิธีการเพาะเห็ดชนิดนี้จนเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป เห็ด นางรมจัดเป็นเห็ดที่ประชาชนนิยมรับประทานกันมาก ทั้งนี้เนื่องจากเห็ดนางรมมีลักษณะคล้ายเห็ดมะม่วง หรือเห็ด ขอนขาวที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติบนตอไม้ที่ผุพัง ประกอบกับเห็ดนางรมเป็นเห็ดที่มีสีขาวสะอาดมีคุณค่าทางอาหาร สูงและมีรสชาติ หอมหวาน นอกจากนี้เนื้อของเห็ดนางรมยังไม่เหนียวมากเหมือนเห็ดมะม่วงหรือเห็ดขอนขาว ที่ สาคัญคือ "เห็ดนางรม" มีสารบางอย่างที่มีสรรพคุณเป็นยารักษาโรคไม่แพ้เห็ดชนิดอื่นๆ จึงทาให้ประชาชนรู้จักเห็ด ชนิดนี้เป็นอย่างดี เห็ด นางรม หรือOyster mushroom จัดได้ว่าเป็นเห็ดชนิดหนึ่งที่มีคุณค่าทางอาหารสูงโดยเฉพาะ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ไม่แพ้เห็ดชนิดอื่นๆ นอกจากนี้เห็ดนางรมยังให้ปริมาณแร่ธาตุหลายชนิด เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส โปแตสเซี่ยม และยังให้พลังงานค่อนข้างสูง เห็ดนางรม มีวิตามินบี 1 วิตามินบี 2 สูงกว่าเห็ดชนิดอื่นๆ และยังมีกรดโฟลิคสูงกว่าพืชผักและเนื้อสัตว์กรด พวกนี้ช่วยป้องกันรักษาโรคโลหิตจางได้ จึงเหมาะสาหรับผู้ป่วย ที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และยังเหมาะต่อผู้ที่ต้องการลดน้าหนักเพราะเห็ดมีปริมาณของไขมันน้อย และมี ปริมาณโซเดียมต่า จึงเหมาะที่จะใช้เป็นอาหารสาหรับผู้ที่เป็นโรคหัวใจและโรคไตอักเสบ ประกอบกับเห็ด นางรมที่เพาะง่าย สามารถเจริญเติบโตได้ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย จึงได้มีการเพาะเห็ดนี้กันอย่างแพร่หลาย
  • 13. คุณค่าทางโภชนาการ คุณค่าอาหาร เห็ดนางรม 100 กรัม ให้พลังงาน 30 กิโลแคลอรี่ ประกอบด้วย โปรตีน 2.1 กรัม ไขมัน 0.3 กรัม คาร์โบไฮเดรต 4.8 กรัม แคลเซียม 4 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 61 มิลลิกรัม เหล็ก 0.3 มิลลิกรัม ไนอะซิน 2.7 มิลลิกรัม วิตามินซี 21 มิลลิกรัม วิธีการเพาะ 1. ผสมวัสดุเพาะทั้งหมดเข้าด้วยกัน และทดสอบความชื้นให้พอเหมาะโดยจะมีความชื้นประมาณ 75 - 80% 2. บรรจุวัสดุเพาะลงในถุง ถ้าเป็นวัสดุเพาะเป็นขี้เลื่อยใช้ถุงขนาด 6.5x12.5 นิ้ว หนัก 800 - 1,000 กรัม ถ้าวัสดุเพาะเป็นฟางหมักควรใช้ถุงขนาด 7x13 นิ้ว แล้วอัดวัสดุให้แน่น แต่ละถุงจะมีน้าหนักประมาณ ถ้าเป็น ฟางหมัก 6-8 ขีด ถ้าเป็นขี้เลื่อยประมาณ 600 - 800 กรัม เสร็จแล้วใส่คอขวดรัดด้วยยางรัดปิดด้วยจุกสาลี 3. นาถุงก้อนเห็ดที่บรรจุแล้วไปนึ่งฆ่าเชื้อ โดยใช้หม้อนึ่ง 2 แบบ คือ 3.1 หม้อนึ่งฆ่าเชื้อแบบลูกทุ่ง หรือหม้อนึ่งไม่อัดความดัน โดยใช้ถัง 200 ลิตร บรรจุครั้งละ 100 ถุง นึ่ง
  • 14. นาน 1.5-2 ชั่วโมง หรือหม้อนึ่งที่ประกอบด้วยเหล็กแผ่นเป็นรูปสี่เหลี่ยมบรรจุถุงได้ตั้งแต่ 500-5,000 ถุง โดย ใช้ระยะเวลาในการนึ่งประมาณ 4-10 ชั่วโมง 3.2 การนึ่งแบบมีความดัน จะเป็นถังที่สามารถทนความร้อนสูงได้ 121 องศาเซลเซียส และมีความดัน ประมาณ 15 - 18 ปอนด์/ตารางนิ้ว ใช้เวลาในการนึ่งประมาณ 2 - 3 ชั่วโมง การปลูกเชื้อเห็ดลงถุง เปิดจุกสาลีออกแล้วใช้ เชื้อเห็ดในเมล็ดธัญพืชหยอดลงไปประมาณ 20 เมล็ด แล้วปิดด้วยกระดาษ นาไปบ่มให้เส้นใยเห็ดเดินต่อไป ระยะเวลาการบ่มเส้นใย เห็ดนางรมและนางฟ้าภูฐาน จะใช้เวลาประมาณ 25-30 วัน ส่วนเห็ดนางฟ้าและเห็ดเป๋าฮื้อ จะใช้เวลา ประมาณ 45 - 50 วัน การเปิดดอก เมื่อเส้นใยเห็ดเดินเต็ม ถุงหรือใช้เวลาในการบ่มได้ที่แล้ว นาถุงก้อนเชื้อเห็ดเข้าในโรงเรือนเปิดดอก และดึงกระดาษที่ปิดหน้าถุงออก เพิ่มความชื้นภายในโรงเรือนให้ได้ ประมาณ 80 - 85% โดยการฉีดพ่นน้า เป็นละอองฝอย วันละ 2 - 3 ครั้ง จากนั้นประมาณ 7 - 10 วัน ดอกเห็ดก็จะเริ่มออกและเก็บได้ ก่อนเก็บ ผลผลิต ควรงดการให้น้าเพราะเห็ดจะเปียกชื้นไม่เป็นที่ต้องการของตลาด การเก็บเกี่ยว ทาการดึงดอกเห็ดที่ออกจากหน้าถุงเมื่อโตเต็มที่อยู่ในระยะที่ ยังไม่บาน สังเกตจากขอบดอกเห็ดยังงุ้ม อยู่ โดยดึงดอกเห็ดให้หลุดออกจากถุงทั้งกลุ่มไม่ให้เหลือโคนติดที่ถุง เพราะจะทาให้หน้าถุงเน่าทาให้มีเชื้อรา อื่นหรือมีแมลงหวี่เข้าทาลาย ประโยชน์ของเห็ดนานาชนิด ชฎาพร นุชจังหรีด ภาควิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ เห็ด เป็นแหล่งอาหารโปรตีนจากธรรมชาติ ที่มีวิวัฒนาการมาจากการประสานเส้นใยจานวนมากของเชื้อรา ชั้นสูง และถึงแม้เห็ดจะขาดกรดอะมิโนบางตัวไปบ้าง แต่ในเรื่องของรสชาติและเนื้อสัมผัสนั้น รับรองว่าเห็ดไม่ เป็นรองใครในยุทธจักรอาหารอย่างแน่นอน ที่สาคัญเห็ดยังให้คุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณทางยา ซึ่งมี คุณสมบัติที่ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันในร่างกาย และช่วยลดอัตราความเสี่ยงจากโรคร้ายต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง เบาหวาน อัลไซเมอร์ หลอดเลือดหัวใจอุดตัน และความดันโลหิตสูง เป็นต้น เห็ดจัดเป็นอาหารประเภทผักที่ปราศจากไขมัน มีปริมาณน้าตาลและเกลือค่อนข้างต่า และยังเป็นแหล่ง โปรตีนที่ดี เมื่อเทียบกับผักอีกหลายชนิด อีกทั้งยังมีรสชาติและกลิ่นที่ชวนรับประทาน ซึ่งรสชาติที่โดดเด่นนี้ มา จากการที่เห็ดมีกรดอะมิโนกลูตามิคเป็นองค์ประกอบ โดยกรดอะมิโนตัวนี้จะทาหน้าที่ช่วยกระตุ้นประสาทการ รับรู้รสอาหารของลิ้นให้ ไวกว่าปกติ และทาให้มีรสชาติคล้ายกับเนื้อสัตว์ นอกจากนี้เห็ดยังอุดมไปด้วยวิตามิน โดยเฉพาะวิตามินบีรวม (ไรโบฟลาวิน) และไนอาซิน ซึ่งจะช่วยควบคุมการทางานของระบบย่อยอาหาร ในส่วน ของเกลือแร่ เห็ดจัดเป็นแหล่งเกลือแร่ที่สาคัญ โดยมีเกลือแร่ต่างๆ เช่น ซิลิเนียม ทาหน้าที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ ลด
  • 15. ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน โปแตสเซียม ทาหน้าที่ควบคุมจังหวะการเต้นของ หัวใจ สมดุลของน้าในร่างกาย การทางานของกล้ามเนื้อและระบบประสาทต่างๆ ลดการเกิดโรคความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ และอัมพาต ส่วนทองแดง ทาหน้าที่ช่วยเสริมสร้างการทางานของธาตุเหล็ก และที่สาคัญ เห็ดมี องค์ประกอบของพฤกษเคมีที่ชื่อว่า “โพลีแซคคาไรด์”(Polysaccharide) จะทางานร่วมกับแมคโครฟากจ์ (macrophage) ซึ่งเป็นเซลล์คุ้มกันขนาดใหญ่ที่ออกจากหลอดเลือดเข้าสู่เนื้อเยื่อและจะไป จับกับโพลีแซคคาไรด์ที่ บริเวณกระเพาะอาหาร และนาไปส่งยังเซลล์คุ้มกันตัวอื่นๆ โดยจะช่วยกระตุ้นวงจรการทางานของระบบภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย เสริมและช่วยเพิ่มปริมาณและประสิทธิภาพของเซลล์คุ้มกันธรรมชาติ ให้ทาหน้าที่ทาลายเซลล์ แปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย รวมถึงพวกไวรัสและแบคทีเรียอื่นๆ ด้วย เห็ดที่มีปริมาณสารโพลีแซคคาไรด์สูง คือ เห็ดหอมหรือเห็ดชิตาเกะ เห็ดนางรม เห็ดหูช้าง และเห็ดกระดุม เป็นต้น และเห็ดอื่นๆ ที่นิยมนามารับประทาน ได้แก่ เห็ดหลินจือ เห็ดฟาง เห็ดหูหนู เห็ดกระดุมหรือแชมปิญอง เห็ดโคน และเห็ดเข็มทอง เป็นต้น นอกจากนี้ยัง สามารถใช้เห็ดเป็นยาได้อีกด้วย ซึ่งสรรพคุณทางยาของเห็ดมีมากมาย เช่น ช่วยควบคุมการทางานของอวัยวะสาคัญ ต่างๆ เช่น สมอง หัวใจ ปอด ตับ และระบบไหลเวียนของโลหิต เนื่องจากชาวจีนจัดเห็ดเป็นยาเย็น เพราะมี สรรพคุณช่วยลดไข้ เพิ่มพลังชีวิต ดับร้อนใน แก้ช้าใน บารุงร่างกาย ลดระดับน้าตาล และคอเลสเตอรอลในหลอด เลือด ลดความดัน ขับปัสสาวะ ช่วยให้หายหงุดหงิด บารุงเซลล์ประสาท รักษาอาการอัลไซเมอร์ และที่สาคัญ คือ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ประโยชน์ทางการแพทย์ของเห็ดชนิดต่างๆ มีดังนี้ 1. เห็ดหอม หรือเห็ดชิตาเกะเป็นยาอายุวัฒนะ เพราะช่วยลดไขมันในเส้นเลือด อีกทั้งยังเพิ่มภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ ไวรัสและมะเร็งด้วย และมีกรดอะมิโนถึง 21 ชนิด มีวิตามิน บี 1 บี 2 สูง พอๆ กับยีสต์ มีวิตามินดีสูงช่วยบารุง กระดูกและมีปริมาณโซเดียมต่า เหมาะสาหรับผู้ที่เป็นโรคไต นอกจากนี้ยังมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และเหล็ก ซึ่ง ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง ช่วยลดความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร ช่วยบารุงกาลัง บรรเทาอาการ ไข้หวัด ชาวจีนยกให้เห็ดหอมเป็นอาหารต้นตารับ “อมตะ” 2. เห็ดหูหนู เป็นกลุ่มคาร์โบไฮเดรต สามารถเพิ่มความแข็งแรงให้เม็ดเลือดขาวในผู้สูงอายุ ทาให้ภูมิ ต้านทานร่างกายดีขึ้น รวมทั้งช่วยรักษาโรคกระเพาะและริดสีดวง เห็ดหูหนูขาว ช่วยบารุงปอดและไต 3. เห็ดหลินจือ มีสารสาคัญ เบต้ากลูแคน ซึ่งมีคุณสมบัติต้านมะเร็ง คนญี่ปุ่นมักใช้ควบคู่กับการรักษา โรคมะเร็งและโรคผู้สูงอายุ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง และโรคความดันโลหิตสูง 4. เห็ดกระดุมหรือเห็ดแชมปิญอง รูปร่างกลมมน คล้ายกระดุมที่มีขนาดใหญ่ ผิวเนื้อนวล มีให้เลือกทั้งแบบ สดหรือบรรจุกระป๋อง มีบทบาทในการรักษาและป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านมมากที่สุด โดยสารบางอย่างในเห็ดนี้ ไปช่วยยับยั้งเอนไซม์อะโรมาเตส (aromatase) ทาให้เกิดการยับยั้งการเปลี่ยนฮอร์โมนเอนโดรเจนเป็นฮอร์โมน เอสโตรเจนใน ผู้หญิงวัยหมดประจาเดือน เมื่อร่างกายผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนได้น้อยลงก็ลดโอกาสการ เจริญเติบโตของเซลล์ มะเร็งเต้านมให้น้อยลงตามไปด้วย 5. เห็ดนางรม เห็ดนางฟ้า และเห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดสามอย่างนี้อยู่ตระกูลเดียวกัน เจริญเติบโตเป็นช่อๆ คล้ายพัด เห็ดนางรมมีสีขาวอมเทา เห็ดนางฟ้ามีสีขาวอมน้าตาล ขณะที่เห็ดเป๋าฮื้อจะมีสีคล้าและเนื้อเหนียวหนาและนุ่มอร่อย คล้ายเนื้อสัตว์ มากกว่า เชื่อว่าสามารถป้องกันโรคหวัด ช่วยการไหลเวียนเลือด และโรคกระเพาะ 6. เห็ดฟาง เป็นเห็ดยอดนิยมของคนไทย นิยมเพาะกันบนกองฟางข้าวชื้นๆ โคนมีสีขาว ส่วนหมวกสีน้าตาล
  • 16. อมเทา หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด ให้วิตามินซีสูง และมีกรดอะมิโนสาคัญอยู่หลายชนิด หากรับประทานเป็น ประจาจะช่วยเสริมภูมิคุ้มกันการติดเชื้อต่างๆ อีกทั้งยังช่วยลดความดันโลหิตและเร่งการสมานแผล 7. เห็ดหลินจือ นอกจากใช้รับประทานแล้ว ปัจจุบันยังมีการนาไปเป็นส่วนผสมของเครื่องสาอางค์อีกด้วย เพราะมีคุณสมบัติช่วยต้านอนุมูลอิสระ ยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้อร้าย รวมทั้งกระตุ้นภูมิคุ้มกันไวรัส 8. เห็ดเข็มทอง เป็นเห็ดสีขาว หัวเล็กๆ ขึ้นติดกันเป็นแพ รสชาติเหนียวนุ่ม นามารับประทานแบบสดๆ ใส่ กับสลัดผักก็ได้ ถ้าชอบสุกก็นาไปย่าง ผัดหรือลวกแบบสุกี้ ถ้ากินเป็นประจาจะช่วยรักษาโรคตับ กระเพาะ และ ลาไส้อักเสบเรื้อรัง 9. เห็ดโคน ช่วยเจริญอาหาร บารุงกาลัง แก้บิด แก้คลื่นไส้ อาเจียน แก้ไอ ละลายเสมหะ การทดลองทาง เภสัชศาสตร์พบว่าน้าที่สกัดจากเห็ดโคนสามารถยับยั้งเชื้อโรคบาง ชนิด เช่น เชื้อไทฟอยด์ เห็ดนางนวล
  • 17. เห็ดหลินจือ มหัศจรรย์น้าเห็ด 5 อย่าง ว่า กันว่าการที่ "เห็ด" เป็นอาหารมหัศจรรย์นั้น มีสาเหตุมาจากฤดูการเกิดที่ไม่เหมือนกับพืชผักชนิด อื่นๆ เพราะใช้เวลาเพาะเพียงสั้นๆ ในขณะที่จานวนผลิตผลที่ได้นั้นมากมายดาษดื่นเหลือเกิน ถึงเวลางอกงาม แต่ละทีก็ผุดขึ้นราวกับตั้งนาฬิกาปลุกธรรมชาติ พอใกล้เวลาก็มุดหายลงดิน เก็บตัวเงียบรอเวลาอีกครั้ง ปัจจุบัน เห็ดที่เรานิยมรับประทานกันมีอยู่มากมายหลายชนิด มีทั้งแบบสด บรรจุกระป๋อง หรือแม้แต่ เห็ดตากแห้ง ซึ่งความนิยมในการรับประทานมีมากขึ้นเรื่อยๆ ด้วยรูปแบบ และรสชาติเฉพาะตัวที่แตกต่างจาก อาหารประเภทพืชผักด้วยกัน รวมทั้งการที่คนหันมานิยมรับประทานอาหารแบบมังสวิรัติกันมากขึ้น ก็ทาให้ เห็ดถูกนามาใช้ปรุงอาหารแทนเนื้อสัตว์มากขึ้นตามไปด้วย มีงานวิจัยหลายชิ้นที่ยืนยันว่าเห็ดมีคุณสมบัติ ป้องกันโรคได้
  • 18. ตัวอย่าง เช่น ในประเทศจีนและญี่ปุ่น นิยมนาเห็ดมาปรุงเป็นน้าแกง น้าชา ยาบารุงร่างกาย และยา รักษาโรคต่างๆ มีการทาวิจัยเกี่ยวกับเห็ดมากว่า 30 ปียืนยันว่าในเห็ดมีสารบางอย่างที่ช่วยกระตุ้นการทางาน ของระบบภูมิคุ้มกัน และลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ และช่วยในการต้านมะเร็งหลายๆ ชนิดได้ด้วย ด้วย คุณประโยชน์มากมายจาก "เห็ด" ทาให้ สถานีฟาร์มเห็ด พัฒนาการแปรรูปผลผลิตจากเห็ดมาทา เป็นเครื่องดื่มบารุงสุขภาพ โดยเครื่องดื่มดังกล่าวสกัดมาจากเห็ด 5 ชนิด ซึ่งได้แก่ เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้าภูฏาน และเห็ดนางรมฮังการี เห็ดหูหนูดา เห็ดหูหนูขาว และผสมน้าผึ้ง 100 เปอร์เซ็นต์ ที่ช่วยในเรื่องเป็นยา อายุวัฒนะ เมื่อ เห็ดทั้ง 5 รวมตัวกัน สกัดออกมาเป็นเครื่องดื่ม เเน่นอนว่าก่อนหน้านั้นทุกคนเห็นว่าเห็ดเพียงชนิด เดียวก็สามารถให้ประโยชน์ แก่สุขภาพร่างการหลายด้านแล้ว แต่อย่างไรก็ตามเมื่อของดีทั้ง 5 รวมตัวกัน ประโยชน์นานัปประการที่ผู้บริโภคจะได้รับนั้นย่อมเพิ่มขึ้นทวีคูณ เราลองมาวิเคราะห์ถึงประโยชน์แต่ละด้าน ที่จะได้รับจากเห็ดกันเลยดีกว่า นานาสารอาหารจากเห็ด - โปรตีน เมื่อนาเห็ด 5 อย่างมารวมกันประกอบอาหารแล้ว จะได้โปรตีนจากเห็ดที่ร่างกายดูดซึมไปใช้ งานได้ง่ายที่สุด ง่ายกว่าเนื้อสัตว์ โปรตีนจากเห็ดจะไปสร้างกรดอะมิโนที่บารุงสมองปรับสมดุลของการสร้าง เซลล์ใหม่ ในร่างกาย ต้านการเกิดมะเร็ง ขจัดสารพิษ - เห็ดเป็นอาหารที่ปราศจากไขมัน มีปริ มาณน้าตาล และเกลือต่ามาก แถมยังเป็นแหล่งโปรตีน คุณภาพสูงเมื่อเทียบกับโปรตีนที่ได้จากเนื้อสัตว์ มีธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินซี วิตามินบีรวม ซีลีเนียม โปแตสเซียม และทองแดง จึงเป็นอาหารที่มีคุณค่าสูงที่ควรเลือกรับประทานเป็นประจา - ซีลีเนียม เป็นสารอาหารที่ช่วยต้านการเกิดอนุมูลอิสระใกล้เคียงกับวิตามินอี ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงต่อ การเกิดมะเร็งและโรคภัยต่างๆ ที่มากับวัยสูงอายุ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ การรับประทานเห็ดหอม (ชิ้น ขนาดกลางๆ 5 ชิ้น) จะให้ซีลีเนียมประมาณ 1 ใน 3 ของปริมาณที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน นอกจากในเห็ดแล้ว ยังมีอยู่ในธัญพืชและเนื้อสัตว์ด้วย - โปแตสเซียม เป็นสารอาหารที่จาเป็นอย่างยิ่งในการควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ ความสมดุล ของน้าในร่างกาย การทางานของกล้ามเนื้อ และระบบประสาทต่างๆ ทาง FDA ของสหรัฐอเมริการะบุไว้ว่า การรับประทานอาหารที่เป็นแหล่งของโปแตสเซียมจะ ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดความดันเลือดสูง และอัม พฤกษ์ อัมพาต ซึ่งในเห็ดนั้นมีโปแตสเซียมสูง และโซเดียมต่า การรับประทานอาหารที่ปรุงจากเห็ดกระดุม หรือเห็ดแชมปิญอง 1 จานจะให้โปแตสเซียมได้พอๆ กับส้มหรือมะเขือเทศลูกโตๆ เลยทีเดียว - วิตามินบีรวม ในเห็ดขึ้นชื่อว่าเป็นอาหารที่อุดมด้วยวิตามินบีรวม ไม่ว่าจะเป็น ไรโบฟลาวิน (ที่ นอกจากจะได้จากเห็ดแล้ว ยังมีมากในเครื่องในสัตว์ นม ไข่ และเต้าหู้) ช่วยบารุงสุขภาพผิวพรรณและการ มองเห็น ขณะที่ไนอาซิน (ยังพบมากในปลาทูน่า เนื้อแดง ถั่วลิสง และอะโวคาโด) จะช่วยควบคุมการทางาน ของระบบย่อยอาหาร และระบบประสาท สถาบันอาหารแห่งสหรัฐอเมริกาได้ประมาณไว้ว่า การรับประทาน เห็ดแชมปิญองขนาดกลางๆ 5 ชิ้น จะได้ปริมาณไรโบฟลาวินมากพอๆ กับการดื่มนมสดถึง 8 ออนซ์ - ทองแดง เป็นสารอาหารที่ร่างกายต้องการเช่นเดียวกัน เพื่อมาช่วยเสริมการทางานของ ธาตุเหล็ก
  • 19. ประโยชน์ มากมายดังที่กล่าวมา คงพอเป็นเครื่องการันตีคุณค่าและประโยชน์ของ ผลผลิต จากเห็ด ในสถานีเห็ดของเราได้เป็นอย่างดีใช่ไหมละครับ นับจากนีเป็นต้นไป สถานีเห็ด ขอเป็นเพื่อนดูแลสุขภาพของคุณและคนที่คุณรัก ด้วยการมอบสิ่งดีดี มีประโยชน์ให้แก่คุณตลอดไป แล้วคุณล่ะครับ คิดได้หรือยังว่าจะเลือกรับประทานหรือชอบเห็ดชนิดไหน แต่ที่ส้าคัญ อย่า ลืมเลือกสรรเห็ดปลอดสารพิษจาก "สถานีเห็ด" มาปรุงอาหารอร่อยๆ กันเป็นประจ้าน่ะครับ เพื่อ ประโยชน์ต่อสุขภาพของคุณเองและคนที่คุณรัก