SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
การขยายพันธุพืชคืออะไร
             ์
       การขยายพันธุ์พืชหมายถึง การเพิมปริ มาณต้นพืชจากต้น
                                     ่
แม่เพียงต้นเดียว ให้มีจานวนมากขึ้น โดยต้นพืชที่เกิดขึ้นใหม่
ยังคงมีคุณสมบัติ คุณลักษณะเหมือนต้นเดิม
     การขยายพันธุ์พืชแบ่งออกเป็ น2ลักษณะคือ
การขยายพันธุ์โดยใช้เพศ และการขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เพศ
การขยายพันธุโดยใช้เพศ คืออะไร
                     ์
      คือการนาเมล็ดของพืชไปเพาะหรื อปลูกเพื่อให้เกิดเป็ น
พืชต้นใหม่ หรื อที่เรี ยกว่าการเพาะเมล็ดนันเอง
                                          ่
 1. การเพาะเมล็ด
      การเพาะเมล็ด (Seed) หมายถึง การนาเมล็ดพันธุ์พืชที่
ผ่านการคัดคุณภาพมาแล้ว นามาปลูกไว้ในพื้นที่จากัดที่เตรี ยม
ไว้โดยเฉพาะ เช่น กระบะเฉพาะ แปลงเพาะ หรื อภาชนะต่าง ๆ
มีการดูแลรักษาเอาใจใส่ เป็ นพิเศษ จนกระทังเมล็ดงอกเป็ นต้น
                                         ่
กล้า เหมาะกับพืชพวกข้าว ผักต่างๆยกเว้นผักกาดหัว
วัตถุประสงค์ของการเพาะเมล็ด

1. เพื่อประหยัดหรื อไม่ให้เปลืองเมล็ดพันธุ์
2. เมล็ดพันธุ์พืชบางชนิดมีขนาดเล็กเกินไป ไม่ทนทานต่อโรค
   แมลง และสิ่ งแวดล้อม ต้องดูแลเป็ นพิเศษ
3. ได้จานวนต้นพืชในปริ มาณตามที่ตองการ
                                 ้
4. ได้ตนพืชที่มีอายุและการเจริ ญเติบโตเท่าๆ กัน
       ้
วิธีการเพาะเมล็ดในกระบะเพาะ
        1. ถ้าหากภาชนะเพาะมีช่องหรื อรู
 ขนาดใหญ่อาจจะทาให้ดินเพาะรั่วไหล
 ออกมา ควรใช้วสดุปิดทับ เช่น ใช้เศษ-
                 ั
 กระถางแตกเศษอิฐหักอุดรู ถ้าเป็ นภาชนะที่
 เป็ นกระบะพลาสติกหรื อลังไม้ ควรใช้
 กระดาษหนังสื อพิมพ์ปิดทับกระบะ
        2. นาดินเพาะใส่ ลงในภาชนะให้เกือบเต็ม เกลี่ยผิวดินให้
                                           ่
เรี ยบสม่าเสมอในระดับเดียวกัน ให้ดินเพาะอยูต่ากว่าขอบภาชนะ
ประมาณ 1-2 นิ้ว การเกลี่ยดินให้เรี ยบ
ดินที่ใช้เพาะควรเป็ นดินที่ร่วนซุย
โปร่ ง มีน้ าหนักเบา ระบายน้ าได้ดี มีแร่
ธาตุอาหารพืชบ้างพอสมควร โดยทัวไป     ่
อาจจะใช้ดินร่ วนธรรมดาก็ได้ หรื อ
อาจจะใช้ดินที่มีส่วนผสมของวัสดุต่าง ๆ
ในอัตราส่ วนที่กาหนด เช่น
ทรายหยาบ : ขุยมะพร้าวในอัตรา 1:1
ทรายหยาบ : ถ่านแกลบในอัตรา 1:1
หรื อ ดิน : ปุ๋ ยคอกเก่า : ทรายในอัตรา
2:1:2 ก็ได้
3. นาเมล็ดพันธุ์พืชที่ตองการ
                             ้
ปลูก หว่านหรื อโรยลงบนผิวหน้าดิน
ให้กระจายกัน อย่างทัวถึง โรยทับด้วย
                    ่
ดินเพาะเพียงบาง ๆ พอกลบเมล็ด

       4. ปิ ดทับผิวหน้าดินด้วยฟาง
 แห้งหรื อกระดาษหนังสื อพิมพ์ (เพื่อ
 รักษาความชื้นภายในดินเพาะให้
 สม่าเสมอไม่ให้ระเหยเร็ วเกินไป
 และยังช่วยให้เมล็ดงอกได้เร็ วขึ้น)
การขยายพันธุพืชแบบไม่อาศัยเพศ
                  ์
       หมายถึงการนาส่ วนต่างๆของพืช ไปทาให้เกิดราก เกิดยอด
แล้วเจริ ญเติบโตเป็ นพืชต้นใหม่สามารถให้ผลผลิตต่อไปได้
       การขยายพันธุ์พืชโยไม่ใช้เพศทาได้หลายวิธี เช่น
 การตัดชา การตอนกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา การต่อกิ่ง และ
 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ เป็ นต้น
                      ่
การขยายพันธุพืชโดยการปักชา
                   ์
         การปักชา คือ การตัดส่ วนหนึ่งส่ วนใดของพืช เช่น ใบ กิ่ง
ก้าน ลาต้น หรื อราก ออกจากต้นเดิมไปเก็บไว้ในที่ที่มีสภาพ
สิ่ งแวดล้อมเหมาะสม ส่ วนต่างๆ ของพืชดังกล่าวจะออกรากและ
แตกยอดเจริ ญเติบโตเป็ นต้นพืชต้นใหม่ต่อไป
     ขั้นตอนการปักชา
        1) ตัดกิ่งให้มีความยาวประมาณ
                    ่ ั
6 – 10 นิ้ว (ขึ้นอยูกบชนิดของพืช) ตัดให้
เป็ นแผลทามุมเฉี ยง 450 – 600 ด้านล่างของ
กิ่งต่ากว่าข้อเล็กน้อย
2) การปักชากิง นาส่ วนของโคนกิ่งปั กลงไปในวัตถุปักชา
                        ่
  ให้ลึกประมาณ ของความยาวของกิ่ง โดยให้รอยแผลตัดด้าน
  ปลายของกิ่งเป็ นแนวตั้งตรงเพื่อ
  ป้ องกันไม่ให้น้ าขังบริ เวณรอยแผล
  ซึ่ งจะช่วยลดการเน่าของกิ่งได้ การปั กกิ่ง
  ควรจัดระยะให้ห่างกันพอประมาณอย่า
  ให้ชิด หรื อแน่นเกินไป จะทาให้กิ่งเน่าได้
 การดูแลรักษา
         ในระยะแรกๆ ที่กิ่งยังไม่ออกรากจาเป็ นต้องรักษาความชื้น
ในบริ เวณที่ปักชาให้สูงมากๆ เพื่อลดการสู ญเสี ยน้ าจากการคายน้ า
ของใบให้มากที่สุด โดยการรดน้ าอย่างสม่าเสมอวันละ 2 - 3 ครั้ง
การตอนกิ่ง
       คือ การทาให้ก่ิงหรื อต้นพืชเกิดรากขณะติดอยูกบต้นแม่ จะ
                                                  ่ ั
   ทาให้ได้ตนพืชใหม่ ที่มีลกษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่
               ้             ั
   ทุกประการ โดยมีข้ นตอนการปฏิบติ ดังนี้
                       ั               ั
ข้ อดีของการตอนกิง  ่
        1. คงสภาพลักษณะพันธุ์เดิมทุกประการ
        2. การตอนจะแตกรากในปริ มาณมากกว่าการปั กชา
        3. เมื่อนาไปปลูกอัตราการรอดตายมากกว่าการปั กชา
        4. ทรงพุมเตี้ย สะดวกต่อการเก็บเกี่ยว และการดูแลรักษา
                 ่
        5. ขนาดของกิ่งตอนใหญ่กว่ากิ่งปั กชา ให้ผลผลิตที่เร็ วกว่า
ข้ อเสี ยของการตอนกิง ่
 1. ไม่มีระบบรากแก้ว จึงทาให้กิ่งตอนโค่นล้มได้ง่าย
 2. กิ่งตอนมีขนาดใหญ่ การเคลื่อนย้ายไปปลูกทาได้ลาบาก
 3. จานวนกิ่งพันธุ์ที่ได้ต่อต้นน้อยกว่าการปั กชา
                            ุ่
 4. การตอนกิ่งมีวธีการที่ยงยากกว่าการปั กชา
                   ิ
 5. ต้องใช้แรงงานมากและการดูแลมากยิงขึ้น ่
   เครื่องมือและอุปกรณ์ ในการตอนกิง ่
      1) มีดตอนกิง มีดตอนกิ่งจะต้องมี
                  ่
 ขนาดพอเหมาะเพื่อความสะดวกในการปฏิบติงาน ที่นิยมใช้กน
                                         ั             ั
 มากได้แก่ มีดขยายพันธุ์พืช มีพบ และ คัทเตอร์ เป็ นต้น
                               ั
2) วัสดุทใช้ ในการตอนหรือวัตถุห้ ุมกิง
               ี่                        ่
เพื่อให้กิ่งตอนได้รับความชื้นที่สูงพอเหมาะ
สม่าเสมอตลอดจนป้ องกันแสงสว่าง วัสดุที่
ใช้ในการหุ มกิ่งตอนจะต้องมีคุณสมบัติ อุม
             ้                             ้
ความชื้นได้ดี สะอาด ไม่เป็ นพิษแก่พืช เช่น
ดินร่ วน กาบมะพร้าว ขุยมะพร้าว
3) ฮอร์ โมนหรือสารเคมีทช่วยกระตุ้นการออกรากของกิง กิ่ง
                       ี่                       ่
พืชบางชนิดออกรากได้ยากและใช้เวลานาน การใช้ฮอร์โมน
หรื อสารเคมีบางชนิดทาบริ เวณเหนือรอยแผลหรื อรอยควัน
                                                  ่
จะช่วยกระตุนให้กิ่งออกรากได้เร็ วขึ้น
            ้
ขั้นตอนในการตอนกิง       ่
 1) การเลือกกิงตอน ควรเลือกกิ่งที่มีอายุไม่
                ่
มากหรื อไม่แก่จนเกินไป เพราะจะทาให้ออ
กรากได้เร็ วขึ้น ซึ่ งสังเกตได้โดยกิ่งจะมีสีเขียว
ปนน้ าตาล
2) การทาแผลหรือการควันกิง      ่ ่
      การควันกิ่ง เป็ นวิธีที่นิยมปฏิบติ
            ่                         ั
มากที่สุดและเหมาะสมกับพืชทุกชนิด
โดยเฉพาะพืชที่ออกรากได้ยาก การ
ควันกิ่งแล้วลอกเปลือกออก เป็ นการ
    ่
ตัดท่อลาเลียงอาหารของพืช
3) การใช้ฮอร์โมนหรื อสารเร่ งการออกรากทากิ่ง
ตอน เพื่อกระตุนให้กิ่งออกรากได้เร็ วและมากขึ้น
              ้
ควรจะต้องใช้ฮอร์โมนหรื อสารเร่ งรากทารอบๆ
เหนือบริ เวณรอยควันด้านบนและหลังจาก
                   ่
ฮอร์โมนที่ทาแห้งดีแล้ว จึงค่อยหุ มกิ่งตอน
                                 ้
 4) นาตุมตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ า แล้ว
         ้
 บีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปาก
 ถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้ว
 นาไปหุ มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วย
           ้
 เชือกทั้งบนและล่างรอยแผล
5.) วิธีการหุ มกิ่ง นาตุมตอนไปหุม
                ้          ้         ้
บริ เวณรอยควันโดยเฉพาะให้เหนือบริ เวณ
                  ่
รอยควันด้านบน พยายามดันกิ่งตอนให้เข้า
         ่
      ่
ไปอยูกลางถุงให้มากที่สุด ดึงชาย
                    ่ ้
ถุงพลาสติกที่ผาให้ซอนทับกัน มัดให้
แน่นด้วยเชือกฟาง
 4.) เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่าน
 วัสดุ และเริ่ มแก่เป็ นสี เหลือง สี
 น้ าตาล ปลายรากมีสีขาว และมี
 จานวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้ .
การทาบกิง
                            ่
     คือ การทาบกิง คือ การนาต้นพืชสองต้น ซึ่ง
                     ่
มีระบบรากและส่ วนยอดมาเชื่อมให้เป็ นต้นเดียว
โดยมีเซลล์เนื้อเยือเป็ นตัวเชื่อมประสาน
                  ่
ประโยชน์ ของการทาบกิง  ่
     1. ช่วยเปลี่ยนพันธุ์ท่ีมีลกษณะไม่ดีให้เป็ นพันธุ์ที่ดี
                               ั
     2. ได้พนธุ์พืชที่มีคุณภาพดีไปปลูก
              ั
            ั
     3. ใช้กบพืชที่ขยายพันธุ์โดยวิธีอื่นๆ ไม่ได้ผล
     4. สามารถได้ตนตอที่มีระบบรากแข็งแรง หาอาหารเก่ง
                    ้
         และทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี
ขั้นตอนการทาบกิ่ง
1. การเตรี ยมต้ นตอ
        1.1 เลือกต้นตออายุประมาณ
1ปี ตัดให้สูงจากโคนประมาณ6นิ้ว
แล้วเฉื อนต้นตอเป็ นปากฉลามยาว
ประมาณ 2 นิ้ว

        1.2 เฉื อนปลายต้นตอ
ให้เป็ นรู ปลิ่ม
2. การเตรี ยมกิงพันธ์ ุดี
                ่

      2.1 เลือกกิ่งพันธุ์ดีที่สมบูรณ์
      แข็งแรง



       2.2 เฉื อนกิ่งพันธุ์ดีให้เข้าเนื้อ
ไม้ เฉี ยงขึ้นยาวประมาณ 2 นิ้ว ตัด
ส่ วนเปลือกที่เฉื อนไว้ให้เหลือลิ้นที่
ปลายเล็กน้อย
3. การประกบกิงพันธ์ ุดเี ข้ ากับต้ นตอ
                ่
       3.1 สอดปลายกิ่งต้นตอที่เฉื อนเตรี ยมไว้ให้เนื้อเยือเจริ ญตรง
                                                         ่
กับกิ่งพันธุ์ดี
       3.2 พันด้วยแผ่นพลาสติกให้แน่น
       3.3 ใช้เชือกผูกปากถุงตรึ งกับโคนกิ่งพันธุ์ให้แน่น
4. ประมาณ 6 - 7 สัปดาห์ แผลจะติดกัน
ดี รากตุมต้นตอจะงอกแทงผ่านวัสดุ
         ้
และเริ่ มมีสีน้ าตาล ปลายรากมีสีขาว
และมีจานวนมากพอ จึงจะตัดได้



5. นาลงถุงเพาะชา พร้อมปักหลัก
ค้ ายันต้น เพื่อป้ องกันต้นล้ม
การติด
                    ตา ื
    การติดตา คือการขยายพันธุ์พชที่นาแผ่นตาเพียงตาเดียวจาก
กิ่งพันธุ์ดี ไปติดกับต้นตอในพืชประเภทเดียวกัน เพื่อให้ตานั้น
เจริ ญเติบโตเป็ นยอดอ่อน และกิ่งพันธุ์ดีต่อไป
     ซึ่ งวิธีการนี้ มีลกษณะคล้ายกับวิธีการต่อกิ่ง แต่มีขอดีกว่า
                        ั                                ้
คือ ทาได้ง่ายกว่า ได้ตนพันธุ์ดีมากกว่า และมีความเสี่ ยงต่า
                          ้
                   อุปกรณ์ติดตา

   มีดติดตา                              แถบพลาสติก
ประเภทของการติดตา

       การติดตาแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทคือ
1. การติดตาแบบตัวที ( T budding)
                                                ั
       การติดตาแบบตัวที (T) เป็ นวิธีที่นิยมใช้กบพวกไม้ดอก
ได้แก่ กุหลาบ และไม้ผลบางชนิด เช่น ส้ม พุทรา
2. การติดตาแบบเพลต (Plate budding)
                                            ั
      การติดตาแบบเพลตใช้ขยายพันธุ์กบพืชที่มีเปลือกหนาและ
                     ั ั
เหนียว หรื อวิธีน้ ีมกใช้กบพืชที่มีน้ ายางมาก เช่น ยางพารา มะม่วง
ขนุน หรื อพืชที่เกิดการเชื่อมต่อช้ากว่าปกติ เช่นมะขาม
3. การติดตาแบบแพตช์ (Patch budding)
      การติดตาแบบแพตช์ คือ วิธีการติดตาที่ทาการแกะเปลือกต้น
ตอออกเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า แล้วใช้เปลือกตาของกิ่งพันธุ์ดีที่มี
ขนาดเท่ากันมาประกบแทนที่เปลือกของต้นตอ
                                      ั
      การติดตาแบบวิธีน้ ีมกจะใช้กบพืชที่เปลือกหนา เช่นมะม่วง
                             ั
ยางพารา เป็ นต้น

4. การติดตาแบบชิป (Chip budding)
      การติดตาแบบวิธีน้ ีมกทากับพันธุ์ไม้ที่ลอกเปลือกออกได้
                          ั
ยาก และใช้ได้ผลดี กับไม้ผลบางชนิด เช่น องุ่น เงาะ เป็ นต้น
ขั้นตอนการติดตาแบบตัวทีมดงนี้
                        ี ั
1. การเตรียมต้ นตอ
         วิธีการกรี ดต้นตอควรกรี ดตามความ
ยาวของ ต้นตอก่อน แล้วจึงกรี ดตามขวาง
เป็ นรู ปตัวที (T) พร้อมกับพลิกใบมีด
เล็กน้อยเพื่อเผยอเปลือกออกจากเนื้อไม้
2. การเตรียมแผ่ นตา
       แผ่นตา คือ ส่ วนของแผ่นเปลือกซึ่ งมีตาพันธุ์ดี
เพียง 1 ตา การเฉื อนควรเฉื อนแผ่นตาจากปลายแผ่นตา
ไปหาโคนแผ่นตาให้มีความยาว 3-4 เซนติเมตร
3. การประกบแผ่ นตา
                    ่
   ให้สอดแผ่นตาอยูใต้เปลือกของต้นตอ
โดยให้ตาอยูตรงกึ่งกลางของรอยแผล
           ่
 4. การพันแผ่ นตา
       วัสดุที่ใช้ คือ แผ่นพลาสติกใส การ
 พันจะต้องพันจากล่างขึ้นบนให้กระชับ
 ติดกับต้นตอ คือพันไม่ให้แน่นหรื อหลวม
 เกิดไป จนกว่าเนื้อเยือเจริ ญของตาพันธุ์
                       ่
 กับตอจะเชื่อมติดกันดี แล้วค่อยแกะแผ่น
 พลาสติกออก
การต่อกิ่ง Grafting
     การต่อกิ่ง คือการนากิ่งพันธุ์ดีไปต่อ
บนต้นตอของพืชอีกต้นหนึ่ง เพื่อให้เกิด
เป็ นยอดและกิ่งพันธุ์ดีต่อไป

 ขั้นตอนการต่อกิ่ง
   1. ก่อนต่อกิ่งต้องตัดแต่งกิ่งต้น
 ตอให้โปร่ งเพื่อความสะดวกในการ
 ทางาน
2. การตัดกิ่งพันธุ์ดี
 ตัดกิ่งพันธุ์ดีที่สมบุรณ์ให้มีตาติดไปด้วย 3-4 ตา
 3. การเตรี ยมต้นตอ
      กรี ดเปลือกต้นตอให้ขนานกันตามแนวยาวของกิ่ง ให้ยาว
 ประมาณ2-3นิ้วแล้วใช้มีกรี ดตัดด้านบน




  การกรี ดต้นตอ         ตัดขวางรอยกรี ด ลอกเปลือกออก
การเตรี ยมกิ่งพันธุ์ดี
1. เฉื อนกิ่งพันธุ์ดีให้เป็ นรู ปลิ่ม




  เฉื อนด้านหน้า               เฉื อนด้านหลัง      รอยเฉื อนด้านหลัง
การประกบกิ่งพันธุ์ดี
       นากิ่งพันธุ์ดีประกบลงบนแผลของต้นตอ โดยให้เปลือกชิด
ด้านใดด้านหนึ่ง แล้วพันด้วยพลาสติกให้แน่น โดยควรพันจาก
ด้านล่างขึ้นด้านบน เพื่อป้ องกันน้ าซึ มเข้า




การประกบรอยแผล           การพันด้วยแถบพลาสติก
ยอดที่เกิดใหม่จากการต่อกิ่ง

More Related Content

What's hot

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
Aomiko Wipaporn
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
juckit009
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
KuNg Pw
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
Supaluk Juntap
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
Joy Jantima
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
varut
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 

What's hot (20)

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
varut
 
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
Benjamart2534
 
ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
Duangsuwun Lasadang
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
Duangsuwun Lasadang
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
ทับทิม เจริญตา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
teerachon
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
Jariya Jaiyot
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
Duangsuwun Lasadang
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 

Viewers also liked (18)

หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
 
ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์ใบความรู้ ประโยชน์
ใบความรู้ ประโยชน์
 
ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
1
11
1
 
Plant propagation nxeitxh
Plant propagation nxeitxhPlant propagation nxeitxh
Plant propagation nxeitxh
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

Similar to การขยายพันธุ์พืช

หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
dnavaroj
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
chunkidtid
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
sakuntra
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
sakuntra
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
Napalai Jaibaneum
 
กุหลาบ 1
กุหลาบ 1กุหลาบ 1
กุหลาบ 1
nangna
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
Nuttayaporn2138
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
sakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
sakuntra
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
sakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
sakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
sakuntra
 

Similar to การขยายพันธุ์พืช (20)

หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
 
หญ้าแฝก
หญ้าแฝกหญ้าแฝก
หญ้าแฝก
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 
รายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทยรายงานมะพร้าวไทย
รายงานมะพร้าวไทย
 
LA445 02
LA445 02LA445 02
LA445 02
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
กุหลาบ 1
กุหลาบ 1กุหลาบ 1
กุหลาบ 1
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
เทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนเทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุน
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

การขยายพันธุ์พืช

  • 1.
  • 2. การขยายพันธุพืชคืออะไร ์ การขยายพันธุ์พืชหมายถึง การเพิมปริ มาณต้นพืชจากต้น ่ แม่เพียงต้นเดียว ให้มีจานวนมากขึ้น โดยต้นพืชที่เกิดขึ้นใหม่ ยังคงมีคุณสมบัติ คุณลักษณะเหมือนต้นเดิม การขยายพันธุ์พืชแบ่งออกเป็ น2ลักษณะคือ การขยายพันธุ์โดยใช้เพศ และการขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เพศ
  • 3. การขยายพันธุโดยใช้เพศ คืออะไร ์ คือการนาเมล็ดของพืชไปเพาะหรื อปลูกเพื่อให้เกิดเป็ น พืชต้นใหม่ หรื อที่เรี ยกว่าการเพาะเมล็ดนันเอง ่ 1. การเพาะเมล็ด การเพาะเมล็ด (Seed) หมายถึง การนาเมล็ดพันธุ์พืชที่ ผ่านการคัดคุณภาพมาแล้ว นามาปลูกไว้ในพื้นที่จากัดที่เตรี ยม ไว้โดยเฉพาะ เช่น กระบะเฉพาะ แปลงเพาะ หรื อภาชนะต่าง ๆ มีการดูแลรักษาเอาใจใส่ เป็ นพิเศษ จนกระทังเมล็ดงอกเป็ นต้น ่ กล้า เหมาะกับพืชพวกข้าว ผักต่างๆยกเว้นผักกาดหัว
  • 4. วัตถุประสงค์ของการเพาะเมล็ด 1. เพื่อประหยัดหรื อไม่ให้เปลืองเมล็ดพันธุ์ 2. เมล็ดพันธุ์พืชบางชนิดมีขนาดเล็กเกินไป ไม่ทนทานต่อโรค แมลง และสิ่ งแวดล้อม ต้องดูแลเป็ นพิเศษ 3. ได้จานวนต้นพืชในปริ มาณตามที่ตองการ ้ 4. ได้ตนพืชที่มีอายุและการเจริ ญเติบโตเท่าๆ กัน ้
  • 5. วิธีการเพาะเมล็ดในกระบะเพาะ 1. ถ้าหากภาชนะเพาะมีช่องหรื อรู ขนาดใหญ่อาจจะทาให้ดินเพาะรั่วไหล ออกมา ควรใช้วสดุปิดทับ เช่น ใช้เศษ- ั กระถางแตกเศษอิฐหักอุดรู ถ้าเป็ นภาชนะที่ เป็ นกระบะพลาสติกหรื อลังไม้ ควรใช้ กระดาษหนังสื อพิมพ์ปิดทับกระบะ 2. นาดินเพาะใส่ ลงในภาชนะให้เกือบเต็ม เกลี่ยผิวดินให้ ่ เรี ยบสม่าเสมอในระดับเดียวกัน ให้ดินเพาะอยูต่ากว่าขอบภาชนะ ประมาณ 1-2 นิ้ว การเกลี่ยดินให้เรี ยบ
  • 6. ดินที่ใช้เพาะควรเป็ นดินที่ร่วนซุย โปร่ ง มีน้ าหนักเบา ระบายน้ าได้ดี มีแร่ ธาตุอาหารพืชบ้างพอสมควร โดยทัวไป ่ อาจจะใช้ดินร่ วนธรรมดาก็ได้ หรื อ อาจจะใช้ดินที่มีส่วนผสมของวัสดุต่าง ๆ ในอัตราส่ วนที่กาหนด เช่น ทรายหยาบ : ขุยมะพร้าวในอัตรา 1:1 ทรายหยาบ : ถ่านแกลบในอัตรา 1:1 หรื อ ดิน : ปุ๋ ยคอกเก่า : ทรายในอัตรา 2:1:2 ก็ได้
  • 7. 3. นาเมล็ดพันธุ์พืชที่ตองการ ้ ปลูก หว่านหรื อโรยลงบนผิวหน้าดิน ให้กระจายกัน อย่างทัวถึง โรยทับด้วย ่ ดินเพาะเพียงบาง ๆ พอกลบเมล็ด 4. ปิ ดทับผิวหน้าดินด้วยฟาง แห้งหรื อกระดาษหนังสื อพิมพ์ (เพื่อ รักษาความชื้นภายในดินเพาะให้ สม่าเสมอไม่ให้ระเหยเร็ วเกินไป และยังช่วยให้เมล็ดงอกได้เร็ วขึ้น)
  • 8. การขยายพันธุพืชแบบไม่อาศัยเพศ ์ หมายถึงการนาส่ วนต่างๆของพืช ไปทาให้เกิดราก เกิดยอด แล้วเจริ ญเติบโตเป็ นพืชต้นใหม่สามารถให้ผลผลิตต่อไปได้ การขยายพันธุ์พืชโยไม่ใช้เพศทาได้หลายวิธี เช่น การตัดชา การตอนกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา การต่อกิ่ง และ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ เป็ นต้น ่
  • 9. การขยายพันธุพืชโดยการปักชา ์ การปักชา คือ การตัดส่ วนหนึ่งส่ วนใดของพืช เช่น ใบ กิ่ง ก้าน ลาต้น หรื อราก ออกจากต้นเดิมไปเก็บไว้ในที่ที่มีสภาพ สิ่ งแวดล้อมเหมาะสม ส่ วนต่างๆ ของพืชดังกล่าวจะออกรากและ แตกยอดเจริ ญเติบโตเป็ นต้นพืชต้นใหม่ต่อไป ขั้นตอนการปักชา 1) ตัดกิ่งให้มีความยาวประมาณ ่ ั 6 – 10 นิ้ว (ขึ้นอยูกบชนิดของพืช) ตัดให้ เป็ นแผลทามุมเฉี ยง 450 – 600 ด้านล่างของ กิ่งต่ากว่าข้อเล็กน้อย
  • 10. 2) การปักชากิง นาส่ วนของโคนกิ่งปั กลงไปในวัตถุปักชา ่ ให้ลึกประมาณ ของความยาวของกิ่ง โดยให้รอยแผลตัดด้าน ปลายของกิ่งเป็ นแนวตั้งตรงเพื่อ ป้ องกันไม่ให้น้ าขังบริ เวณรอยแผล ซึ่ งจะช่วยลดการเน่าของกิ่งได้ การปั กกิ่ง ควรจัดระยะให้ห่างกันพอประมาณอย่า ให้ชิด หรื อแน่นเกินไป จะทาให้กิ่งเน่าได้ การดูแลรักษา ในระยะแรกๆ ที่กิ่งยังไม่ออกรากจาเป็ นต้องรักษาความชื้น ในบริ เวณที่ปักชาให้สูงมากๆ เพื่อลดการสู ญเสี ยน้ าจากการคายน้ า ของใบให้มากที่สุด โดยการรดน้ าอย่างสม่าเสมอวันละ 2 - 3 ครั้ง
  • 11. การตอนกิ่ง คือ การทาให้ก่ิงหรื อต้นพืชเกิดรากขณะติดอยูกบต้นแม่ จะ ่ ั ทาให้ได้ตนพืชใหม่ ที่มีลกษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับต้นแม่ ้ ั ทุกประการ โดยมีข้ นตอนการปฏิบติ ดังนี้ ั ั ข้ อดีของการตอนกิง ่ 1. คงสภาพลักษณะพันธุ์เดิมทุกประการ 2. การตอนจะแตกรากในปริ มาณมากกว่าการปั กชา 3. เมื่อนาไปปลูกอัตราการรอดตายมากกว่าการปั กชา 4. ทรงพุมเตี้ย สะดวกต่อการเก็บเกี่ยว และการดูแลรักษา ่ 5. ขนาดของกิ่งตอนใหญ่กว่ากิ่งปั กชา ให้ผลผลิตที่เร็ วกว่า
  • 12. ข้ อเสี ยของการตอนกิง ่ 1. ไม่มีระบบรากแก้ว จึงทาให้กิ่งตอนโค่นล้มได้ง่าย 2. กิ่งตอนมีขนาดใหญ่ การเคลื่อนย้ายไปปลูกทาได้ลาบาก 3. จานวนกิ่งพันธุ์ที่ได้ต่อต้นน้อยกว่าการปั กชา ุ่ 4. การตอนกิ่งมีวธีการที่ยงยากกว่าการปั กชา ิ 5. ต้องใช้แรงงานมากและการดูแลมากยิงขึ้น ่ เครื่องมือและอุปกรณ์ ในการตอนกิง ่ 1) มีดตอนกิง มีดตอนกิ่งจะต้องมี ่ ขนาดพอเหมาะเพื่อความสะดวกในการปฏิบติงาน ที่นิยมใช้กน ั ั มากได้แก่ มีดขยายพันธุ์พืช มีพบ และ คัทเตอร์ เป็ นต้น ั
  • 13. 2) วัสดุทใช้ ในการตอนหรือวัตถุห้ ุมกิง ี่ ่ เพื่อให้กิ่งตอนได้รับความชื้นที่สูงพอเหมาะ สม่าเสมอตลอดจนป้ องกันแสงสว่าง วัสดุที่ ใช้ในการหุ มกิ่งตอนจะต้องมีคุณสมบัติ อุม ้ ้ ความชื้นได้ดี สะอาด ไม่เป็ นพิษแก่พืช เช่น ดินร่ วน กาบมะพร้าว ขุยมะพร้าว 3) ฮอร์ โมนหรือสารเคมีทช่วยกระตุ้นการออกรากของกิง กิ่ง ี่ ่ พืชบางชนิดออกรากได้ยากและใช้เวลานาน การใช้ฮอร์โมน หรื อสารเคมีบางชนิดทาบริ เวณเหนือรอยแผลหรื อรอยควัน ่ จะช่วยกระตุนให้กิ่งออกรากได้เร็ วขึ้น ้
  • 14. ขั้นตอนในการตอนกิง ่ 1) การเลือกกิงตอน ควรเลือกกิ่งที่มีอายุไม่ ่ มากหรื อไม่แก่จนเกินไป เพราะจะทาให้ออ กรากได้เร็ วขึ้น ซึ่ งสังเกตได้โดยกิ่งจะมีสีเขียว ปนน้ าตาล 2) การทาแผลหรือการควันกิง ่ ่ การควันกิ่ง เป็ นวิธีที่นิยมปฏิบติ ่ ั มากที่สุดและเหมาะสมกับพืชทุกชนิด โดยเฉพาะพืชที่ออกรากได้ยาก การ ควันกิ่งแล้วลอกเปลือกออก เป็ นการ ่ ตัดท่อลาเลียงอาหารของพืช
  • 15. 3) การใช้ฮอร์โมนหรื อสารเร่ งการออกรากทากิ่ง ตอน เพื่อกระตุนให้กิ่งออกรากได้เร็ วและมากขึ้น ้ ควรจะต้องใช้ฮอร์โมนหรื อสารเร่ งรากทารอบๆ เหนือบริ เวณรอยควันด้านบนและหลังจาก ่ ฮอร์โมนที่ทาแห้งดีแล้ว จึงค่อยหุ มกิ่งตอน ้ 4) นาตุมตอน (ขุยมะพร้าวที่แช่น้ า แล้ว ้ บีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปาก ถุงให้แน่น) มาผ่าตามความยาวแล้ว นาไปหุ มบนรอยแผลของกิ่งตอน มัดด้วย ้ เชือกทั้งบนและล่างรอยแผล
  • 16. 5.) วิธีการหุ มกิ่ง นาตุมตอนไปหุม ้ ้ ้ บริ เวณรอยควันโดยเฉพาะให้เหนือบริ เวณ ่ รอยควันด้านบน พยายามดันกิ่งตอนให้เข้า ่ ่ ไปอยูกลางถุงให้มากที่สุด ดึงชาย ่ ้ ถุงพลาสติกที่ผาให้ซอนทับกัน มัดให้ แน่นด้วยเชือกฟาง 4.) เมื่อกิ่งตอนมีรากงอกแทงผ่าน วัสดุ และเริ่ มแก่เป็ นสี เหลือง สี น้ าตาล ปลายรากมีสีขาว และมี จานวนมากพอจึงตัดกิ่งตอนได้ .
  • 17. การทาบกิง ่ คือ การทาบกิง คือ การนาต้นพืชสองต้น ซึ่ง ่ มีระบบรากและส่ วนยอดมาเชื่อมให้เป็ นต้นเดียว โดยมีเซลล์เนื้อเยือเป็ นตัวเชื่อมประสาน ่ ประโยชน์ ของการทาบกิง ่ 1. ช่วยเปลี่ยนพันธุ์ท่ีมีลกษณะไม่ดีให้เป็ นพันธุ์ที่ดี ั 2. ได้พนธุ์พืชที่มีคุณภาพดีไปปลูก ั ั 3. ใช้กบพืชที่ขยายพันธุ์โดยวิธีอื่นๆ ไม่ได้ผล 4. สามารถได้ตนตอที่มีระบบรากแข็งแรง หาอาหารเก่ง ้ และทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี
  • 18. ขั้นตอนการทาบกิ่ง 1. การเตรี ยมต้ นตอ 1.1 เลือกต้นตออายุประมาณ 1ปี ตัดให้สูงจากโคนประมาณ6นิ้ว แล้วเฉื อนต้นตอเป็ นปากฉลามยาว ประมาณ 2 นิ้ว 1.2 เฉื อนปลายต้นตอ ให้เป็ นรู ปลิ่ม
  • 19. 2. การเตรี ยมกิงพันธ์ ุดี ่ 2.1 เลือกกิ่งพันธุ์ดีที่สมบูรณ์ แข็งแรง 2.2 เฉื อนกิ่งพันธุ์ดีให้เข้าเนื้อ ไม้ เฉี ยงขึ้นยาวประมาณ 2 นิ้ว ตัด ส่ วนเปลือกที่เฉื อนไว้ให้เหลือลิ้นที่ ปลายเล็กน้อย
  • 20. 3. การประกบกิงพันธ์ ุดเี ข้ ากับต้ นตอ ่ 3.1 สอดปลายกิ่งต้นตอที่เฉื อนเตรี ยมไว้ให้เนื้อเยือเจริ ญตรง ่ กับกิ่งพันธุ์ดี 3.2 พันด้วยแผ่นพลาสติกให้แน่น 3.3 ใช้เชือกผูกปากถุงตรึ งกับโคนกิ่งพันธุ์ให้แน่น
  • 21. 4. ประมาณ 6 - 7 สัปดาห์ แผลจะติดกัน ดี รากตุมต้นตอจะงอกแทงผ่านวัสดุ ้ และเริ่ มมีสีน้ าตาล ปลายรากมีสีขาว และมีจานวนมากพอ จึงจะตัดได้ 5. นาลงถุงเพาะชา พร้อมปักหลัก ค้ ายันต้น เพื่อป้ องกันต้นล้ม
  • 22. การติด ตา ื การติดตา คือการขยายพันธุ์พชที่นาแผ่นตาเพียงตาเดียวจาก กิ่งพันธุ์ดี ไปติดกับต้นตอในพืชประเภทเดียวกัน เพื่อให้ตานั้น เจริ ญเติบโตเป็ นยอดอ่อน และกิ่งพันธุ์ดีต่อไป ซึ่ งวิธีการนี้ มีลกษณะคล้ายกับวิธีการต่อกิ่ง แต่มีขอดีกว่า ั ้ คือ ทาได้ง่ายกว่า ได้ตนพันธุ์ดีมากกว่า และมีความเสี่ ยงต่า ้ อุปกรณ์ติดตา มีดติดตา แถบพลาสติก
  • 23. ประเภทของการติดตา การติดตาแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทคือ 1. การติดตาแบบตัวที ( T budding) ั การติดตาแบบตัวที (T) เป็ นวิธีที่นิยมใช้กบพวกไม้ดอก ได้แก่ กุหลาบ และไม้ผลบางชนิด เช่น ส้ม พุทรา 2. การติดตาแบบเพลต (Plate budding) ั การติดตาแบบเพลตใช้ขยายพันธุ์กบพืชที่มีเปลือกหนาและ ั ั เหนียว หรื อวิธีน้ ีมกใช้กบพืชที่มีน้ ายางมาก เช่น ยางพารา มะม่วง ขนุน หรื อพืชที่เกิดการเชื่อมต่อช้ากว่าปกติ เช่นมะขาม
  • 24. 3. การติดตาแบบแพตช์ (Patch budding) การติดตาแบบแพตช์ คือ วิธีการติดตาที่ทาการแกะเปลือกต้น ตอออกเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า แล้วใช้เปลือกตาของกิ่งพันธุ์ดีที่มี ขนาดเท่ากันมาประกบแทนที่เปลือกของต้นตอ ั การติดตาแบบวิธีน้ ีมกจะใช้กบพืชที่เปลือกหนา เช่นมะม่วง ั ยางพารา เป็ นต้น 4. การติดตาแบบชิป (Chip budding) การติดตาแบบวิธีน้ ีมกทากับพันธุ์ไม้ที่ลอกเปลือกออกได้ ั ยาก และใช้ได้ผลดี กับไม้ผลบางชนิด เช่น องุ่น เงาะ เป็ นต้น
  • 25. ขั้นตอนการติดตาแบบตัวทีมดงนี้ ี ั 1. การเตรียมต้ นตอ วิธีการกรี ดต้นตอควรกรี ดตามความ ยาวของ ต้นตอก่อน แล้วจึงกรี ดตามขวาง เป็ นรู ปตัวที (T) พร้อมกับพลิกใบมีด เล็กน้อยเพื่อเผยอเปลือกออกจากเนื้อไม้ 2. การเตรียมแผ่ นตา แผ่นตา คือ ส่ วนของแผ่นเปลือกซึ่ งมีตาพันธุ์ดี เพียง 1 ตา การเฉื อนควรเฉื อนแผ่นตาจากปลายแผ่นตา ไปหาโคนแผ่นตาให้มีความยาว 3-4 เซนติเมตร
  • 26. 3. การประกบแผ่ นตา ่ ให้สอดแผ่นตาอยูใต้เปลือกของต้นตอ โดยให้ตาอยูตรงกึ่งกลางของรอยแผล ่ 4. การพันแผ่ นตา วัสดุที่ใช้ คือ แผ่นพลาสติกใส การ พันจะต้องพันจากล่างขึ้นบนให้กระชับ ติดกับต้นตอ คือพันไม่ให้แน่นหรื อหลวม เกิดไป จนกว่าเนื้อเยือเจริ ญของตาพันธุ์ ่ กับตอจะเชื่อมติดกันดี แล้วค่อยแกะแผ่น พลาสติกออก
  • 27. การต่อกิ่ง Grafting การต่อกิ่ง คือการนากิ่งพันธุ์ดีไปต่อ บนต้นตอของพืชอีกต้นหนึ่ง เพื่อให้เกิด เป็ นยอดและกิ่งพันธุ์ดีต่อไป ขั้นตอนการต่อกิ่ง 1. ก่อนต่อกิ่งต้องตัดแต่งกิ่งต้น ตอให้โปร่ งเพื่อความสะดวกในการ ทางาน
  • 28. 2. การตัดกิ่งพันธุ์ดี ตัดกิ่งพันธุ์ดีที่สมบุรณ์ให้มีตาติดไปด้วย 3-4 ตา 3. การเตรี ยมต้นตอ กรี ดเปลือกต้นตอให้ขนานกันตามแนวยาวของกิ่ง ให้ยาว ประมาณ2-3นิ้วแล้วใช้มีกรี ดตัดด้านบน การกรี ดต้นตอ ตัดขวางรอยกรี ด ลอกเปลือกออก
  • 29. การเตรี ยมกิ่งพันธุ์ดี 1. เฉื อนกิ่งพันธุ์ดีให้เป็ นรู ปลิ่ม เฉื อนด้านหน้า เฉื อนด้านหลัง รอยเฉื อนด้านหลัง
  • 30. การประกบกิ่งพันธุ์ดี นากิ่งพันธุ์ดีประกบลงบนแผลของต้นตอ โดยให้เปลือกชิด ด้านใดด้านหนึ่ง แล้วพันด้วยพลาสติกให้แน่น โดยควรพันจาก ด้านล่างขึ้นด้านบน เพื่อป้ องกันน้ าซึ มเข้า การประกบรอยแผล การพันด้วยแถบพลาสติก