SlideShare a Scribd company logo
สาระที่4 แรงและการเคลื่อนที่ 
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม 
1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายปริมาณ สเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ (ว 4.1 ม. 1/1) 
2. ทดลองและอธิบายระยะทาง การ กระจัด อัตราเร็ว และความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ (ว 4.1 ม. 1/2) 
สาระที่ 5 พลังงาน 
มาตรฐาน 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ระหว่างงานและพลัง 
ผลของการใช้พลังงานสงิ่มีชีวิตต่อสิ่งมีชีวิตและสงิ่แวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
3. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ (ว 5.1 ม. 1/1) 
4. สังเกตและอธิบายการถ่ายโอนความร้อนและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ว 5.1 ม. 1/2) 
5. อธิบายการดูดกลืน การคายความ ร้อนโดยการแผ่รังสีและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ (ว 5.1 ม. 1/3) 
6. อธิบายสมดุลความร้อนและผลของ ความร้อนต่อการขยายตัวของสารและนาความรู้ไปใช้ในชีวิต 
ประจาวัน (ว 5.1 ม. 1/4)
สาระที่6 กระบวนการเปลยี่นแปลงของโลก 
มาตรฐาน ว 6.1 กระบวนการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึน้บนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ 
กระบวนการต่างๆที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และ สัณฐานของโลก 
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสงิ่ที่เรียนรู้และนาไปใช้ประโยชน์ 
7. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชัน้บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก (ว 6.1 ม. 1/1) 
8.ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความชืน้ และความกดอากาศที่มีผลต่อปรากฏการณ์ 
ทางลม ฟ้ าอากาศ (ว 6.1 ม. 1/2) 
9.สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีผล ต่อมนุษย์ (ว 6.1 ม. 1/3) 
10. สืบค้น วิเคราะห์ และแปลความหมายข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ (ว 6.1 ม. 1/4) 
11.สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อการดารงชีวิตของสงิ่มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 
(ว 6.1 ม. 1/5) 
12.สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทาของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง 
อุณหภูมิของโลก รูโหว่โอโซนและฝนกรด ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว 6.1 ม. 1/6)
13. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของภาวะโลกร้อน รูโหว่โอโซน และฝนกรดที่ มีต่อสิ่งมีชีวิตและ 
สิ่งแวดล้อม (ว 6.1 ม. 1/7) 
รงและการเคลอื่นที่ 
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ 
1. เวกเตอร์ของแรง 
แรง หมายถึง สิ่งที่สามารถทาให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทาให้วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึน้หรือช้าลง 
หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้ 
ปริมาณทางฟิสิกส์ มี 2 ชนิด คือ 
1. ปริมาณเวกเตอร์ หมายถึงปริมาณที่มีทัง้ขนาดและทิศทาง เช่น แรง ความเร็ว นา้หนัก 
2. ปริมาณสเกลาร์ หมายถึง ปริมาณที่มีแต่ขนาดอย่างเดียว ไม่มีทิศทาง เช่น พลังงาน อุณหภูมิ เวลา พืน้ที่ 
ปริมาตร อัตราเร็ว 
การเขียนเวกเตอร์ของแรง 
ใช้ความยาวของส่วนเส้นตรงแทนขนาดของแรง และหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง 
2. การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ 
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 
1. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงที่ไปทิศทางเดียวกันตลอด เช่น โยนวัตถุขึน้ไปตรงๆ 
รถยนต์ กาลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง 
2. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นเส้นตรง แต่มีการเคลื่อนที่กลับทิศด้วย เช่น รถแล่นไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง 
เมื่อรถมีการเลีย้วกลับทิศทาง ทาให้ทิศทางในการเคลื่อนที่ตรงข้ามกัน 
2.2 อัตราเร็ว ความเร่ง และความหน่วงในการเคลอื่นที่ของวัตถุ
1. อัตราเร็วในการเคลอื่นที่ของวัตถุ คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ใน 1 หน่วยเวลา 
2. ความเร่งในการเคลื่อนที่ หมายถึง ความเร็วที่เพิ่มขึน้ใน 1 หน่วยเวลา เช่น วัตถุตกลงมาจากที่สูงในแนวดิ่ง 
3. ความหน่วงในการเคลอื่นที่ของวัตถุ หมายถึง ความเร็วที่ลดลงใน 1 หน่วยเวลา เช่น โยนวัตถุขึน้ตรงๆ 
ไปในท้องฟ้ า 
3. การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจาวัน 
3.1 การเคลื่อนที่แบบวงกลม หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง 
เกิดขึน้เนื่องจากวัตถุที่กาลังเคลอื่นที่จะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ขณะนัน้มีแรงดึงวัตถุเข้าสศูู่นย์กลางของวงกลม 
เรียกว่า แรงเข้าสู่ศูนย์กลางการเคลอื่นที่ จึงทาให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เช่น 
การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก 
3.2 การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุขนานกับพืน้โลก เช่น 
รถยนต์ที่กาลังแล่นอยู่บนถนน 
3.3 การเคลื่อนที่แนววิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนที่ผสมระหว่างการเคลอื่นที่ในแนวดิ่งและในแนวราบ 
หน่วยที่ 2 แรงในแบบต่างๆ 
1. ชนิดของแรง 
1.1 แรงย่อย คือ แรงที่เป็นส่วนประกอบของแรงลัพธ์ 
1.2 แรงลัพธ์ คือ แรงรวมซึ่งเป็นผลรวมของแรงย่อย ซึ่งจะต้องเป็นการรวมกันแบบปริมาณเวกเตอร์ 
1.3 แรงขนาน คือ แรงที่ที่มีทิศทางขนานกัน ซึ่งอาจกระทาที่จุดเดียวกันหรือต่างจุดกันก็ได้ มีอยู่ 2 ชนิด 
- แรงขนานพวกเดียวกัน หมายถึง แรงขนานที่มีทิศทางไปทางเดียวกัน 
- แรงขนานต่างพวกกัน หมายถึง แรงขนานที่มีทิศทางตรงข้ามกัน 
1.4 แรงหมุน หมายถึง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ทาให้วัตถุเคลื่อนที่โดยหมุนรอบจุดหมุน ผลของการหมุนของ เรียกว่า 
โมเมนต์ เช่น การปิด-เปิด ประตูหน้าต่าง 
1.5 แรงคู่ควบ คือ แรงขนานต่างพวกกันคหู่นึ่งที่มีขนาดเท่ากัน แรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์ และวัตถุที่ถูกแรงคู่ควบกระทา 
1 คู่กระทา จะไม่อยู่นิ่งแต่จะเกิดแรงหมุน
1.6 แรงดึง คือ แรงที่เกิดจากการเกร็งตัวเพอื่ต่อต้านแรงกระทาของวัตถุ เป็นแรงที่เกิดในวัตถุที่ลักษณะยาวๆ เช่น 
เส้นเชือก เส้นลวด 
1.7 แรงสู่ศูนย์กลาง หมายถึง แรงที่มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของวงกลมหรือทรงกลมอันหนึ่งๆ เสมอ 
1.8 แรงต้าน คือ 
แรงที่มีทิศทางต่อต้านการเคลื่อนที่หรือทิศทางตรงข้ามกับแรงที่พยายามจะทาให้วัตถุเกิดการเคลอื่นที่ เช่น 
แรงต้านของอากาศ แรงเสียดทาน 
1.9 แรงโน้มถ่วงของโลก คือ แรงดึงดูดที่มวลของโลกกระทากับมวลของวัตถุ เพื่อดึงดูดวัตถุนัน้เข้าสศูู่นย์กลางของโลก 
- นา้หนักของวัตถุ เกิดจากความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลกมากกระทาต่อวัตถุ 
1.10 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา 
- แรงกิริยา คือ แรงที่กระทาต่อวัตถุที่จุดจุดหนึ่ง อาจเป็นแรงเพียงแรงเดียวหรือแรงลัพธ์ของแรงย่อยก็ได้ 
- แรงปฏิกิริยา คือ แรงที่กระทาตอบโต้ต่อแรงกิริยาที่จุดเดียวกัน โดยมีขนาดเท่ากับแรงกิริยา 
แต่ทิศทางของแรงทัง้สองจะตรงข้ามกัน 
2. แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยากับการเคลื่อนที่ของวัตถุ 
2.1 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยแรงกิริยา เป็นการเคลอื่นที่ของวัตถุตามแรงที่กระทา เช่น การขว้างลูกหินออกไป 
2.2 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยแรงปฏิกิริยา 
เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุเนื่องจากมีแรงขับดันวัตถุให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกันข้าม เช่น การเคลื่อนที่ของจรวด 
หน่วยที่ 3 แรงเสียดทาน 
1. ความหมายของแรงเสียดทาน 
แรงเสียดทาน คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเกิดขึน้ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ 
เกิดขึน้ทัง้วัตถุที่เคลื่อนที่และไม่เคลื่อนที่ และจะมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ 
แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ 
1. แรงเสียดทานสถิต คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึน้ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุในสภาวะที่วัตถุได้รับแรงกระทาแล้วอยู่นิ่ง
2. แรงเสียดทานจลน์ คือ 
แรงเสียดทานที่เกิดขึน้ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุในสภาวะที่วัตถุได้รับแรงกระทาแล้วเกิดการเคลอื่นที่ด้วยความเร็วคงที่ 
2. การลดและเพมิ่แรงเสียดทาน 
การลดแรงเสียดทาน สามารถทาได้หลายวิธี 
1. การขัดถูผิววัตถุให้เรียบและลื่น 
2. การใช้สารล่อลื่น เช่น นา้มัน 
3. การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ล้อ ตลับลูกปืน และบุช 
4. ลดแรงกดระหว่างผิวสัมผัส เช่น ลดจานวนสิ่งที่บรรทุกให้น้อยลง 
5. ออกแบบรูปร่างยานพาหนะให้อากาศไหลผ่านได้ดี 
การเพิ่มแรงเสียดทาน สามารถทาได้หลายวิธี 
1. การทาลวดลาย เพื่อให้ผิวขรุขระ 
2. การเพิ่มผิวสัมผัส เช่น การออกแบบหน้ายางรถยนต์ให้มีหน้ากว้างพอเหมาะ 
หน่วยที่ 4 โมเมนต์ของแรง 
1. ความหมายของโมเมนต์ 
โมเมนต์ของแรง หรือ โมเมนต์ หมายถึง ผลคูณของแรงกับระยะตัง้ฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน 
มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร 
โมเมนต์(นิวตัน-เมตร) = แรง(นิวตัน) X ระยะตัง้ฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน(เมตร) 
2. ชนิดของโมเมนต์ 
โมเมนต์ของแรงแบ่งตามทิศการหมุนได้เป็น 2 ชนิด
1. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา 
2. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา 
3. หลักการของโมเมนต์ 
ถ้ามีแรงหลายแรงกระทาต่อวัตถุชิน้หนึ่ง แล้วทาให้วัตถุนัน้สมดุลจะได้ว่า 
ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา 
ตัวอย่างที่ 1 ยาว 4 เมตร นาไปงัดก้อนหินหนัก 400 N ให้เคลื่อนที่ ถ้าต้องการออกแรงเพียง 100 N 
ควรจะนาก้อนหินก้อนเล็กๆ มาหนุนไม้ที่ตาแหน่งใด 
ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา 
(M ตาม = M ทวน) 
400 (4 - X) = 100X 
1600 - 400X = 100X 
X = 3.2 m 
ดังนัน้ จะต้องนาก้อนหินเล็กหนุนไม้ห่างจากก้อนหิน 3.2 m ตอบ 
ตัวอย่าง 2 แขวนไม้กับเพดานดังรูป วัตถุ y ควรหนักเท่าใด จึงจะทาให้ไม้สมดุล 
ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา 
(M ทวน = M ตาม) 
(20 x 2.5) + (Y x 0.5) = 40 x 1.5 
50 + 0.5Y = 60 
Y = 20 N
4. โมเมนต์ในชีวิตประจาวัน 
โมเมนต์เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวันของเราเป็นอย่างมาก 
แม้แต่การเคลื่อนไหวของอวัยวะบางส่วนของร่างกาย การใช้เครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่างๆ หลายชนิด เช่น 
5. ประโยชน์โมเมนต์ 
จากหลักการของโมเมนต์จะพบว่า 
เมื่อมีแรงขนาดต่างกันมากระทาต่อวัตถุคนละด้านกับจุดหมุนที่ระยะห่างจากจุดหมุนต่างกัน 
วัตถุนัน้ก็สามารถอยู่ในภาวะสมดุลได้ หลักการของโมเมนต์จึงช่วยให้เราออกแรงน้อยๆ แต่สามารถยกนา้หนักมากๆ ได้ง 
http://www.ben.ac.th/obeclms/file/information_ben/science/wichai/w31181chapter2.pdf

More Related Content

What's hot

03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
wiriya kosit
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Yai Wanichakorn
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxkrupornpana55
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมkrupayom
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
PumPui Oranuch
 
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์krupornpana55
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)Chatwan Wangyai
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 

What's hot (20)

03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัม
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
 
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 1  แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ ทดสอบก่อนเรียน
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
แรง
แรงแรง
แรง
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 

Viewers also liked

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
dnavaroj
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
Nang Ka Nangnarak
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางAon Narinchoti
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
spk906
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศChao Chao
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีChao Chao
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมChao Chao
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Chao Chao
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์Chao Chao
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาChao Chao
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะChao Chao
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 

Viewers also liked (18)

แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 

Similar to ตัวชี้วัด ม.1

โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
supphawan
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
supphawan
 
สรุปแรงฯ
สรุปแรงฯสรุปแรงฯ
สรุปแรงฯJiraporn
 
สรุปแรงฯ
สรุปแรงฯสรุปแรงฯ
สรุปแรงฯ
Jiraporn
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
nang_phy29
 
ใบความรู้ ทบทวนแรง ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-4page
ใบความรู้  ทบทวนแรง  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-4pageใบความรู้  ทบทวนแรง  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-4page
ใบความรู้ ทบทวนแรง ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ ทบทวนแรง ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-1page
ใบความรู้  ทบทวนแรง  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-1pageใบความรู้  ทบทวนแรง  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-1page
ใบความรู้ ทบทวนแรง ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55krupornpana55
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.Worrachet Boonyong
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
Wichai Likitponrak
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
Weerachat Martluplao
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
rutchaneechoomking
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
wiriya kosit
 
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ssuser7ea064
 

Similar to ตัวชี้วัด ม.1 (20)

โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
สรุปแรงฯ
สรุปแรงฯสรุปแรงฯ
สรุปแรงฯ
 
สรุปแรงฯ
สรุปแรงฯสรุปแรงฯ
สรุปแรงฯ
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 
ใบความรู้ ทบทวนแรง ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-4page
ใบความรู้  ทบทวนแรง  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-4pageใบความรู้  ทบทวนแรง  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-4page
ใบความรู้ ทบทวนแรง ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-4page
 
ใบความรู้ ทบทวนแรง ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-1page
ใบความรู้  ทบทวนแรง  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-1pageใบความรู้  ทบทวนแรง  ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-1page
ใบความรู้ ทบทวนแรง ป.1+215+dltvscip1+55t2sci p01 f36-1page
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
1.แรงและการเคลื่อนที่gs แรงลัพธ์action
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
 
Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docxตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
ตารางวิเคราะห์สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วัด.docx
 

ตัวชี้วัด ม.1

  • 1. สาระที่4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายปริมาณ สเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ (ว 4.1 ม. 1/1) 2. ทดลองและอธิบายระยะทาง การ กระจัด อัตราเร็ว และความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ (ว 4.1 ม. 1/2) สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ระหว่างงานและพลัง ผลของการใช้พลังงานสงิ่มีชีวิตต่อสิ่งมีชีวิตและสงิ่แวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 3. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ (ว 5.1 ม. 1/1) 4. สังเกตและอธิบายการถ่ายโอนความร้อนและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ว 5.1 ม. 1/2) 5. อธิบายการดูดกลืน การคายความ ร้อนโดยการแผ่รังสีและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ (ว 5.1 ม. 1/3) 6. อธิบายสมดุลความร้อนและผลของ ความร้อนต่อการขยายตัวของสารและนาความรู้ไปใช้ในชีวิต ประจาวัน (ว 5.1 ม. 1/4)
  • 2. สาระที่6 กระบวนการเปลยี่นแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6.1 กระบวนการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึน้บนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่างๆที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และ สัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสงิ่ที่เรียนรู้และนาไปใช้ประโยชน์ 7. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชัน้บรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก (ว 6.1 ม. 1/1) 8.ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความชืน้ และความกดอากาศที่มีผลต่อปรากฏการณ์ ทางลม ฟ้ าอากาศ (ว 6.1 ม. 1/2) 9.สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศที่มีผล ต่อมนุษย์ (ว 6.1 ม. 1/3) 10. สืบค้น วิเคราะห์ และแปลความหมายข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ (ว 6.1 ม. 1/4) 11.สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของลมฟ้าอากาศต่อการดารงชีวิตของสงิ่มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว 6.1 ม. 1/5) 12.สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยทางธรรมชาติและการกระทาของมนุษย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิของโลก รูโหว่โอโซนและฝนกรด ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว 6.1 ม. 1/6)
  • 3. 13. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายผลของภาวะโลกร้อน รูโหว่โอโซน และฝนกรดที่ มีต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม (ว 6.1 ม. 1/7) รงและการเคลอื่นที่ หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ 1. เวกเตอร์ของแรง แรง หมายถึง สิ่งที่สามารถทาให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทาให้วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึน้หรือช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้ ปริมาณทางฟิสิกส์ มี 2 ชนิด คือ 1. ปริมาณเวกเตอร์ หมายถึงปริมาณที่มีทัง้ขนาดและทิศทาง เช่น แรง ความเร็ว นา้หนัก 2. ปริมาณสเกลาร์ หมายถึง ปริมาณที่มีแต่ขนาดอย่างเดียว ไม่มีทิศทาง เช่น พลังงาน อุณหภูมิ เวลา พืน้ที่ ปริมาตร อัตราเร็ว การเขียนเวกเตอร์ของแรง ใช้ความยาวของส่วนเส้นตรงแทนขนาดของแรง และหัวลูกศรแสดงทิศทางของแรง 2. การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ 2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงที่ไปทิศทางเดียวกันตลอด เช่น โยนวัตถุขึน้ไปตรงๆ รถยนต์ กาลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง 2. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นเส้นตรง แต่มีการเคลื่อนที่กลับทิศด้วย เช่น รถแล่นไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง เมื่อรถมีการเลีย้วกลับทิศทาง ทาให้ทิศทางในการเคลื่อนที่ตรงข้ามกัน 2.2 อัตราเร็ว ความเร่ง และความหน่วงในการเคลอื่นที่ของวัตถุ
  • 4. 1. อัตราเร็วในการเคลอื่นที่ของวัตถุ คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ใน 1 หน่วยเวลา 2. ความเร่งในการเคลื่อนที่ หมายถึง ความเร็วที่เพิ่มขึน้ใน 1 หน่วยเวลา เช่น วัตถุตกลงมาจากที่สูงในแนวดิ่ง 3. ความหน่วงในการเคลอื่นที่ของวัตถุ หมายถึง ความเร็วที่ลดลงใน 1 หน่วยเวลา เช่น โยนวัตถุขึน้ตรงๆ ไปในท้องฟ้ า 3. การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจาวัน 3.1 การเคลื่อนที่แบบวงกลม หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เกิดขึน้เนื่องจากวัตถุที่กาลังเคลอื่นที่จะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ขณะนัน้มีแรงดึงวัตถุเข้าสศูู่นย์กลางของวงกลม เรียกว่า แรงเข้าสู่ศูนย์กลางการเคลอื่นที่ จึงทาให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เช่น การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก 3.2 การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุขนานกับพืน้โลก เช่น รถยนต์ที่กาลังแล่นอยู่บนถนน 3.3 การเคลื่อนที่แนววิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนที่ผสมระหว่างการเคลอื่นที่ในแนวดิ่งและในแนวราบ หน่วยที่ 2 แรงในแบบต่างๆ 1. ชนิดของแรง 1.1 แรงย่อย คือ แรงที่เป็นส่วนประกอบของแรงลัพธ์ 1.2 แรงลัพธ์ คือ แรงรวมซึ่งเป็นผลรวมของแรงย่อย ซึ่งจะต้องเป็นการรวมกันแบบปริมาณเวกเตอร์ 1.3 แรงขนาน คือ แรงที่ที่มีทิศทางขนานกัน ซึ่งอาจกระทาที่จุดเดียวกันหรือต่างจุดกันก็ได้ มีอยู่ 2 ชนิด - แรงขนานพวกเดียวกัน หมายถึง แรงขนานที่มีทิศทางไปทางเดียวกัน - แรงขนานต่างพวกกัน หมายถึง แรงขนานที่มีทิศทางตรงข้ามกัน 1.4 แรงหมุน หมายถึง แรงที่กระทาต่อวัตถุ ทาให้วัตถุเคลื่อนที่โดยหมุนรอบจุดหมุน ผลของการหมุนของ เรียกว่า โมเมนต์ เช่น การปิด-เปิด ประตูหน้าต่าง 1.5 แรงคู่ควบ คือ แรงขนานต่างพวกกันคหู่นึ่งที่มีขนาดเท่ากัน แรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์ และวัตถุที่ถูกแรงคู่ควบกระทา 1 คู่กระทา จะไม่อยู่นิ่งแต่จะเกิดแรงหมุน
  • 5. 1.6 แรงดึง คือ แรงที่เกิดจากการเกร็งตัวเพอื่ต่อต้านแรงกระทาของวัตถุ เป็นแรงที่เกิดในวัตถุที่ลักษณะยาวๆ เช่น เส้นเชือก เส้นลวด 1.7 แรงสู่ศูนย์กลาง หมายถึง แรงที่มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของวงกลมหรือทรงกลมอันหนึ่งๆ เสมอ 1.8 แรงต้าน คือ แรงที่มีทิศทางต่อต้านการเคลื่อนที่หรือทิศทางตรงข้ามกับแรงที่พยายามจะทาให้วัตถุเกิดการเคลอื่นที่ เช่น แรงต้านของอากาศ แรงเสียดทาน 1.9 แรงโน้มถ่วงของโลก คือ แรงดึงดูดที่มวลของโลกกระทากับมวลของวัตถุ เพื่อดึงดูดวัตถุนัน้เข้าสศูู่นย์กลางของโลก - นา้หนักของวัตถุ เกิดจากความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลกมากกระทาต่อวัตถุ 1.10 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา - แรงกิริยา คือ แรงที่กระทาต่อวัตถุที่จุดจุดหนึ่ง อาจเป็นแรงเพียงแรงเดียวหรือแรงลัพธ์ของแรงย่อยก็ได้ - แรงปฏิกิริยา คือ แรงที่กระทาตอบโต้ต่อแรงกิริยาที่จุดเดียวกัน โดยมีขนาดเท่ากับแรงกิริยา แต่ทิศทางของแรงทัง้สองจะตรงข้ามกัน 2. แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยากับการเคลื่อนที่ของวัตถุ 2.1 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยแรงกิริยา เป็นการเคลอื่นที่ของวัตถุตามแรงที่กระทา เช่น การขว้างลูกหินออกไป 2.2 วัตถุเคลื่อนที่ด้วยแรงปฏิกิริยา เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุเนื่องจากมีแรงขับดันวัตถุให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงกันข้าม เช่น การเคลื่อนที่ของจรวด หน่วยที่ 3 แรงเสียดทาน 1. ความหมายของแรงเสียดทาน แรงเสียดทาน คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเกิดขึน้ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ เกิดขึน้ทัง้วัตถุที่เคลื่อนที่และไม่เคลื่อนที่ และจะมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ 1. แรงเสียดทานสถิต คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึน้ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุในสภาวะที่วัตถุได้รับแรงกระทาแล้วอยู่นิ่ง
  • 6. 2. แรงเสียดทานจลน์ คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึน้ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุในสภาวะที่วัตถุได้รับแรงกระทาแล้วเกิดการเคลอื่นที่ด้วยความเร็วคงที่ 2. การลดและเพมิ่แรงเสียดทาน การลดแรงเสียดทาน สามารถทาได้หลายวิธี 1. การขัดถูผิววัตถุให้เรียบและลื่น 2. การใช้สารล่อลื่น เช่น นา้มัน 3. การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ล้อ ตลับลูกปืน และบุช 4. ลดแรงกดระหว่างผิวสัมผัส เช่น ลดจานวนสิ่งที่บรรทุกให้น้อยลง 5. ออกแบบรูปร่างยานพาหนะให้อากาศไหลผ่านได้ดี การเพิ่มแรงเสียดทาน สามารถทาได้หลายวิธี 1. การทาลวดลาย เพื่อให้ผิวขรุขระ 2. การเพิ่มผิวสัมผัส เช่น การออกแบบหน้ายางรถยนต์ให้มีหน้ากว้างพอเหมาะ หน่วยที่ 4 โมเมนต์ของแรง 1. ความหมายของโมเมนต์ โมเมนต์ของแรง หรือ โมเมนต์ หมายถึง ผลคูณของแรงกับระยะตัง้ฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร โมเมนต์(นิวตัน-เมตร) = แรง(นิวตัน) X ระยะตัง้ฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน(เมตร) 2. ชนิดของโมเมนต์ โมเมนต์ของแรงแบ่งตามทิศการหมุนได้เป็น 2 ชนิด
  • 7. 1. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา 2. โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา 3. หลักการของโมเมนต์ ถ้ามีแรงหลายแรงกระทาต่อวัตถุชิน้หนึ่ง แล้วทาให้วัตถุนัน้สมดุลจะได้ว่า ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา ตัวอย่างที่ 1 ยาว 4 เมตร นาไปงัดก้อนหินหนัก 400 N ให้เคลื่อนที่ ถ้าต้องการออกแรงเพียง 100 N ควรจะนาก้อนหินก้อนเล็กๆ มาหนุนไม้ที่ตาแหน่งใด ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา (M ตาม = M ทวน) 400 (4 - X) = 100X 1600 - 400X = 100X X = 3.2 m ดังนัน้ จะต้องนาก้อนหินเล็กหนุนไม้ห่างจากก้อนหิน 3.2 m ตอบ ตัวอย่าง 2 แขวนไม้กับเพดานดังรูป วัตถุ y ควรหนักเท่าใด จึงจะทาให้ไม้สมดุล ผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา = ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา (M ทวน = M ตาม) (20 x 2.5) + (Y x 0.5) = 40 x 1.5 50 + 0.5Y = 60 Y = 20 N
  • 8. 4. โมเมนต์ในชีวิตประจาวัน โมเมนต์เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวันของเราเป็นอย่างมาก แม้แต่การเคลื่อนไหวของอวัยวะบางส่วนของร่างกาย การใช้เครื่องใช้หรืออุปกรณ์ต่างๆ หลายชนิด เช่น 5. ประโยชน์โมเมนต์ จากหลักการของโมเมนต์จะพบว่า เมื่อมีแรงขนาดต่างกันมากระทาต่อวัตถุคนละด้านกับจุดหมุนที่ระยะห่างจากจุดหมุนต่างกัน วัตถุนัน้ก็สามารถอยู่ในภาวะสมดุลได้ หลักการของโมเมนต์จึงช่วยให้เราออกแรงน้อยๆ แต่สามารถยกนา้หนักมากๆ ได้ง http://www.ben.ac.th/obeclms/file/information_ben/science/wichai/w31181chapter2.pdf