SlideShare a Scribd company logo
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน                (friction) เป็นแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่ หรือกำาลังเคลื่อนที่ไปบนผิวของอีกวัตถุ

เนื่องจากมีแรงมากระทำา มีลักษณะที่สำาคัญ ดังนี้

1. เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ

2. มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่หรือตรงข้ามทิศทางของแรงที่พยายามทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ดังรูป




รูปแสดงลักษณะของแรงเสียดทาน

ถ้าวาง A อยู่บนวัตถุ B ออกแรง       ลากวัตถุ วัตถุ A จะเคลื่อนที่หรือไม่ก็ตาม จะมีแรงเสียดทานเกิดขึ้นระหว่างผิวของ A และ B

แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับแรง           ที่พยายามต่อต้านการเคลื่อนที่ของ A



ประเภทของแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ

1.
     แรงเสียดทานสถิต (static friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ ในสภาวะที่วัตถุได้
รับแรงกระทำาแล้วอยู่นิ่ง

2.
     แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ ในสภาวะที่วัตถุ
ได้รับแรงกระทำาแล้วเกิดการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่



ปัจจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ

1.
     แรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถ้าแรงกดตัวฉากกับผิวสัมผัสมากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถ้าแรงกดตั้งฉาก
กับผิวสัมผัสน้อยจะเกิดแรงเสียดทานน้อย ดังรูป




รูป ก แรงเสียดทานน้อย รูป ข แรงเสียดทานมาก

2.
     ลักษณะของผิวสัมผัส ถ้าผิวสัมผัสหยาบ ขรุขระจะเกิดแรงเสียดทานมาก ดังรูป ก ส่วนผิวสัมผัสเรียบลื่นจะ
เกิดแรงเสียดทานน้อยดังรูป ข




รูป ก แรงเสียดทานมาก รูป ข แรงเสียดทานน้อย

3.
     ชนิดของผิวสัมผัส เช่น คอนกรีตกับเหล็ก เหล็กกับไม้ จะเห็นว่าผิวสัมผัสแต่ละคู่ มีความหยาบ ขรุขระ หรือ
เรียบลื่น เป็นมันแตกต่างกัน ทำาให้เกิดแรงเสียดทานไม่เท่ากัน



การลดแรงเสียดทาน
การลดแรงเสียดทานสามารถทำาได้หลายวิธีดังนี้

1. การใช้นำ้ามันหล่อลื่นหรือจาระบี

2. การใช้ระบบลูกปืน

3. การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ตลับลูกปืน

4. การออกแบบรูปร่างของยานพาหนะให้เพรียวลมทำาให้ลดแรงเสียดทาน
รูปแสดงรูปร่างของเรือที่เพียวลมเพื่อลดแรงเสียดทาน


การเพิ่มแรงเสียดทาน
การเพิ่มแรงเสียดทานในด้านความปลอดภัยของมนุษย์ เช่น

1. ยางรถยนต์มีดอกยางเป็นลวดลาย มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนน ดังรูป




รูปแสดงยางรถยนต์ที่มีลวดลาย

2. การหยุดรถต้องเพิ่มแรงเสียดทานที่เบรก เพื่อหยุดหรือทำาให้รถแล่นช้าลง

3. รองเท้าบริเวณพื้นต้องมีลวดลาย เพือเพิ่มแรงเสียดทานทำาให้เวลาเดินไม่ลื่นหกล้มได้ง่าย ดังรูป
                                    ่
รูปแสดงพื้นรองเท้าที่มีลวดลาย

4. การปูพื้นห้องนำ้าควรใช้กระเบื้องที่มีผิวขรุขระ เพือช่วยเพิ่มแรงเสียดทาน เวลาเปียกนำ้าจะได้ไม่ลื่นล้ม ดังรูป
                                                     ่




รูปแสดงการปูพื้นด้วยกระเบื้องยาง


สมบัติของแรงเสียดทาน
1. แรงเสียดทานมีค่าเป็นศูนย์ เมื่อวัตถุไม่มีแรงภายนอกมากระทำา

2. ขณะที่มีแรงภายนอกมากระทำาต่อวัตถุ และวัตถุยังไม่เคลื่อนที่ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นมีขนาดต่างๆ กัน ตามขนาดของแรง

ที่มากระทำา และแรงเสียดทานที่มีค่ามากที่สุดคือ แรงเสียดทานสถิต เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเริมเคลื่อนที่
                                                                                                      ่

3. แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ

4. แรงเสียดทานสถิตมีค่าสูงกว่าแรงเสียดทานจลน์เล็กน้อย

5. แรงเสียดทานจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กบลักษณะของผิวสัมผัส ผิวสัมผัสหยาบหรือขรุขระจะมีแรงเสียดทานมากกว่าผิว
                                         ั

เรียบและลื่น

6. แรงเสียดทานขึ้นอยู่กบนำ้าหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กดลงบนพื้น ถ้านำ้าหนักหรือแรงกดมากแรงเสียดทานก็จะมากขึ้นด้วย
                       ั

7. แรงเสียดทานไม่ขึ้นอยู่กบขนาดหรือพื้นที่ของผิวสัมผัส
                          ั
การคำานวณหาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน
สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสคู่หนึ่งๆ คือ อัตราส่วนระหว่างแรงเสียดทานต่อแรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส




ตัวอย่างที่ 1 ออกแรง 20 นิวตัน ลากวัตถุไปตามพื้นราบ ถ้าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน = 10 จงคำานวณหานำ้าหนัก
ของวัตถุ


วิธีทำา
ตอบ




ตัวอย่างที่ 2 วัตถุ ก มีแรงกดลงบนพื้นโต๊ะ 30 นิวตัน ต้องออกแรงฉุดในแนวขนาน 3 นิวตัน สัมประสิทธิ์ของแรงเสียด
ทานมีค่าเท่าไร


วิธีทำา




  สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน =
                                   ตอบ


ตัวอย่างที่ 3 วัตถุมวล 400 นิวตัน วางบนพื้นราบถ้าต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่ต้องออกแรงผลักอย่างน้อย 150 นิวตัน ตาม
แนวราบ สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานมีค่าเท่าไร


วิธีทำา


                 ตอบ
แรงเสียดทาน

More Related Content

What's hot

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
menton00
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
Thepsatri Rajabhat University
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
Thepsatri Rajabhat University
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
Chakkrawut Mueangkhon
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกลaoffiz
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
Thepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
dnavaroj
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
Wijitta DevilTeacher
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
Aey Usanee
 

What's hot (20)

ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Similar to แรงเสียดทาน

แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
krulef1805
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานSunutcha Physic
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
ตัวชี้วัด ม.1
ตัวชี้วัด ม.1ตัวชี้วัด ม.1
ตัวชี้วัด ม.1Tip Sukanya
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
wiriya kosit
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
Content work
Content workContent work
Content work
jirupi
 

Similar to แรงเสียดทาน (12)

21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
ตัวชี้วัด ม.1
ตัวชี้วัด ม.1ตัวชี้วัด ม.1
ตัวชี้วัด ม.1
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
Content work
Content workContent work
Content work
 

แรงเสียดทาน

  • 1. แรงเสียดทาน แรงเสียดทาน (friction) เป็นแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่ หรือกำาลังเคลื่อนที่ไปบนผิวของอีกวัตถุ เนื่องจากมีแรงมากระทำา มีลักษณะที่สำาคัญ ดังนี้ 1. เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ 2. มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่หรือตรงข้ามทิศทางของแรงที่พยายามทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ดังรูป รูปแสดงลักษณะของแรงเสียดทาน ถ้าวาง A อยู่บนวัตถุ B ออกแรง ลากวัตถุ วัตถุ A จะเคลื่อนที่หรือไม่ก็ตาม จะมีแรงเสียดทานเกิดขึ้นระหว่างผิวของ A และ B แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับแรง ที่พยายามต่อต้านการเคลื่อนที่ของ A ประเภทของแรงเสียดทาน แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ 1. แรงเสียดทานสถิต (static friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ ในสภาวะที่วัตถุได้ รับแรงกระทำาแล้วอยู่นิ่ง 2. แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ ในสภาวะที่วัตถุ ได้รับแรงกระทำาแล้วเกิดการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ปัจจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน แรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ 1. แรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถ้าแรงกดตัวฉากกับผิวสัมผัสมากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถ้าแรงกดตั้งฉาก
  • 2. กับผิวสัมผัสน้อยจะเกิดแรงเสียดทานน้อย ดังรูป รูป ก แรงเสียดทานน้อย รูป ข แรงเสียดทานมาก 2. ลักษณะของผิวสัมผัส ถ้าผิวสัมผัสหยาบ ขรุขระจะเกิดแรงเสียดทานมาก ดังรูป ก ส่วนผิวสัมผัสเรียบลื่นจะ เกิดแรงเสียดทานน้อยดังรูป ข รูป ก แรงเสียดทานมาก รูป ข แรงเสียดทานน้อย 3. ชนิดของผิวสัมผัส เช่น คอนกรีตกับเหล็ก เหล็กกับไม้ จะเห็นว่าผิวสัมผัสแต่ละคู่ มีความหยาบ ขรุขระ หรือ เรียบลื่น เป็นมันแตกต่างกัน ทำาให้เกิดแรงเสียดทานไม่เท่ากัน การลดแรงเสียดทาน การลดแรงเสียดทานสามารถทำาได้หลายวิธีดังนี้ 1. การใช้นำ้ามันหล่อลื่นหรือจาระบี 2. การใช้ระบบลูกปืน 3. การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ตลับลูกปืน 4. การออกแบบรูปร่างของยานพาหนะให้เพรียวลมทำาให้ลดแรงเสียดทาน
  • 3. รูปแสดงรูปร่างของเรือที่เพียวลมเพื่อลดแรงเสียดทาน การเพิ่มแรงเสียดทาน การเพิ่มแรงเสียดทานในด้านความปลอดภัยของมนุษย์ เช่น 1. ยางรถยนต์มีดอกยางเป็นลวดลาย มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานระหว่างล้อกับถนน ดังรูป รูปแสดงยางรถยนต์ที่มีลวดลาย 2. การหยุดรถต้องเพิ่มแรงเสียดทานที่เบรก เพื่อหยุดหรือทำาให้รถแล่นช้าลง 3. รองเท้าบริเวณพื้นต้องมีลวดลาย เพือเพิ่มแรงเสียดทานทำาให้เวลาเดินไม่ลื่นหกล้มได้ง่าย ดังรูป ่
  • 4. รูปแสดงพื้นรองเท้าที่มีลวดลาย 4. การปูพื้นห้องนำ้าควรใช้กระเบื้องที่มีผิวขรุขระ เพือช่วยเพิ่มแรงเสียดทาน เวลาเปียกนำ้าจะได้ไม่ลื่นล้ม ดังรูป ่ รูปแสดงการปูพื้นด้วยกระเบื้องยาง สมบัติของแรงเสียดทาน 1. แรงเสียดทานมีค่าเป็นศูนย์ เมื่อวัตถุไม่มีแรงภายนอกมากระทำา 2. ขณะที่มีแรงภายนอกมากระทำาต่อวัตถุ และวัตถุยังไม่เคลื่อนที่ แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นมีขนาดต่างๆ กัน ตามขนาดของแรง ที่มากระทำา และแรงเสียดทานที่มีค่ามากที่สุดคือ แรงเสียดทานสถิต เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเริมเคลื่อนที่ ่ 3. แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ 4. แรงเสียดทานสถิตมีค่าสูงกว่าแรงเสียดทานจลน์เล็กน้อย 5. แรงเสียดทานจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กบลักษณะของผิวสัมผัส ผิวสัมผัสหยาบหรือขรุขระจะมีแรงเสียดทานมากกว่าผิว ั เรียบและลื่น 6. แรงเสียดทานขึ้นอยู่กบนำ้าหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กดลงบนพื้น ถ้านำ้าหนักหรือแรงกดมากแรงเสียดทานก็จะมากขึ้นด้วย ั 7. แรงเสียดทานไม่ขึ้นอยู่กบขนาดหรือพื้นที่ของผิวสัมผัส ั
  • 6. ตอบ ตัวอย่างที่ 2 วัตถุ ก มีแรงกดลงบนพื้นโต๊ะ 30 นิวตัน ต้องออกแรงฉุดในแนวขนาน 3 นิวตัน สัมประสิทธิ์ของแรงเสียด ทานมีค่าเท่าไร วิธีทำา สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน = ตอบ ตัวอย่างที่ 3 วัตถุมวล 400 นิวตัน วางบนพื้นราบถ้าต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่ต้องออกแรงผลักอย่างน้อย 150 นิวตัน ตาม แนวราบ สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานมีค่าเท่าไร วิธีทำา ตอบ