SlideShare a Scribd company logo
งานนาเสนอข้อมูลนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 (ว30246)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
งานนาเสนอข้อมูล
การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชใน
สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พืชที่นาเสนอ คือพืช Family APOCYNACEAE จานวน 12 ชนิด
นาเสนอ
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิก
1. นางสาวปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที่ 12
2. นางสาววรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที่ 16
3. นางสาววิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที่ 18
4. นางสาวสาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที่ 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
คานา
งานนาเสนอข้อมูลนี้ เป็นการนาเสนอผลการสืบค้นความหลากหลายทาง
พันธุกรรมของพืช ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 ปีการศึกษา 2560
งานนาเสนอนี้เป็นงานนาเสนอทางวิชาการที่แสดงถึงข้อมูลทั่วไปของพืชใน
Family APOCYNACEAE รวมถึงชื่อทางวิทาศาสตร์ ชื่อสามัญ แหล่งที่พบ และ
ประโยชน์ข้อแต่ละต้น เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้มากขึ้นนอกเหนือจากในชั่วโมง
เรียน เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจไม่มากก็น้อย
หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัย ณ ที่นี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญพืชวงศ์ APOCYNACEAE
1. โมก
2. พุดซ้อน
3. เคราฤาษี
4. พริกนายพราน
5. ชวนชม
6. ยี่โถ
7. ตีนเป็ด
8. ระย่อมหลวง
9. ขจร
10. แพงพวยฝรั่ง
11. บานบุรี
12. ผักฮ้วน
โมก
ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Wrightia pubescens R. Br.
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : โมก, มูก, มูกเกื้อ, โมกมัน, โมกบ้าน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบ รูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน กลีบเลี้ยง รูปไข่
กลีบดอกรูปขอบขนาน กะบัง 2 ชั้น มีขนสั้นนุ่ม กะบังหน้ากลีบดอกแนบติดกลีบดอกประมาณกึ่งหนึ่ง จักลึก
กะบังระหว่างกลีบดอกรูปแถบ สั้นกว่าเล็กน้อย ปลายแยก 2 แฉก รังไข่เกลี้ยง ผลเรียงติดกัน แยกกันเมื่อ
แตก ผิวไม่มีช่องอากาศ มีขนละเอียด
แหล่งที่พบ : จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม
ชายป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ
ประโยชน์ : เปลือก เป็นยาช่วยเจริญอาหาร ยาง แก้โรคบิด ดอก เป็นยาระบาย ใบ ขับน้าเหลือง
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที่ 12 ห้อง 125
พุดซ้อน
ชื่อสามัญ : Windmill bush
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tabernaemontana pandacaqui Lam.
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : พุดซ้อน, พุดป่า, พุดฝรั่ง, พุดสา, พุดสวน, พุดจีบ, เค็ดถวา, แคถวา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 10 ม. กิ่งมีช่องอากาศและขนสั้นนุ่มประปราย ใบ
รูปรีหรือรูปไข่ ปลายเแหลมยาว ช่อ ดอก ตาดอกปลายมนหรือกลม กลีบเลี้ยงรูปไข่ ปลายมนหรือแหลม มัก
บิดเวียน ด้านในเกลี้ยง ผล รูปรี เบี้ยว มีสันตามยาว เมล็ดจานวนมาก รูปรี
แหล่งที่พบ :จีนตอนใต้ ไต้หวัน ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย
พบแทบทุกภาค โดยเฉพาะตามเขาหินปูนทางภาคใต้
ประโยชน์ : ยาง ทาเต้านมหลังคลอดลูกช่วยผลิตน้านม ดอก แก้โรคผิวหนัง
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที่ 12 ห้อง 125
เคราฤาษี
ชื่อสามัญ : Poison Arrow Vine
ชื่อวิทยาศาสตร์ :Strophanthus preussii Engl. & Pax
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : เคราฤาษี, เคราตาแป๊ะ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มรอเลื้อย ยาวได้ถึง 10 ม. มียางใสหรือขาว ใบ เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูป
ไข่ ช่อดอกแบบช่อกระจุกใบประดับกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ดอก สีขาวหรือสีครีมอมเหลือง มี 5 กลีบ สีขาวมีริ้วสี
ม่วงอมน้าตาล เกสรเพศผู้ติดภายในหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น เกสรเพศเมียบางส่วนติดกันที่โคน ผล
เป็นฝักคู่กางออก รูปทรงกระบอก ปลายโค้ง มีขนและช่องอากาศ เมล็ดจานวนมาก
แหล่งที่พบ : แอฟริกาตะวันตก
ประโยชน์ : ใช้อาบพิษหัวลูกศร
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที่ 12 ห้อง 125
พริกนายพราน
ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tabernaemontana bufalina Lour.
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : พริกนายพราน, พริกป่าเล็ก, พริกพราน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. กิ่งมีช่อง
อากาศ ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ปลายเแหลมยาวคล้าย
หาง กลีบเลี้ยงรูปไข่ปลายแหลมยาว ดอกสีขาว หลอดกลีบ
ยาว มีขนรอบ ๆ เกสรเพศผู้ ผลรูปขอบขนานเบี้ยวและคอด
เล็กน้อย มีสันตื้น ๆ ตามยาว เมล็ดรูปรี
แหล่งที่พบ : จีนตอนใต้ กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
ประโยชน์ : ราก แก้ไข้ แก้ไอ แก้เจ็บคอ แก้ปวดท้อง แก้ท้องเสีย แก้ฝี สมานแผล
ผู้รับผิดชอบ : นางสาววิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที่ 18 ห้อง 125
ชวนชม
ชื่อสามัญ : Impala Lily, Pink Bignonia, Mock Azalea, Desert Rose
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Adenium obesum (Forssk.) Roem. & Schult.
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : ชวนชม, ลั่นทมแดง, ลั่นทมยะวา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 1 เมตร ทุกส่วนมีน้ายางขาว โคนต้นมักอวบอ้วน
ใบเดี่ยว เรียงสลับ ออกเป็นกลุ่มที่ยอด แผ่นใบหนาเป็นมัน ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อสั้นที่ปลาย
กิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ สีสันมากมาย ผลเป็นฝักคู่ เมล็ดแบน มีกระจุกขนสีขาว
แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิดที่แอฟริกาตะวันออก อาระเบียตอนใต้ พบในที่แสงแดดจัด ออกดอกตลอด
ปี ปลูกในดินร่วน ทนแล้ง น้าปานกลางถึงน้อย ขยายพันธุ์โดยเพาะเมล็ด ปักชากิ่ง
ประโยชน์ : ไม่พบสรรพคุณในทางยา เพราะยางของต้นชวนชมมีพิษ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
ผู้รับผิดชอบ : นางสาววิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที่ 18 ห้อง 125
ยี่โถ
ชื่อสามัญ : Sweet Oleander, Rose bay
ชื่อวิทยาศาสตร์: Nerium oleander L.
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : ยี่โถ, ยี่โถฝรั่ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 4-6 ม. แตกกิ่งใกล้ผิวดินจานวนมาก มีน้ายางขาว เปลือกสีน้าตาล
เข้ม ใบเรียงรอบข้อ ข้อละ 3 ใบ ใบเดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน โคนใบและปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ใบ
หนา ผิวเรียบเป็นมัน ดอก ช่อออกที่ปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกปลายแยกเป็น 5 กลีบ ดอกมี
หลายสี เช่น ขาว เหลือง ชมพูและแดง ผล แห้งสีน้าตาล ผิวแข็ง แตกตามยาว เมล็ด มีขนเป็นพู่ที่ปลายข้าง
หนึ่ง
แหล่งที่พบ : ทุกภูมิประเทศ ยกเว้นที่ที่มีน้าท่วมขัง
ประโยชน์ : ใช้ตกแต่งประดับสวน สามารถเอาไปวางไล่หนูหรือแมลงสาบได้ เนื่องจากลาต้นของมันมีน้ายาง
พิษ
ผู้รับผิดชอบ : นางสาววิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที่ 18 ห้อง 125
ตีนเป็ด
ชื่อสามัญ : Blackboard tree, Devil tree, Indian devil tree,
Milkwood pine, White cheesewood
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Alstonia scholaris (L.) R. Br.
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : ตีนเป็ด, สัตตบรรณ, พญาสัตบรรณ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้น สูงถึง 40 เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบเดี่ยว เรียงเป็นวงรอบ 4-8 ใบ ดอกสี
ขาวแกมเขียวออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง5กลีบกลีบดอกเป็นหลอด เกสรตัวผู้ติดอยู่ตรงกลางหลอดกลีบ
ดอก ผลออกเป็นคู่ ผิวเกลี้ยง เมล็ดมีขนยาวสีขาว
แหล่งที่พบ : พบตามป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง หรือป่าเบญจพรรณบริเวณริมน้า ที่ระดับความสูง 150-1,200 เมตร
ประโยชน์ : เปลือก แก้ไข้มาเลเรีย ขับน้านม ราก เป็นยาขับลมในลาไส้ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ไม้มงคล และ
ให้ร่มเงา ,ทาเฟอร์นิเจอร์
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที่ 20 ห้อง 125
ระย่อมหลวง
ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rauvolfis cambodiana Pierre ex Pitard
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : ขะย่อมตีนหมา, ขะย่อมหลวง, นางแย้ม, ระย่อม, ระย่อมหลวง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มสูงถึง 2 เมตร ทุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยวติดเวียน รอบข้อ ปลายและโคน
ใบแหลม ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ยาว 5-10 ซม. กลีบรองดอกรูประฆัง ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ
โคนกลีบเชื่อมกันเป็นหลอดสีม่วงแดง เกสรผู้ 5 อัน ติดอยู่ด้านใน ผลสดสีเหลือง รูปไข่ ออกเป็นคู่แต่ไม่ติดกัน
ภายในมีเมล็ดเดียว
แหล่งที่พบ : พบในเวียดนาม และ กัมพูชา ประเทศไทยพบขึ้นตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณเกือบทุกภาค
ยกเว้นภาคใต้ ที่ระดับความสูงถึง 800 เมตร ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
ประโยชน์ : ราก มีสารแอลคาลอยด์หลายชนิด ใช้แก้ไข้ และบารุงประสาท
นิยมปลูกตามหมู่บ้านอย่างแพร่หลายเพื่อใช้เป็นยากลางบ้านหรือยาพื้นบ้าน
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที่ 20 ห้อง 125
ขจร
ชื่อสามัญ : Cowslip creeper
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Telosma cordata (Burm. f.) Merr.
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : ขจร, สลิด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเลื้อยพาดพันไม้อื่น มีน้ายางขาว เถาอ่อนสีเขียว มีขนนุ่มปกคลุม ใบเดี่ยว รูป
ไข่ ปลายใบแหลม โคนใบเว้ารูปหัวใจ เรียงตรงข้าม ดอกออกเป็นช่อ กระจุกตามซอกใบ ดอกสีเหลืองอมเขียว มี
กลิ่นหอมผลรูปกระสวย แห้งแล้วแตกตามยาว ภายในอัดแน่นด้วยเมล็ดจานวนมาก เมล็ดมีปุยขนสีขาวติด ช่วย
ให้ปลิวตามลม ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม
แหล่งที่พบ: เอเชียเขตร้อน ประเทศไทยอยู่ทางภาคกลางขึ้นไปจนถึงภาคเหนือ
ประโยชน์ : ยอดอ่อน ดอก และผลอ่อน นามาประกอบอาหาร หรือต้มรับประทานกับน้าพริก
ดอกสวยของขจร นอกจากจะรับประทานเป็นผักได้แล้ว ยังสามารถนามาใช้ในงานดอกไม้สด ด้วยการนาไปร้อย
อุบะติดชายมาลัยหรือเครื่องแขวนต่าง ๆ , เถาต้นขจรใช้แทนเชือกได้ , ใช้ทาเป็นขนมที่เรียกว่า “ขนมดอกขจร”
ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที่ 20 ห้อง 125
แพงพวยฝรั่ง
ชื่อสามัญ : Madagascar periwinkle, West indian periwinkle
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Catharanthus roseus (L.) G. Don
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : แพงพวยฝรั่ง, นมอิน, ผักปอดบก, แพงพวงบก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 20-60 เซนติเมตร ทุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยว เรียง
ตรงข้าม รูปขอบขนาน รูปรี หรือรูปไข่กลับ โคนใบสอบ ปลายใบมน มีติ่งแหลม ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็น
ช่อ 1-2 ดอก ตามซอกใบ กลีบดอก 5 กลีบ สีแดง ชมพู ขาว หรือม่วง เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายกลีบแผ่
แบน ผลเป็นฝักคู่ รูปกระสวย แตกตะเข็บด้านเดียว เมล็ดทรงกระบอก จานวนมาก
แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิดมาจากมาดากัสการ์ ออกดอกตลอดปี ปลูกเลี้ยงในดินทุกประเภท แสงแดดจัด ทน
แล้ง น้าปานกลางถึงน้อยขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ปักชากิ่ง
ประโยชน์: ปลูกเป็นไม้ประดับ
ผู้รับผิดชอบ : นางสาววรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที่ 16 ห้อง 125
บานบุรี
ชื่อสามัญ : Golden trumpet vine, Yellow bell
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Allamanda cathartica L.
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : บานบุรีเหลือง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มรอเลื้อย ทุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียนรอบข้อ 3-5 ใบ รูปขอบ
ขนาน รูปหอก หรือรูปรี แผ่นใบหนา เป็นมัน โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอก เป็นช่อตาม
ซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูปแตร มีทั้งชนิดกลีบดอกชั้นเดียว
และกลีบดอกซ้อน ผลทรงกลม มีหนาม เมื่อแก่แตกออก เมล็ดรูปไข่ จานวนมาก
แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิด อเมริกาเขตร้อน หมู่เกาะอินดีสตะวันตก ออกดอก ตลอดปี การปลูกเลี้ยง ดินร่วน
ปนทราย แสงแดดจัด ทนแล้ง น้าปานกลางถึงน้อย ขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ปักชากิ่ง
ประโยชน์ :ปลูกเป็นไม้ประดับ
ผู้รับผิดชอบ : นางสาววรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที่ 16 ห้อง 125
ผักฮ้วน
ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dregea volubillis Stapf
วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง : กระทุงหมาบ้า, เครือเขาหมู, มวนหูกวาง, เถาคัน, ผักสาบ, ผักสัง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้เถา เถากลมสีน้าตาลอมเทา เถาแก่มีปุ่มปมและมีรูอากาศกระจายอยู่
ทั่วไป มียางสีขาว เป็นใบเดี่ยว รูปไข่ ปลายใบแหลม ดอก เป็นช่อกระจุกตามซอกใบ ดอกสีเขียวอ่อน กลีบ
เลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน ปลายมน บิดเวียน ผล เป็นฝักคู่ ปลายฝักเรียว โคนฝัก
ป่อง ผิวมีขนสีน้าตาล เมล็ดสีน้าตาลมีปีกและขนเป็นพู่สีขาว
แหล่งที่พบ : มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดียจนถึงจีนตอนใต้ ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย และ
ฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบขึ้นตามบริเวณป่าดิบ ป่าราบ หรือบริเวณชายป่าทั่วทุกภาคของประเทศ
ประโยชน์: รากทาให้อาเจียนขับพิษได้ แก้บวม แก้ฝี ลาต้น ใช้ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ ขับปัสสาวะ แก้ปวด
ศรีษะ ใบ แก้แผลน้าร้อนลวก
ผู้รับผิดชอบ : นางสาววรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที่ 16 ห้อง 125
กิตติกรรมประกาศ
การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างสูง
ยิ่งจาก ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ประจาวิชาชีววิทยา(ว30246) ที่ได้ให้คาปรึกษา
และแนะนา ขั้นตอนวิธีการทาต่างๆ คณะผู้จัดทา ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่
ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่นี้ ที่ได้มีส่วนช่วยเหลือให้การสืบค้นนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
ท้ายที่สุด คณะผู้จัดทาโครงงานหวังว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับ
ผู้สนใจไม่มากก็น้อย
คณะผู้จัดทา
แหล่งอ้างอิง
1. องค์การสวนพฤกษศาสตร์. แพงพวยฝรั่ง. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก
http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2317.
2. องค์การสวนพฤกษศาสตร์. ชวนชม. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก
http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2285.
3. สานักงานหอพรรณไม้. พริกนายพราน. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก
http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsLinkno=3883&words=พริกนายพราน&typeword=word.
4. สานักงานหอพรรณไม้. ยี่โถ. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words=
ยี่โถ&typeword=group.
5. สานักงานหอพรรณไม้. เคราฤาษี. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก
http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsnamesci=Strophanthus0preussii0Engl.010Pax
6. องค์การสวนพฤกษศาสตร์. โมก. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก www.qsbg.org
7. MedThai. บานบุรีเหลือง. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก https://medthai.com/บานบุรีเหลือง/.
8. MedThai. ตีนเป็ด. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก https://medthai.com/ตีนเป็ด/.
9. MedThai. ขจร. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก https://medthai.com/ขจร/.
10. สานักงานหอพรรณไม้. พุดจีบ. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก
www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsLinkno=4060&words=พุดจีบ&typeword=word
11. สานักงานหอพรรณไม้. ระย่อมหลวง. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก
http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words=ระย่อมหลวง&typeword=group.
12. MedThai. กระทุ้งหมาบ้า. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก https://medthai.com/กระทุ้งหมาบ้า/.

More Related Content

What's hot

Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
Wichai Likitponrak
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
banhongschool
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
Wichai Likitponrak
 
ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้pukesasin
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
Wichai Likitponrak
 
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
banhongschool
 
ต้นชบา
ต้นชบาต้นชบา
ต้นชบา
มิว กุลวดี
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่งป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์โรงเรียนบ้านโฮ่ง
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
ทะเบียนพรรณไม้โรงเรียนบ้านโฮ่ง80
 
ต้นชบา
ต้นชบาต้นชบา
ต้นชบา
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 

Similar to Plant ser 125_60_5

Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
Wichai Likitponrak
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
Wichai Likitponrak
 
Practice
PracticePractice
Practice
patsharamini
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
bmmg1
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
Wichai Likitponrak
 
สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีFearn Chi
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
Wichai Likitponrak
 

Similar to Plant ser 125_60_5 (20)

Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Practice
PracticePractice
Practice
 
Practice
PracticePractice
Practice
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
สมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สีสมุนไพรให้สี
สมุนไพรให้สี
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

Plant ser 125_60_5

  • 1. งานนาเสนอข้อมูลนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 (ว30246) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 งานนาเสนอข้อมูล การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชใน สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พืชที่นาเสนอ คือพืช Family APOCYNACEAE จานวน 12 ชนิด
  • 2. นาเสนอ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 3. สมาชิก 1. นางสาวปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที่ 12 2. นางสาววรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที่ 16 3. นางสาววิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที่ 18 4. นางสาวสาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที่ 20 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
  • 4. คานา งานนาเสนอข้อมูลนี้ เป็นการนาเสนอผลการสืบค้นความหลากหลายทาง พันธุกรรมของพืช ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 ปีการศึกษา 2560 งานนาเสนอนี้เป็นงานนาเสนอทางวิชาการที่แสดงถึงข้อมูลทั่วไปของพืชใน Family APOCYNACEAE รวมถึงชื่อทางวิทาศาสตร์ ชื่อสามัญ แหล่งที่พบ และ ประโยชน์ข้อแต่ละต้น เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้มากขึ้นนอกเหนือจากในชั่วโมง เรียน เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัย ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญพืชวงศ์ APOCYNACEAE 1. โมก 2. พุดซ้อน 3. เคราฤาษี 4. พริกนายพราน 5. ชวนชม 6. ยี่โถ 7. ตีนเป็ด 8. ระย่อมหลวง 9. ขจร 10. แพงพวยฝรั่ง 11. บานบุรี 12. ผักฮ้วน
  • 6. โมก ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อวิทยาศาสตร์ : Wrightia pubescens R. Br. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : โมก, มูก, มูกเกื้อ, โมกมัน, โมกบ้าน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบ รูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน กลีบเลี้ยง รูปไข่ กลีบดอกรูปขอบขนาน กะบัง 2 ชั้น มีขนสั้นนุ่ม กะบังหน้ากลีบดอกแนบติดกลีบดอกประมาณกึ่งหนึ่ง จักลึก กะบังระหว่างกลีบดอกรูปแถบ สั้นกว่าเล็กน้อย ปลายแยก 2 แฉก รังไข่เกลี้ยง ผลเรียงติดกัน แยกกันเมื่อ แตก ผิวไม่มีช่องอากาศ มีขนละเอียด แหล่งที่พบ : จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม ชายป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ประโยชน์ : เปลือก เป็นยาช่วยเจริญอาหาร ยาง แก้โรคบิด ดอก เป็นยาระบาย ใบ ขับน้าเหลือง ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที่ 12 ห้อง 125
  • 7. พุดซ้อน ชื่อสามัญ : Windmill bush ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tabernaemontana pandacaqui Lam. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : พุดซ้อน, พุดป่า, พุดฝรั่ง, พุดสา, พุดสวน, พุดจีบ, เค็ดถวา, แคถวา ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 10 ม. กิ่งมีช่องอากาศและขนสั้นนุ่มประปราย ใบ รูปรีหรือรูปไข่ ปลายเแหลมยาว ช่อ ดอก ตาดอกปลายมนหรือกลม กลีบเลี้ยงรูปไข่ ปลายมนหรือแหลม มัก บิดเวียน ด้านในเกลี้ยง ผล รูปรี เบี้ยว มีสันตามยาว เมล็ดจานวนมาก รูปรี แหล่งที่พบ :จีนตอนใต้ ไต้หวัน ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย พบแทบทุกภาค โดยเฉพาะตามเขาหินปูนทางภาคใต้ ประโยชน์ : ยาง ทาเต้านมหลังคลอดลูกช่วยผลิตน้านม ดอก แก้โรคผิวหนัง ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที่ 12 ห้อง 125
  • 8. เคราฤาษี ชื่อสามัญ : Poison Arrow Vine ชื่อวิทยาศาสตร์ :Strophanthus preussii Engl. & Pax วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : เคราฤาษี, เคราตาแป๊ะ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มรอเลื้อย ยาวได้ถึง 10 ม. มียางใสหรือขาว ใบ เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูป ไข่ ช่อดอกแบบช่อกระจุกใบประดับกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ดอก สีขาวหรือสีครีมอมเหลือง มี 5 กลีบ สีขาวมีริ้วสี ม่วงอมน้าตาล เกสรเพศผู้ติดภายในหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น เกสรเพศเมียบางส่วนติดกันที่โคน ผล เป็นฝักคู่กางออก รูปทรงกระบอก ปลายโค้ง มีขนและช่องอากาศ เมล็ดจานวนมาก แหล่งที่พบ : แอฟริกาตะวันตก ประโยชน์ : ใช้อาบพิษหัวลูกศร ผู้รับผิดชอบ : นางสาวปาณิสรา ไวยสุระสิงห์ เลขที่ 12 ห้อง 125
  • 9. พริกนายพราน ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tabernaemontana bufalina Lour. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : พริกนายพราน, พริกป่าเล็ก, พริกพราน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. กิ่งมีช่อง อากาศ ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ปลายเแหลมยาวคล้าย หาง กลีบเลี้ยงรูปไข่ปลายแหลมยาว ดอกสีขาว หลอดกลีบ ยาว มีขนรอบ ๆ เกสรเพศผู้ ผลรูปขอบขนานเบี้ยวและคอด เล็กน้อย มีสันตื้น ๆ ตามยาว เมล็ดรูปรี แหล่งที่พบ : จีนตอนใต้ กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ประโยชน์ : ราก แก้ไข้ แก้ไอ แก้เจ็บคอ แก้ปวดท้อง แก้ท้องเสีย แก้ฝี สมานแผล ผู้รับผิดชอบ : นางสาววิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที่ 18 ห้อง 125
  • 10. ชวนชม ชื่อสามัญ : Impala Lily, Pink Bignonia, Mock Azalea, Desert Rose ชื่อวิทยาศาสตร์ : Adenium obesum (Forssk.) Roem. & Schult. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : ชวนชม, ลั่นทมแดง, ลั่นทมยะวา ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 1 เมตร ทุกส่วนมีน้ายางขาว โคนต้นมักอวบอ้วน ใบเดี่ยว เรียงสลับ ออกเป็นกลุ่มที่ยอด แผ่นใบหนาเป็นมัน ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อสั้นที่ปลาย กิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ สีสันมากมาย ผลเป็นฝักคู่ เมล็ดแบน มีกระจุกขนสีขาว แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิดที่แอฟริกาตะวันออก อาระเบียตอนใต้ พบในที่แสงแดดจัด ออกดอกตลอด ปี ปลูกในดินร่วน ทนแล้ง น้าปานกลางถึงน้อย ขยายพันธุ์โดยเพาะเมล็ด ปักชากิ่ง ประโยชน์ : ไม่พบสรรพคุณในทางยา เพราะยางของต้นชวนชมมีพิษ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ผู้รับผิดชอบ : นางสาววิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที่ 18 ห้อง 125
  • 11. ยี่โถ ชื่อสามัญ : Sweet Oleander, Rose bay ชื่อวิทยาศาสตร์: Nerium oleander L. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : ยี่โถ, ยี่โถฝรั่ง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 4-6 ม. แตกกิ่งใกล้ผิวดินจานวนมาก มีน้ายางขาว เปลือกสีน้าตาล เข้ม ใบเรียงรอบข้อ ข้อละ 3 ใบ ใบเดี่ยว รูปรีแกมขอบขนาน โคนใบและปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ใบ หนา ผิวเรียบเป็นมัน ดอก ช่อออกที่ปลายยอด กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกปลายแยกเป็น 5 กลีบ ดอกมี หลายสี เช่น ขาว เหลือง ชมพูและแดง ผล แห้งสีน้าตาล ผิวแข็ง แตกตามยาว เมล็ด มีขนเป็นพู่ที่ปลายข้าง หนึ่ง แหล่งที่พบ : ทุกภูมิประเทศ ยกเว้นที่ที่มีน้าท่วมขัง ประโยชน์ : ใช้ตกแต่งประดับสวน สามารถเอาไปวางไล่หนูหรือแมลงสาบได้ เนื่องจากลาต้นของมันมีน้ายาง พิษ ผู้รับผิดชอบ : นางสาววิมลิน คุณประคัลภ์ เลขที่ 18 ห้อง 125
  • 12. ตีนเป็ด ชื่อสามัญ : Blackboard tree, Devil tree, Indian devil tree, Milkwood pine, White cheesewood ชื่อวิทยาศาสตร์ : Alstonia scholaris (L.) R. Br. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : ตีนเป็ด, สัตตบรรณ, พญาสัตบรรณ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้น สูงถึง 40 เมตร ทุกส่วนมียางขาว ใบเดี่ยว เรียงเป็นวงรอบ 4-8 ใบ ดอกสี ขาวแกมเขียวออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง5กลีบกลีบดอกเป็นหลอด เกสรตัวผู้ติดอยู่ตรงกลางหลอดกลีบ ดอก ผลออกเป็นคู่ ผิวเกลี้ยง เมล็ดมีขนยาวสีขาว แหล่งที่พบ : พบตามป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง หรือป่าเบญจพรรณบริเวณริมน้า ที่ระดับความสูง 150-1,200 เมตร ประโยชน์ : เปลือก แก้ไข้มาเลเรีย ขับน้านม ราก เป็นยาขับลมในลาไส้ นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ไม้มงคล และ ให้ร่มเงา ,ทาเฟอร์นิเจอร์ ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที่ 20 ห้อง 125
  • 13. ระย่อมหลวง ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rauvolfis cambodiana Pierre ex Pitard วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : ขะย่อมตีนหมา, ขะย่อมหลวง, นางแย้ม, ระย่อม, ระย่อมหลวง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มสูงถึง 2 เมตร ทุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยวติดเวียน รอบข้อ ปลายและโคน ใบแหลม ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ยาว 5-10 ซม. กลีบรองดอกรูประฆัง ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมกันเป็นหลอดสีม่วงแดง เกสรผู้ 5 อัน ติดอยู่ด้านใน ผลสดสีเหลือง รูปไข่ ออกเป็นคู่แต่ไม่ติดกัน ภายในมีเมล็ดเดียว แหล่งที่พบ : พบในเวียดนาม และ กัมพูชา ประเทศไทยพบขึ้นตามป่าดิบและป่าเบญจพรรณเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ที่ระดับความสูงถึง 800 เมตร ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ประโยชน์ : ราก มีสารแอลคาลอยด์หลายชนิด ใช้แก้ไข้ และบารุงประสาท นิยมปลูกตามหมู่บ้านอย่างแพร่หลายเพื่อใช้เป็นยากลางบ้านหรือยาพื้นบ้าน ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที่ 20 ห้อง 125
  • 14. ขจร ชื่อสามัญ : Cowslip creeper ชื่อวิทยาศาสตร์ : Telosma cordata (Burm. f.) Merr. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : ขจร, สลิด ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเลื้อยพาดพันไม้อื่น มีน้ายางขาว เถาอ่อนสีเขียว มีขนนุ่มปกคลุม ใบเดี่ยว รูป ไข่ ปลายใบแหลม โคนใบเว้ารูปหัวใจ เรียงตรงข้าม ดอกออกเป็นช่อ กระจุกตามซอกใบ ดอกสีเหลืองอมเขียว มี กลิ่นหอมผลรูปกระสวย แห้งแล้วแตกตามยาว ภายในอัดแน่นด้วยเมล็ดจานวนมาก เมล็ดมีปุยขนสีขาวติด ช่วย ให้ปลิวตามลม ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม แหล่งที่พบ: เอเชียเขตร้อน ประเทศไทยอยู่ทางภาคกลางขึ้นไปจนถึงภาคเหนือ ประโยชน์ : ยอดอ่อน ดอก และผลอ่อน นามาประกอบอาหาร หรือต้มรับประทานกับน้าพริก ดอกสวยของขจร นอกจากจะรับประทานเป็นผักได้แล้ว ยังสามารถนามาใช้ในงานดอกไม้สด ด้วยการนาไปร้อย อุบะติดชายมาลัยหรือเครื่องแขวนต่าง ๆ , เถาต้นขจรใช้แทนเชือกได้ , ใช้ทาเป็นขนมที่เรียกว่า “ขนมดอกขจร” ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสาธิตา อมรสุนทรสิริ เลขที่ 20 ห้อง 125
  • 15. แพงพวยฝรั่ง ชื่อสามัญ : Madagascar periwinkle, West indian periwinkle ชื่อวิทยาศาสตร์ : Catharanthus roseus (L.) G. Don วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : แพงพวยฝรั่ง, นมอิน, ผักปอดบก, แพงพวงบก ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูง 20-60 เซนติเมตร ทุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยว เรียง ตรงข้าม รูปขอบขนาน รูปรี หรือรูปไข่กลับ โคนใบสอบ ปลายใบมน มีติ่งแหลม ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็น ช่อ 1-2 ดอก ตามซอกใบ กลีบดอก 5 กลีบ สีแดง ชมพู ขาว หรือม่วง เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายกลีบแผ่ แบน ผลเป็นฝักคู่ รูปกระสวย แตกตะเข็บด้านเดียว เมล็ดทรงกระบอก จานวนมาก แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิดมาจากมาดากัสการ์ ออกดอกตลอดปี ปลูกเลี้ยงในดินทุกประเภท แสงแดดจัด ทน แล้ง น้าปานกลางถึงน้อยขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ปักชากิ่ง ประโยชน์: ปลูกเป็นไม้ประดับ ผู้รับผิดชอบ : นางสาววรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที่ 16 ห้อง 125
  • 16. บานบุรี ชื่อสามัญ : Golden trumpet vine, Yellow bell ชื่อวิทยาศาสตร์ : Allamanda cathartica L. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : บานบุรีเหลือง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มรอเลื้อย ทุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียนรอบข้อ 3-5 ใบ รูปขอบ ขนาน รูปหอก หรือรูปรี แผ่นใบหนา เป็นมัน โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอก เป็นช่อตาม ซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูปแตร มีทั้งชนิดกลีบดอกชั้นเดียว และกลีบดอกซ้อน ผลทรงกลม มีหนาม เมื่อแก่แตกออก เมล็ดรูปไข่ จานวนมาก แหล่งที่พบ : ถิ่นกาเนิด อเมริกาเขตร้อน หมู่เกาะอินดีสตะวันตก ออกดอก ตลอดปี การปลูกเลี้ยง ดินร่วน ปนทราย แสงแดดจัด ทนแล้ง น้าปานกลางถึงน้อย ขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ปักชากิ่ง ประโยชน์ :ปลูกเป็นไม้ประดับ ผู้รับผิดชอบ : นางสาววรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที่ 16 ห้อง 125
  • 17. ผักฮ้วน ชื่อสามัญ : ไม่ปรากฏข้อมูล ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dregea volubillis Stapf วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อพื้นเมือง : กระทุงหมาบ้า, เครือเขาหมู, มวนหูกวาง, เถาคัน, ผักสาบ, ผักสัง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้เถา เถากลมสีน้าตาลอมเทา เถาแก่มีปุ่มปมและมีรูอากาศกระจายอยู่ ทั่วไป มียางสีขาว เป็นใบเดี่ยว รูปไข่ ปลายใบแหลม ดอก เป็นช่อกระจุกตามซอกใบ ดอกสีเขียวอ่อน กลีบ เลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนเชื่อมติดกัน ปลายมน บิดเวียน ผล เป็นฝักคู่ ปลายฝักเรียว โคนฝัก ป่อง ผิวมีขนสีน้าตาล เมล็ดสีน้าตาลมีปีกและขนเป็นพู่สีขาว แหล่งที่พบ : มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดียจนถึงจีนตอนใต้ ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย และ ฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบขึ้นตามบริเวณป่าดิบ ป่าราบ หรือบริเวณชายป่าทั่วทุกภาคของประเทศ ประโยชน์: รากทาให้อาเจียนขับพิษได้ แก้บวม แก้ฝี ลาต้น ใช้ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ ขับปัสสาวะ แก้ปวด ศรีษะ ใบ แก้แผลน้าร้อนลวก ผู้รับผิดชอบ : นางสาววรัทย์ริษา พัฒนอภิวสุ เลขที่ 16 ห้อง 125
  • 18. กิตติกรรมประกาศ การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างสูง ยิ่งจาก ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ประจาวิชาชีววิทยา(ว30246) ที่ได้ให้คาปรึกษา และแนะนา ขั้นตอนวิธีการทาต่างๆ คณะผู้จัดทา ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา เพื่อนนักเรียน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่นี้ ที่ได้มีส่วนช่วยเหลือให้การสืบค้นนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ท้ายที่สุด คณะผู้จัดทาโครงงานหวังว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับ ผู้สนใจไม่มากก็น้อย คณะผู้จัดทา
  • 19. แหล่งอ้างอิง 1. องค์การสวนพฤกษศาสตร์. แพงพวยฝรั่ง. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2317. 2. องค์การสวนพฤกษศาสตร์. ชวนชม. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2285. 3. สานักงานหอพรรณไม้. พริกนายพราน. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsLinkno=3883&words=พริกนายพราน&typeword=word. 4. สานักงานหอพรรณไม้. ยี่โถ. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words= ยี่โถ&typeword=group. 5. สานักงานหอพรรณไม้. เคราฤาษี. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsnamesci=Strophanthus0preussii0Engl.010Pax 6. องค์การสวนพฤกษศาสตร์. โมก. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก www.qsbg.org 7. MedThai. บานบุรีเหลือง. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก https://medthai.com/บานบุรีเหลือง/. 8. MedThai. ตีนเป็ด. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก https://medthai.com/ตีนเป็ด/. 9. MedThai. ขจร. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก https://medthai.com/ขจร/. 10. สานักงานหอพรรณไม้. พุดจีบ. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsLinkno=4060&words=พุดจีบ&typeword=word 11. สานักงานหอพรรณไม้. ระย่อมหลวง. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words=ระย่อมหลวง&typeword=group. 12. MedThai. กระทุ้งหมาบ้า. วันที่สืบค้น 15 ธันวาคม 2560. จาก https://medthai.com/กระทุ้งหมาบ้า/.