SlideShare a Scribd company logo
1 of 159
Download to read offline
BOBBYtutor Physics Note

การเคลื่อนที่
การศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ นับวาเปนพื้นฐานที่สําคัญมากอันหนึ่งในทางกลศาสตรและฟสิกส ปริมาณตางๆ
ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ ไดแก
การกระจัด (displacement) ถาใหจุดเริ่มตนของการเคลื่อนที่เปนจุดตนกําเนิดของระบบพิกัด จะกลาวไดวา
การกระจัดของการเคลื่อนที่ใด คือ เวกเตอรที่มีจุดตั้งตนตรงจุดเริ่มตนของการเคลื่อนที่นั้น และมีจุดปลายหรือหัวลูกศร
ของเวกเตอรอยูที่จุดสิ้นสุดของการเคลื่อนที่นั้น การบอกการกระจัดตองระบุทั้งขนาดและทิศทาง ในระบบ SI การกระจัด
มีหนวยเปน เมตร
ระยะทาง (distance) ในการเคลื่อนที่หนึ่งๆ ระยะทาง คือ ความยาวของเสนทางที่วัตถุเคลื่อนที่ (Path) การระบุ
ระยะทางจะกระทําโดยไมคํานึงถึงทิศทางของการเคลื่อนที่นั้น ในระบบ SI ระยะทางมีหนวยเปนเมตรเชนเดียวกับหนวย
ของการกระจัด โดยทั่วไป ระยะทางจะไมเทากับขนาดของการกระจัด อยางไรก็ดีหากวัตถุมีการเคลื่อนที่เปนเสนตรง
และเคลื่อนที่ในทิศทางเดียว คือ ไมมีการเลี้ยว หรือถอยกลับมาในทิศทางเดิม ตัวเลขที่เปนระยะทางและตัวเลขที่เปน
ขนาดของการกระจัดจะมีคาเทากัน
ความเร็ว (velocity) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของการกระจัด หรือกลาวไดวาความเร็วคือการกระจัดที่เปลี่ยน
ไปในหนึ่งหนวยเวลา ความเร็วเปนปริมาณเวกเตอร การบงบอกความเร็วจึงตองระบุทั้งขนาดและทิศทาง ในระบบ SI
ความเร็วมีหนวยเปน เมตร/วินาที
อัตราเร็ว (speed) คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา อัตราเร็วเปนปริมาณที่มีเพียงขนาด ไมมี
ทิศทาง หนวยของอัตราเร็วในระบบ SI เปน เมตร/วินาที
ความเรง (acceleration) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของความเร็ว หรือคือความเร็วทีเ่ ปลียนไปในหนึงหนวยเวลา
่
่
โดยความเร็วที่เปลี่ยนไปนี้อาจจะเปนการเปลี่ยนแปลงขนาด คือ วัตถุเคลือนทีเ่ ร็วขึนหรือชาลง หรือเปนการเปลียนทิศทาง
่
้
่
การเคลื่อนที่ ทั้งๆ ที่วัตถุยังคงมีขนาดของความเร็วที่คงที่ ความเรงเปนปริมาณเวกเตอร ประกอบดวยขนาดและทิศทาง
BOBBYtutor Physics Note

จากความสัมพันธระหวางการกระจัด ความเร็ว และความเรงที่กลาวมาสามารถพิสูจนไดวา สําหรับกราฟระหวาง
ความเร็วกับเวลา จะมีความชันเปนความเรง และพื้นที่ใตกราฟเปนการกระจัด
วัตถุที่เคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ คือ ทั้งขนาดและทิศทางของความเรงมีคาคงที่ วัตถุจะมีการเคลื่อนที่เปนแนว
เสนตรง และความสัมพันธระหวางความเร็ว ความเรง การกระจัด และเวลา เปนไปตามสมการ
v = u + at
1
s = ut + 2 at2
v2 = u2 + 2as
โดย u เปนความเร็วตน
v เปนความเร็วปลาย
a เปนความเรงของวัตถุ
s เปนการกระจัด

แบบทดสอบ
1. รถทดลองเคลื่อนที่เปนเสนตรงไปทางทิศตะวันออกเปนระยะ L ดวยอัตราเร็ว 3 เมตร/วินาที จากนั้นเคลื่อนที่
ขึ้นไปทางทิศเหนือดวยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที เปนระยะทาง 2L อัตราเร็วเฉลี่ยของรถทดลองเปนเทาใด
ึ
2. สมการของการเคลื่อนที่ตามแกน X ในหนวย SI ของอนุภาคหนึงเปน x = 3t2 ในชวงเวลาจาก 2 วินาทีถง 2 + ∆t
่
อนุภาคจะมีความเร็วเฉลี่ยเปนเทาใด
3. ชายคนหนึ่งขับรถจากสภาพหยุดนิ่ง โดยเริ่มจากจุด A ดวยความเรงคงที่เปนเสนตรง เมื่อรถผานจุด B พบวารถ
มีความเร็ว 20 เมตร/วินาที ใหหาวาขณะที่รถอยูตรงกึ่งกลางระหวางจุด A และ B รถมีความเร็วเทาใด
4. คนขับ ขับรถบรรทุกมาดวยความเร็วคาหนึ่ง เมื่อผานบาน A คนขับก็เบรกรถดวยความหนวง 2 เมตร/วินาที2
ทําใหรถเคลื่อนที่ไปถึงบาน B ซึ่งหางออกไป 20 เมตรไดในเวลา 2 วินาที ใหหาความเร็วของรถบรรทุกขณะผาน
บาน B นี้
5. รถบรรทุกเริ่มเคลื่อนที่จากสภาพหยุดนิ่งดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 อีก 2 วินาทีตอมารถยนตนั่งก็ออกวิ่ง ณ
ตําแหนงเดียวกับที่รถบรรทุกเริ่มเคลื่อนที่ โดยรถยนตนั่งมีความเรง 6 เมตร/วินาที2 ใหหาวาเมื่อรถทั้งสอง
มีความเร็วเทากัน รถคันใดที่อยูขางหนา และระยะระหวางรถทั้งสองเปนเทาใด
6. รถคันหนึ่งกําลังวิ่งอยูบนทางหลวง ขณะที่ผานหลักกิโลเมตรที่ 130 ความเร็วของรถมีคาเปน 10 เมตร/วินาที และ
เมื่อผานหลักกิโลเมตรที่ 131 ความเร็วมีคาเปน 12 เมตร/วินาที ใหหาวาขณะที่รถผานหลักกิโลเมตรที่ 132
ความเร็วของรถมีคาเทาใด (กําหนดใหถนนในชวงนั้นเปนเสนตรง)
7. ลูกปนเคลื่อนที่ได 36 เมตรในวินาทีที่ 2 หลังจากเริ่มจับเวลา และ 66 เมตรในวินาทีที่ 5 ใหหาระยะทางที่ลูกปน
เคลื่อนที่ไดในวินาทีที่ 10
8. เด็กคนหนึ่งโยนพวงกุญแจขึ้นไปในแนวดิ่ง เพื่อใหเพื่อนที่อยูบนระเบียงสูงขึ้นไป พบวาเพื่อนรับกุญแจไดในเวลา
2 วินาทีตอมา ถาจุดที่รับสูงกวาจุดโยน 4 เมตร พวงกุญแจจะถึงมือผูรับดวยความเร็วเทาใด
BOBBYtutor Physics Note

เฉลย
1.
3.
5.
7.

2.25 m/s
14.14 m/s
รถบรรทุกอยูขางหนา และรถหางกัน 6 เมตร
21 m/s

2.
4.
6.
8.

12 + 3∆t
8 m/s
13.7 m/s
8 m/s ทิศลง

แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เปนกฎที่วาดวยความสัมพันธระหวางแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุกับสภาพการเคลื่อนที่
ของวัตถุนั้น โดยกลาวถึงกรณีที่มีและไมมีแรงลัพธมากระทําตอวัตถุ นอกจากนี้กฎการเคลื่อนที่นี้ยังครอบคลุมถึงความ
สัมพันธระหวางที่กระทํากันระหวางวัตถุคูหนึ่งๆ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันประกอบดวยกฎตางๆ 3 ขอ ดังนี้
กฎขอที่ 1 วัตถุจะคงสภาพการเคลื่อนที่ของตัวเองอยูเสมอ นอกจากจะมีแรงลัพธภายนอกที่ไมเทากับศูนยมา
บังคับใหวัตถุนั้นเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ไป บางครั้งเรียกกฎขอ 1 นี้วา กฎแหงความเฉื่อย (Law of Inertia)
กฎขอที่ 2 แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมวล m แลวทําใหวัตถุมีความเรง a มีคาเทากับผลคูณระหวางมวลและ
ความเรงนั้น หรือเขียนเปนสมการไดวา
F = ma
มีขอนาสังเกตวาสมการนีเ้ ปนสมการเวกเตอร ซึ่งสมการบงบอกวาทิศของแรงลัพธเปนทิศเดียวกับทิศของความเรง

กฎขอที่ 3 ทุกๆ แรงกิริยา (Action) จะมีแรงปฏิกิริยา (Reaction) ที่มีขนาดเทากันแตทิศตรงขามเสมอ
การทําความเขาใจในกฎขอที่ 3 นี้มีขอควรตระหนักวา แรงปฏิกิริยาของแรงที่วัตถุที่หนึ่งกระทําตอวัตถุที่สอง
ตองเปนแรงที่วัตถุที่สองกระทําตอวัตถุที่หนึ่งเทานั้น เปนแรงที่วัตถุอื่นกระทําตอวัตถุที่หนึ่งไมได

กฎแรงดึงดูดระหวางมวล (Law of Gravity)
กฎแรงดึงดูดระหวางมวล หรือที่เรียกวา กฎแหงความโนมถวง (Law of Gravitaty) เปนกฎที่แสดงถึงแรงดึงดูด
ระหวางมวลสาร กฎแรงดึงดูดระหวางมวลกลาววา
วัตถุทั้งหลายในเอกภพออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกันในลักษณะที่ ถาวัตถุ A หางจากวัตถุ B เปนระยะ r วัตถุ A
จะสงแรง FA ซึ่งเปนแรงดึงดูดไปกระทําตอวัตถุ B ขณะเดียวกัน วัตถุ B จะสงแรง FB ซึ่งเปนแรงดึงดูดไปกระทําตอ
วัตถุ A เชนกัน โดย FA และ FB มีขนาดเทากันแตทิศตรงขาม ถาให F เปนขนาดของแรง FA และ FB แลว จะได
Gm1m2
F =
r2
เรียก G วา คานิจแหงความโนมถวงสากล มีคาเทากับ 6.67 × 10-11 นิวตัน ⋅ เมตร2/กิโลกรัม2
BOBBYtutor Physics Note

สมดุล (Equilibrium)
เมื่อแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเปนศูนย วัตถุจะอยูในสภาพสมดุล คือเปนไปตามกฎการเคลือนทีขอที่ 1 ของนิวตัน
่ ่
เรียกสภาพสมดุลที่เกิดจากแรงลัพธเปนศูนยนี้วา สมดุลตอการเปลี่ยนตําแหนง
สภาพสมดุลแบบที่ 2 เรียกวา สมดุลตอการหมุน เกิดจากการที่ ทอรก (Torque) หรือโมเมนตลัพธที่กระทําตอ
วัตถุเปนศูนย และสมดุลตอการหมุน
วัตถุที่อยูในสภาพสมดุลตอการเปลี่ยนตําแหนงพรอมๆ กับสภาพสมดุลตอการหมุน คือ วัตถุทอยูในสภาพสมดุล
ี่ 
อยางสมบูรณ

จุดศูนยกลางมวลและจุดศูนยถวง
จุดศูนยกลางมวล (Center of gravity) คือ จุดในวัตถุที่เหมือนกับแรงความโนมถวงของโลกมากระทําตรงจุดนี้
มักจะใช "cg" เปนสัญลักษณของจุดศูนยถวง
การทรงตัวของวัตถุ หากแนวนํ้าหนักตกลงอยูระหวางฐานของวัตถุ วัตถุนั้นจะยังคงตั้งอยูไดไมมีการลม แตหาก
แนวนํ้าหนักตกอยูนอกฐานของวัตถุแลว วัตถุนั้นจะลมลงทันที
วัตถุที่มีการทรงตัวดีจะมีตําแหนงของจุดศูนยถวงตํ่า นอกจากนี้ความกวางของฐานของวัตถุก็มีผลตอการทรงตัว
เชนกัน โดยวัตถุที่มีฐานที่กวางกวาจะทรงตัวไดดีกวาวัตถุที่มีฐานแคบๆ

แบบทดสอบ
1. กรอบรูปมวล m ถูกแขวนไวดวยเชือก 2 เสน โดยเชือกแตละเสนยาว L และทํามุม
กรอบรูปนี้ถูกดึงใหเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง g ใหหาความตึงในเชือกแตละเสน
2

θ

กับกรอบดังรูป ถา

g
2
L

L

θ

θ

m

1) 43mgθ
sin

2) 23mgθ
sin

3) 4 mg θ
sin

mg
4) 2 sin θ
BOBBYtutor Physics Note

2. วัตถุ 2 กอน มวล m และ M (M มากกวา m) ผูกติดกันดวยเชือกเบาและคลองผานรอกลื่นที่ยอดของพื้นเอียง
ทรงสามเหลี่ยมหนาจั่ว ดังรูป หากคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานระหวางพื้นเอียงกับมวลทั้งสองเทากับ m ใหหา m
ที่ทําใหกอนมวลมีการเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงที่
T

m

M
θ

θ





M

1)  M - m  tan θ 2)  M m m  tan θ 3)  M M m  tan θ 4) tan θ
 + m
 + 
 + 
3. แรงคงที่ขนาดหนึ่ง ผลักวัตถุมวล 80 กิโลกรัม บนพื้นราบที่ไมมีความฝด สามารถเปลี่ยนความเร็วจาก 3
เมตร/วินาที เปน 4 เมตร/วินาที ในทิศเดิม และในเวลา 1 วินาที จงหาวาหากใชแรงขนาดเดียวกันนี้ผลักวัตถุมวล
50 กิโลกรัม บนพื้นเดียวกัน จะทําใหความเร็วเพิ่มขึ้นเทาใด ในเวลา 1 วินาทีเทากัน
1) 1.0 เมตร/วินาที
2) 1.2 เมตร/วินาที
3) 1.4 เมตร/วินาที
4) 1.6 เมตร/วินาที
4. กลองสองใบมีมวล m1 และ m2 ตามลําดับ วางซอนกันบนพื้นราบที่ไมมีแรงเสียดทาน มีแรง F กระทําตอกลอง
m1 ทําใหกลองทั้งสองเคลื่อนที่ไปทางขวาดวยความเรง a ถา f เปนแรงเสียดทานสูงสุดที่มีไดระหวางผิวสัมผัสของ
กลองทั้งสอง แรง F จะมีคามากที่สุดเทาใด มวล m2 จึงจะไมไถลไปบน m1

F

a
m2 f
m1

m
m
m1
m +m
2) m1 +2m 2 f
4) 1m 2 2 f
1) m2 f
3) m 2 f
1
5. คันโยก กขคง ซึ่งมีความยาวของแกน กข ขค และ คง เทากันและหักเปนมุมฉากดังรูป ถาออกแรง F กระทํา
ตั้งฉากกับแขน กข ที่จุด ก โดยให ข เปนจุดหมุน แรงที่นอยที่สุดที่กระทําตอปลาย ง โดยไมทาใหคนโยกหมุนรอบ
ํ ั
จุด ข จะมีขนาดเทาใด
ก

ข

ค

3) F
4) F
2
3
6. เมื่อแรงสองแรงทํามุมกันคาตางๆ ผลรวมของแรงมีคาตํ่าสุด 2 นิวตัน และมีคาสูงสุด 14 นิวตัน ถาใหแรงทั้งสอง
กระทําตอวัตถุมวล 2 กิโลกรัม ตรงจุดเดียวกัน แตในแนวที่ตั้งฉากกัน และไมมีแรงอื่นมากระทําตอวัตถุอีกเลย
วัตถุจะมีความเรงเทาใด
1) 12 N
2) 10 N
3) 5 N
4) 8 N
1) F

2) F
2

ง
BOBBYtutor Physics Note

7. เชือกแขวนไวกับเพดาน มีเด็กมวล 20 กิโลกรัม โหนเชือกอยูสูงจากพื้น 10 เมตร ไดรูดตัวลงมากับเชือกดวย
ความเรงคงที่ถึงพื้นใชเวลา 2 วินาที ความตึงของเชือกเปนเทาใด (ไมคิดมวลของเชือก)
1) 100 N
2) 150 N
3) 200 N
4) 250 N
8. วัตถุมวล m วางบนโตะลื่น ผูกเชือกเบากับวัตถุมวล m แลวคลองผานรอกคลอง แลวนําวัตถุมวล M มาผูกติด
กับปลายเชือกเบานี้ ถาปลอยใหมวล m และ M เคลื่อนที่ จงหาวาวัตถุมวล M จะตองมีคาเปนกี่เทาของวัตถุ
มวล m วัตถุมวล M จึงจะเคลื่อนที่ดวยความเรง 9 เมตร/วินาที2
m
M

1) 3 เทา
2) 8 เทา
3) 9 เทา
4) 10 เทา
9. ลิ่มอันหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเรง 2 เมตรตอ(วินาที)2 บนลิ่มมีมวล 5 กิโลกรัม ผูกดวยเชือกเบาดังรูป แรงตึงใน
เสนเชือกมีคากี่นิวตัน เมื่อถือวาทุกผิวสัมผัสเปนผิวเกลี้ยง
a = 2 m/s 2

5 kg
37 o

1) 11
2) 34
3) 38
4) 110
10. นักบินอวกาศจะมีนํ้าหนักกี่เทาของนํ้าหนักที่ชั่งบนโลก ถาอยูบนดาวเคราะหที่มีรัศมีครึ่งหนึ่งของโลก และมีมวล
1
เปน 8 ของมวลโลก
1) 0.25
2) 0.50
3) 0.75
4) 1.25
1
11. ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลเปน 9 เทาของมวลของโลก แตมีความหนาแนนเปน 3 ของความหนาแนนของโลก
คาสนามความโนมถวงที่ผิวดาวเคราะหมีคาเปนกี่เทาของ g ของโลก
1
1
1) 9
2) 3
3) 1
4) 3
12. จากรูป โตะไมมีความเสียดทานและผิวสัมผัสระหวางมวลทั้งสอง มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตและจลนเปน
0.4 และ 0.3 ตามลําดับ มวล m ตองเปนกี่กิโลกรัม จึงจะทําใหระบบเริ่มเคลื่อนที่
2 kg
3 kg
m

1) 0.4

2) 0.8

3) 1.2

4) 1.6
BOBBYtutor Physics Note

13. คานสมํ่าเสมอมวล 20 กิโลกรัม ยาว 5 เมตร ปลายขางหนึ่งติดอยูกับกําแพงดวยบานพับ ปลายอีกขางหนึ่งมีมวล
8 กิโลกรัม แขวนอยู และมีเชือกดึงปลายคานใหติดกับกําแพง ดังรูป แรงที่บานพับกระทําตอปลายคานดานลางใน
ทิศที่ขนานกับกําแพงเปนกี่นิวตัน

37 o
37 o
8 กก.

1) 130
2) 150
3) 190
4) 280
14. ABCD เปนวัตถุแบน หนัก 400 นิวตัน วางตัวในระนาบ xy ขณะมีแรง T1 และ T2 มากระทําดังรูป แรงลัพธที่
กระทําตอวัตถุมีทิศทางตามขอใด
T2 = 500 N
T1 = 400 N

B

y

37 o

x
A

53

o

C

D 400 N

1) ทํามุม 37° กับแกน +x
2) ทํามุม 37° กับแกน -x
3) ทิศตามแกน -y
4) ทิศตามแกน -x
15. ในรูปพื้นเอียงมี µs และ µk เปน 0.3 และ 0.2 ตามลําดับ วัตถุมีมวล 3 กิโลกรัม แรง F ขนาด 30 นิวตัน มีทิศ
ขนานกับพื้นราบ ถาวัตถุไมมีการเคลื่อนที่ แรงเสียดทานจะมีขนาดและทิศอยางไร
F
37 o

1) 6 นิวตัน ทิศลงมาตามพื้นเอียง
3) 12.6 นิวตัน ทิศลงมาตามพื้นเอียง

2) 6 นิวตัน ทิศขึ้นไปตามพื้นเอียง
4) 12.6 นิวตัน ทิศขึ้นไปตามพื้นเอียง
BOBBYtutor Physics Note

16. บานพับ A และ B ยึดประตูหนัก 400 นิวตัน บานพับ A รับนํ้าหนักประตู 3 ของนํ้าหนักทั้งหมด ใหหาขนาด
4
ของแรงที่บานพับ B กระทําตอประตู ถาความกวางของประตูเปน 1 เมตร และบานพับทั้ง 2 หางกัน 2 เมตร
A

B

1) 112 นิวตัน
2) 141 นิวตัน
3) 162 นิวตัน
4) 181 นิวตัน
17. กลองไมสูง 2 เมตร กวาง 1 เมตร วางบนพื้นเอียงที่ปรับมุมได ถาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวาง
กลองไมกับพื้นเอียงเปน 0.4 มุมของพื้นเอียงที่ทําใหกลองเริ่มเคลื่อนที่ลงมาเปนเทาใด
1) tan-1 0.2
2) tan-1 0.4
3) tan-1 0.5
4) tan-1 0.6

เฉลย
1. 1)
11. 1)

2. 1)
12. 4)

3. 4)
13. 3)

4. 4)
14. 4)

5. 3)
15. 1)

6. 2)
16. 2)

7. 1)
17. 2)

8. 3)

9. 3)

10. 2)
BOBBYtutor Physics Note

งานและพลังงาน
งานและพลังงาน (Work and Energy)
F
θ

S

ถามีแรง F กระทําตอวัตถุ และวัตถุเคลื่อนที่โดยมีการกระจัดเปน S ในทิศที่ทํามุม θ กับ F จะไดงานที่แรง F
ที่กระทําตอวัตถุเปน W โดย
W = FS cos θ
เห็นไดวา ถา θ เปนมุมแหลม งานจะเปนบวก แตถา θ มีคามากกวา 90 องศา งานจะเปนลบ หากมุม θ มีคา
เทากับ 90 องศา หรือแรงที่กระทํามีทิศตั้งฉากกับการกระจัดของวัตถุ จะไดงานมีคาเปนศูนย
งานเปนปริมาณสเกลาร แตอาจจะมีคาเปนบวกหรือลบก็ได นอกจากนีงานยังมีคาเปนศูนยไดอีกดวย หนวยของงาน

้

ในระบบ SI คือ นิวตัน ⋅ เมตร หรือ จูล (Joule)
กราฟระหวางแรงและการกระจัด
จากนิยามของงานทําใหไดงานเนืองจากแรง F เทากับพื้นที่ใตเสนกราฟระหวางแรงนันกับการกระจัด ลักษณะเชนนี้
่
้
ทําใหเราสามารถคํานวณหางานจากแรงที่มีขนาดไมคงที่ได
แรง
F2
F1

S1 S2

การกระจัด

รูปกราฟของงานจากแรงที่ไมคงที่เทากับพื้นที่ใตกราฟระหวางแรงกับการกระจัด

พลังงานจลน (Kinetic Energy)
วัตถุที่มีการเคลื่อนที่เปนวัตถุที่มีพลังงาน เรียกพลังงานเนื่องจากการเคลื่อนที่ของวัตถุวา พลังงานจลน โดยมีการ
กําหนดวา วัตถุมวล m ที่มีอัตราเร็ว v มีพลังงานจลนเปน
1
KE = 2 mv2
พลังงานจลนเปนปริมาณสเกลาร มีคาเปนศูนยไดแตไมมีคาเปนลบ หนวยของพลังงานจลนในระบบ SI คือ จูล
BOBBYtutor Physics Note

หากมีแรง F กระทําตอวัตถุ จนขนาดของความเร็วของวัตถุเปลี่ยนไป ทําใหพลังงานจลนของวัตถุเปลี่ยนไปจาก
เดิม พบวางานที่แรงนั้นกระทําตอวัตถุมีคาเทากับพลังงานจลนของวัตถุที่เปลี่ยนไป
หรือ
W = KE2 – KE1
เรียกคํากลาวนี้วา หลักของงาน-พลังงานจลน (Work-Kinetic Energy Theorem)

แรงอนุรักษ (Conservative Force)
งานที่แรงอนุรักษกระทําตอวัตถุจนทําใหวัตถุมีการเคลื่อนที่เปนวงปดมีคาเปนศูนย
งานที่แรงอนุรักษกระทําตอวัตถุใหเคลื่อนที่ระหวาง 2 จุดใด ไมขึ้นกับเสนทางที่วัตถุเดิน แตขึ้นกับตําแหนงของ
จุดทั้งสองนั้น

พลังงานศักย (Potential Energy)
พลังงานศักยของวัตถุ ณ จุดใด คือ งานที่นอยที่สุดที่ใชในการเคลื่อนที่วัตถุจากจุดหรือระดับอางอิงมายังจุดนั้น
หรือพลังงานศักยของวัตถุ ณ จุดใด คือ งานอันเนื่องจากแรงอนุรักษที่ใชในการเคลื่อนที่วัตถุจากจุดหรือระดับอางอิง
มายังจุดนั้น

แรงสปริง
เมื่อสปริงยืดหรือหด จนความยาวของสปริงเปลี่ยนไป x จากความยาวปกติ สปริงจะออกแรงดึงกลับตอปลาย
ของมันเพื่อทําใหตัวสปริงกลับมามีความยาวเปนปกติ
ถา F เปนขนาดของแรงดึงกลับ และ x เปนความยาวที่เปลี่ยนไปของสปริง จะได
F = kx
เรียก k วา คาคงตัวของสปริง (Spring constant) มีหนวยเปน นิวตัน/เมตร ในระบบ SI

แรงและงานที่ใชในการยืด (หรือหด) สปริง
หากตองการยืด (หรือหด) สปริงใหมีความยาวเปลี่ยนไป x จะตองออกแรงที่มีขนาดเทากับแรงดึงกลับเฉลี่ย
นับตั้งแตสปริงยังไมยืด (หรือหด) จนสปริงยืด (หรือหด) เปนระยะ x
1
แรงที่ใชยืด (หรือหด) สปริง
F = 0 +2kx = 2 kx
1
และงานที่ใชในการยืด (หรือหด) สปริง
W = 2 kx2

พลังงานศักยของสปริง
1
PE = 2 kx2

ความถาวรของพลังงานกล (Conservation of Mechanical Energy)
ผลบวกของพลังงานศักยและพลังงานจลนของวัตถุ คือ พลังงานทั้งหมดของวัตถุ ณ จุดนั้น
กฎอนุรักษพลังงาน : หากวัตถุเคลื่อนที่ภายใตแรงอนุรักษ พลังงานทั้งหมดของวัตถุจะมีคาคงที่
BOBBYtutor Physics Note

กําลัง (Power)
กําลัง คือ อัตราการทํางานใน 1 หนวยเวลา กําลังเฉลี่ยเทากับงานทั้งหมดที่ทํา (W) หารดวยเวลาทั้งหมดที่ใชใน
การทํางานนั้น (∆t) ถาให P เปนกําลัง จะได
W
P = ∆t
จากนิยามของงาน
W = FS cos θ
หากแรงที่กระทําตอวัตถุเปนแรงที่คงที่
จะได
P = Fv cos θ
นั่นคือ สามารถเขียนกําลังไดในเทอมของการคูณเชิงสเกลารระหวางแรงและความเร็วของวัตถุ
กําลังเปนสเกลาร หนวยของกําลังในระบบ SI คือ จูล/วินาที หรือ วัตต (Watt) นอกจากหนวยดังกลาว กําลังยัง
มีหนวยเปน กําลังมา (Horsepower) โดย กําลัง 1 กําลังมาเทากับ 746 วัตต

แบบทดสอบ
1. ตองการเรงเครื่องใหรถมวล 1500 กิโลกรัม มีความเร็วเปลี่ยนจาก 10 เมตร/วินาที เปน 30 เมตร/วินาที ภายใน
เวลา 15 วินาที จะตองใชกําลังเฉลี่ยอยางนอยเทาใด
1) 15 kW
2) 120 kW
3) 135 kW
4) 150 kw
2. ดึงกลองมวล 40 กิโลกรัม ดวยแรงคงที่ 130 นิวตัน ในแนวระดับ ใหเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนพืนทีมสมประสิทธิ์
้ ่ีั
แรงเสียดทาน 0.3 เปนระยะ 5 เมตร พลังงานจลนของกลองจะเปลี่ยนไปเทาใด
1) 50 จูล
2) 100 จูล
3) 150 จูล
4) 300 จูล
3. วัตถุหนึ่งไถลลงตามพื้นเอียงที่ไมมีความฝด เมื่อถึงปลายลางของพื้นเอียง วัตถุนี้จะมีอัตราเร็วปลายเทากับ v
ถาตองการใหอัตราเร็วปลายเพิ่มเปน 2v จะตองยกปลายพื้นเอียงใหสูงขึ้นเปนกี่เทาของความสูงเดิม
1) 2
2) 2
3) 2 2
4) 4
4. อัดสปริงซึ่งวางอยูในแนวราบบนพื้นราบลื่นดวยมวล 0.25 กิโลกรัม ทําใหสปริงถูกกดเขาไป 10 เซนติเมตร ดังรูป
หลังจากนั้นปลอยใหสปริงดีดมวลออกไปความเร็วสูงสุดที่มวลนี้จะมีไดคือเทาใด ถาสปริงมีคาคงตัว 100 นิวตัน/
เมตร
0.25 kg

10 cm

1) 1.0 m/s

2) 1.4 m/s

3) 2.0 m/s

4) 2.4 m/s
BOBBYtutor Physics Note

5. สปริงเบายาว 40 เซนติเมตร มีคาคงตัวสปริง 100 นิวตันตอเมตร หอยลงมาจากเพดาน ถาแขวนมวล 500 กรัม
ที่อีกปลายหนึ่งของสปริงแลวปลอย ใหหาความยาวของสปริงในขณะที่สปริงยืดออกมากที่สุด
1) 5 cm
2) 10 cm
3) 15 cm
4) 20 cm
6. มวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งลงตามพื้นเอียงที่ทํามุม 30 องศากับพื้นราบเปนระยะ d แลวชนกับสปริง
ที่อยูบนพื้นเอียง ทําใหสปริงยุบลงไปเปนระยะ 0.2 เมตร แลวหยุด หากสปริงมีคาคงตัว 400 นิวตัน/เมตร ใหหา
ระยะ d ในหนวยเซนติเมตร
1) 15 cm
2) 30 cm
3) 45 cm
4) 60 cm
7. ผูกวัตถุมวล 6 กิโลกรัมไวที่ปลายสปริงที่มีคาคงตัว 1200 นิวตันตอเมตร วางอยูบนพื้นราบ ถาคาสัมประสิทธิ์
ความเสียดทานจลนระหวางวัตถุกับพื้นเทากับ 0.3 แลว ใหคํานวณหางานจากแรงดึงวัตถุออกไปจากตําแหนงสมดุล
เปนระยะ 16 เซนติเมตร
1) 15.4 จูล
2) 16.8 จูล
3) 18.2 จูล
4) 19.7 จูล
8. ขณะที่วัตถุกําลังเคลื่อนที่และมีพลังงานจลน 6 จูล ไดมีแรงตานการเคลื่อนที่ขนาด 10 นิวตัน มากระทําตอวัตถุ
ทําใหวัตถุมีความเร็วลดลงและหยุดในที่สุด ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดหลังจากที่แรงกระทําจนหยุดเปนเทาใด
1) 0.3 เมตร
2) 0.6 เมตร
3) 1.67 เมตร
4) 4 เมตร
9. ยิงอนุภาคมวล 9 × 10-31 กิโลกรัม เขาชนเปาโลหะในอัตรา 1018 ตัว/วินาที ขณะกระทบเปาอนุภาคแตละตัวมี
อัตราเร็ว 2 × 106 เมตร/วินาที ถาเปามีมวล 0.9 กิโลกรัม และมีความจุความรอนจําเพาะ 60 จูล/กิโลกรัม ⋅ เคลวิน
นานเทาใด เปาจึงจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 50°C
1) 15 นาที
2) 20 นาที
3) 25 นาที
4) 30 นาที
10. โรงไฟฟาพลังนํ้าใชพลังงานจากนํ้าตกสูง 50 เมตร กวาง 800 เมตร และลึก 1 เมตร ถาอัตราเร็วของนํ้าที่ไหลเปน
10 เมตร/วินาที และพลังงานจากนํ้าตกเปลี่ยนเปนไฟฟาไดเพียงรอยละ 20 ใหหากําลังไฟฟาที่ผลิตได
(กําหนดความหนาแนนของนํ้าเปน 1000 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร)
1) 2 × 108 วัตต
2) 4 × 108 วัตต
3) 6 × 108 วัตต
4) 8 × 108 วัตต
11. ติดสปริงอันหนึ่งไวกับเพดาน เมื่อนํามวล 4 กิโลกรัม มาแขวนที่ปลายลางของสปริง แลวปลอยใหวัตถุเคลื่อนที่
ลงมาตามแรงความโนมถวง พบวาเมื่อสปริงเคลื่อนที่ลงจากจุดสมดุลเปนระยะ 0.2 เมตร มวลจะมีความเร็ว
0.5 เมตร/วินาที ใหหาคาคงตัวของสปริง
1) 15 นิวตัน/เมตร
2) 37.5 นิวตัน/เมตร 3) 150 นิวตัน/เมตร
4) 375 นิวตัน/เมตร

เฉลย
1. 4)
11. 4)

2. 2)

3. 2)

4. 4)

5. 2)

6. 2)

7. 3)

8. 2)

9. 3)

10. 4)
BOBBYtutor Physics Note

การชนและโมเมนตัม
v
m

v
เมื่อวัตถุมวล m มีความเร็ว v จะมีโมเมนตัมเปน P
v
v
P = mv
โดย
v
เห็นไดวาโมเมนตัมเปนปริมาณเวกเตอร มีทิศเดียวกับความเร็ว v แตมีขนาดเปน m เทา
v
หนวยของโมเมนตัมในระบบ SI เปน กิโลกรัม ⋅ เมตร/วินาที
จากนิยามของโมเมนตัม สามารถแสดงใหเห็นไดวา แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเทากับอัตราการเปลี่ยนแปลงของ
โมเมนตัม หรือ
v v
v
mv2 - mv1
F =
∆t
สมการขางบนเปนอีกรูปแบบหนึ่งของกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของโมเมนตัม

การดลและแรงดล
จากสมการของแรง เมื่อคูณตลอดดวยชวงเวลา ∆t ก็จะทําใหเขียนสมการนี้ใหมไดวา
F ⋅ ∆t = mv2 - mv1
เรียกปริมาณ F ⋅ ∆t ทางซายวา การดล (Impulse)
แรง

เวลา

จากสมการเห็นไดวา การดลมีคาเทากับโมเมนตัมของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้การดลยังเทากับ พื้นที่ใต
กราฟระหวางแรงและเวลาที่แรงกระทําตอวัตถุ อีกดวย

กฎการอนุรักษโมเมนตัม
"ถาไมมีแรงภายนอกมากระทํา โมเมนตัมทั้งหมดของระบบจะมีขนาดและทิศทางที่คงที่"
หากวัตถุมวล m1 และ m2 มีความเร็ว v1 และ v2 ชนกัน แลวความเร็วเปลี่ยนเปน V1 และ V2 ตามลําดับ
จะเขียนสมการของกฎการอนุรักษโมเมนตัมไดวา
...(1)
m1v1 + m2v2 = m1V1 + m2V2
สมการ (1) เปนสมการเวกเตอร ในการแกสมการจึงตองคํานึงถึงทั้งขนาดและทิศทางของโมเมนตัมทั้งหลาย
ในสมการ ไมใชพิจารณาเฉพาะขนาดเทานั้น
BOBBYtutor Physics Note

การชนกัน (Collision)
การชนที่สําคัญมี 2 แบบ คือ การชนแบบยืดหยุน และแบบไมยืดหยุน
การชนแบบยืดหยุน มีลักษณะการชนดังนี้
1. โมเมนตัมกอนชนเทากับโมเมนตัมหลังชน
2. พลังงานจลนกอนชนเทากับพลังงานจลนหลังชน
การชนแบบยืดหยุนแบบตรง (Head on elastic collision)
กอนชน
m1 u 1

m2 u2

หลังชน
m1

m2

ถาวัตถุมวล m1 วิ่งดวยความเร็ว u1 เขาชนวัตถุมวล m2 ซึ่งเคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน ดวยความเร็ว u2 ทําให
ความเร็วของ m1 และ m2 กลายเปน v1 และ v2 ตามลําดับ และการชนเปนแบบยืดหยุนจะได
m1(u1 - v1) = m2(v2 - u2)
และ
u1 + v1 = u2 + v2
การชนแบบยืดหยุนแบบเฉียด
หากวัตถุมวล m เคลื่อนที่ชนวัตถุมวลเทากันซึ่งหยุดนิ่งแบบยืดหยุน หลังการชนวัตถุทั้งสองจะแยกออกจากกัน
โดยแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งสองทํามุมกัน 90 องศา
การชนแบบไมยืดหยุน มีลักษณะการชนดังนี้
1. โมเมนตัมกอนชนเทากับโมเมนตัมหลังชน
2. พลังงานจลนกอนชนไมเทากับพลังงานจลนหลังชน
หากหลังการชนวัตถุติดกันไป จะจัดเปนการชนแบบไมยืดหยุนสมบูรณ

การระเบิดหรือรีคอยล (Recoil)
เปนปรากฏการณที่เดิมมีวัตถุ 2 อัน หรือมากกวาอยูนิ่ง ทําใหโมเมนตัมของระบบเปนศูนย ตอมาเมื่อมีแรง
กระทํากันระหวางวัตถุเหลานั้น ทําใหวัตถุทั้งหลายมีการเคลื่อนที่ในทิศตางกัน โดยโมเมนตัมของวัตถุกอนการระเบิด
มีคาเทากับผลบวกแบบเวกเตอรของวัตถุยอยทั้งหลายที่แตกออกจากกัน
BOBBYtutor Physics Note

แบบทดสอบ
1. เมือปลอยลูกบอลมวล 200 กรัม ทีความสูง 125 เซนติเมตร ลงบนพืนราบ ปรากฏวาหลังจากลูกบอลกระทบพืนเปน
่
่
้
้
เวลา 0.06 วินาที ลูกบอลก็กระดอนกลับขึนตามแนวดิง วัดระยะสูงไดเทากับ 80 เซนติเมตร จงหาแรงเฉลียทีพนกระทํา
้
่
่ ่ ื้
ตอลูกบอล
1) 50 N
2) 42 N
3) 30 N
4) 22 N
2. ใชคอนมวล 400 กรัม ตอกตะปู ในขณะที่คอนเริ่มกระทบหัวตะปู คอนมีความเร็วขนาด 10 เมตร/วินาที หลังจาก
กระทบหัวตะปูแลว คอนสะทอนกลับดวยความเร็วเทาเดิม ถาชวงเวลาที่คอนกระทบตะปูเปน 0.5 มิลลิวินาที
ใหหาแรงเฉลี่ยที่คอนกระทําตอตะปู
1) 1.6 × 104 นิวตัน 2) 3.2 × 104 นิวตัน 3) 6.4 × 104 นิวตัน 4) 8.0 × 104 นิวตัน
3. ถาจะใหกลองมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ไปบนพื้นราบ ตองออกแรงในแนวราบขนาด 0.7 นิวตัน
ตอกลอง ถาจะยิงกลองไมนี้ดวยกระสุนมวล 100 กรัม เพื่อใหกลองเคลื่อนที่ได 1.5 เมตร กอนหยุด อัตราเร็วของ
กระสุนกอนชนตองเปนเทาใด ใหกระสุนฝงตัวอยูในเนื้อไม
1) 9 เมตร/วินาที
2) 21 เมตร/วินาที
3) 33 เมตร/วินาที
4) 47 เมตร/วินาที
4.
u
m

M

มวล m วิ่งเขาชนมวล M ที่ติดสปริงเบา มีคาคงตัวของสปริง k ดวยความเร็ว u ดังรูป พลังงานจลนของระบบ
เปนเทาใด เมื่อ m และ M ใกลกันที่สุด
1
1 m
1
1


1) 2 mu2
2) 2  M  mu2
3) 2  m M M  mu2 4) 2  m m M  mu2
 
 + 
 + 
5. ปลอยมวล M1 ซึ่งผูกติดกับเชือก จากตําแหนงหยุดนิงในแนวระดับ ใหชนมวล M2 ที่วางไวทขอบโตะ อยางยืดหยุน
่
ี่
ถา M1 เทากับ M2 ใหหาระยะทาง x ในหนวยเมตร
M1 1 m

1m

M2

1m
x

1) 1 เมตร

2) 2 เมตร

3) 3 เมตร

4) 4 เมตร
BOBBYtutor Physics Note

6. มวล m และ 2m แขวนกับเชือกเบาที่ยาวเทากันดังรูป ถาจับมวล m ใหสูงกวา 2m เปนระยะ h แลวปลอยให
ตกลงมากระทบกับมวล 2m หลังจากกระทบกันแลวมวล m หยุดนิ่ง ใหคํานวณวามวล 2m จะแกวงขึ้นไปได
สูงสุดจากตําแหนงเดิมเทาใด และการชนเปนแบบยืดหยุนหรือไม

m
h
2m

h เปนการชนแบบยืดหยุน
2) h เปนการชนแบบไมยืดหยุน
2
2
h เปนการชนแบบยืดหยุน
h เปนการชนแบบไมยืดหยุน
4) 4
4
มวล 8 kg เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกดวยความเร็ว 20 m/s ไปชนกับมวล 2 kg ที่เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตก
ดวยความเร็ว 10 m/s แลวมวลแรกยังคงเคลื่อนไปทางทิศตะวันออกดวยความเร็ว 10 m/s พลังงานจลนรวม
เปลี่ยนไปกี่จูล
1) 100 จูล
2) 200 จูล
3) 300 จูล
4) 400 จูล
วัตถุ A วิ่งดวยความเร็ว 1 เมตร/วินาที ชนวัตถุ B มวลเทากันซึ่งอยูนิ่งแบบยืดหยุน หลังการชนวัตถุ B วิ่งไปใน
ทิศ 30 องศากับแนวเดิมของ A ถามวาความเร็วของวัตถุ A หลังการชนเปนเทาใด และอยูในทิศทํามุมเทาใดกับ
แนวเดิม
1) 0.86 m/s และ 30° 2) 0.86 m/s และ 60° 3) 0.50 m/s และ 30° 4) 0.50 m/s และ 60°
วัตถุมวล m ตกลงมาในแนวดิ่ง ขณะที่อยูหางจากพื้น 1000 เมตร วัตถุมีความเร็ว 20 เมตร/วินาที และได
เกิดระเบิดแตกออกเปน 2 กอน แตละกอนมีมวลเทาๆ กัน และยังคงเคลื่อนที่อยูในแนวดิ่งทั้งคู ทันทีหลัง
การระเบิดมวลกอนหนึงเคลือนทีลงดวยความเร็ว 60 เมตร/วินาที ใหหาวาที่เวลา 2 วินาทีหลังการระเบิด มวลทั้งสอง
่ ่ ่
จะอยูหางกันเปนระยะทางเทาใด
1) 80 เมตร
2) 100 เมตร
3) 160 เมตร
4) 200 เมตร
รถทดลองมวล 1 kg เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 2 m/s เขาชนรถทดลองอีกคันหนึ่ง ซึ่งมีมวลเทากันและอยูนิ่ง
หลังการชนรถทั้งสองเคลื่อนที่ตัดกันไป ใหหาพลังงานความรอนที่เกิดขึ้นจากการชนกัน
1) 0.25 จูล
2) 0.5 จูล
3) 0.75 จูล
4) 1.0 จูล
1)
3)

7.

8.

9.

10.

เฉลย
1. 3)

2. 1)

3. 2)

4. 4)

5. 2)

6. 4)

7. 4)

8. 4)

9. 3)

10. 4)
BOBBYtutor Physics Note

การเคลื่อนที่เปนวงกลม
เมื่อมีแรงกระทําตอวัตถุในลักษณะที่ทิศทางของแรงตั้งฉากกับวัตถุตลอดเวลา จะมีผลทําใหวัตถุเคลื่อนที่เปน
วงกลม การที่มีแรงกระทําตลอดเวลาทําใหวัตถุที่มีการเคลื่อนที่เปนวงกลมอยูในสภาพที่ไมสมดุล คือมีความเรงตลอด
เวลา ความเร็วในขณะใดๆ ของวัตถุอยูในแนวของเสนสัมผัสของวัตถุ ณ จุดนั้น สวนความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่เปน
วงกลมดวยขนาดของความเร็วคงที่จะมีทิศชี้เขาหาจุดศูนยกลางเสมอ เรียกความเรงนี้วา ความเรงสูศูนยกลาง
2
ขนาดของความเรงสูศูนยกลาง
a = vr
การที่มีความเรงสูศูนยกลาง แสดงวาแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีทิศเขาสูจุดศูนยกลาง ซึ่งเปนทิศที่ตั้งฉากกับ
ความเร็ว ซึ่งอยูในแนวเสนสัมผัส เรียกแรงนี้วา แรงสูศูนยกลาง จากกฎขอที่ 2 ของนิวตัน ไดสมการแรงสูศนยกลางเปน
ู
2
F = mv
r
ความเร็วเชิงมุม คือ มุมที่เสนรัศมีกวาดไปไดใน 1 หนวยเวลา มีหนวยเปน เรเดียนตอวินาที และมักจะใช
สัญลักษณ ω ความสัมพันธระหวางความเร็วเชิงเสนและความเร็วเชิงมุมเปน
ω = v
r
จากความสัมพันธนี้ทําใหเขียนสมการของความเรงสูศูนยกลางและแรงสูศูนยกลาง ในเทอมของความเร็วเชิงมุม
ไดวา
a = ω2R
และ
F = mω2R

การเลี้ยวของรถจักรยาน
เมื่อรถจักรยานเลี้ยวโคง ผูขับขี่ตองเอียงรถเปนมุม θ กับแนวดิ่งเพื่อมิใหโมเมนตเนื่องจากแรงปฏิกิริยาจากพื้น
มากระทําแกตัวรถ ซึ่งจะทําใหรถลม คาของมุม θ หาไดจากสมการ
2
tan θ = v
rg

การยกระดับถนนที่เปนทางโคง
ถนนที่เปนทางโคงมีการยกระดับถนนใหเอียงทํามุมกับพื้นราบ เพื่อใหรถที่มีความเร็วเหมาะสมสามารถเลี้ยวผาน
ไปไดโดยไมไถลออกนอกโคง แมถนนนั้นจะไมมีแรงเสียดทานก็ตาม
ถา r เปนรัศมีความโคงของถนน และ v เปนอัตราเร็วสูงสุดของรถที่สามารถเคลื่อนที่ไปตามทางโคงไดโดยไม
2
tan θ = v
ลื่นไถล จะไดมุมเอียงของถนนเปน θ โดย
rg
สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตของถนนโคง
กรณีมิไดยกพื้นถนน แรงเสียดทานระหวางพื้นถนนกับลอจะทําใหรถไมไถลออกนอกโคง ถา µ เปนสัมประสิทธิ์
2
ความเสียดทานสถิตระหวางลอรถกับถนน จะได
µ = v
rg
BOBBYtutor Physics Note

แบบทดสอบ
.
1. ในการทดลองการเคลื่อนที่เปนวงกลมในระนาบระดับ ขณะที่กําลังแกวงใหจุกยางหมุนอยูนั้น เชือกที่ผูกกับจุกยาง
ขาดออกจากกัน ขณะที่เชือกขาด ภาพการเคลื่อนที่ที่สังเกตจากดานบนจะเปนตามรูปใด ถา a เปนตําแหนงของ
จุกยางขณะที่เชือกขาด
1)

2)
a

a

3)

4)
a

a

2. ในการทดลอง การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนววงกลม โดยแกวงจุกยางในลักษณะดังรูป ถานํามาเขียนกราฟระหวาง
ขนาดของแรงดึงในเชือก (F) กับกําลังสองของความถี่ของการแกวง (f2) เมื่อรัศมีคงตัว R1 คาหนึ่ง และ R2 อีก
คาหนึ่ง โดย R2 > R1 จะไดกราฟดังรูปใด

f2

f2

R1
R2

1)

R1

2)

F

O

R2

F

O

f2

f2
R1 R2

R2 R1

3)

4)
O

F

O

F
BOBBYtutor Physics Note

3. เครื่องบินบินวนเปนวงกลมไดครบรอบใน 2.2 นาที ถาอัตราเร็วของเครื่องบินเปน 180 เมตร/วินาที ความเรงสู
ศูนยกลางของเครื่องบินเปนเทาใด
1) 2.4 เมตร/วินาที2
2) 4.8 เมตร/วินาที2
3) 8.6 เมตร/วินาที2
4) 10 เมตร/วินาที2
4. แรงที่รถกระทําตอพื้นถนนในขณะที่รถเคลื่อนที่ผานยอดเขาที่มีรัศมีความโคง 35 เมตร จะมีคาเปนเทาใด ถารถ
มีมวล 700 กิโลกรัม และวิ่งดวยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที
1) 3500 นิวตัน
2) 5000 นิวตัน
3) 7000 นิวตัน
4) 9000 นิวตัน
5. มวลกอนหนึ่งเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 1 หนวยในแนวราบ ขอสรุปตอไปนี้ ขอใดไมจริง
1) ขนาดของความเร็วเฉลี่ยของวัตถุมีคาคงที่
2) ขนาดของความเร็วที่เวลาใดๆ ของวัตถุมีคาคงที่
3) ความเร็วเชิงมุมที่เวลาใดๆ ของวัตถุจะตองคงที่ 4) ความเรงที่เวลาใดๆ ของวัตถุจะตองคงที่
6. ขณะแกวงจุกยางใหเคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็ว 5 เรเดียน/วินาที ความยาวของเชือกจากปลายบนของทอพีวีซี
1
่
ี ี ึ้
ถึงจุกยางเปน 0.1 เมตร ถาลดความยาวเหลือ 4 ของความยาวเดิมโดยเลือนทอพีวซขน อัตราเร็วเชิงมุมของจุกยาง
จะเปนเทาใด

1) 10 เรเดียน/วินาที 2) 15 เรเดียน/วินาที 3) 20 เรเดียน/วินาที 4) 25 เรเดียน/วินาที
7. ดาวเทียมดวงหนึ่งโคจรรอบโลกดวยรัศมีวงโคจร R จะมีอัตราเร็ว v ถาดาวเทียมดวงนี้โคจรรอบดาวเคราะหที่มี
มวลเปน 3 เทาของโลก ที่รัศมีวงโคจร R เทากัน ดาวเทียมจะมีอัตราเร็วเทาใด
3) 3v
4) 9v
1) 3 v
2) v
3
8. รถเลี้ยวโคงบนทางราบดวยรัศมี 100 เมตร มีอัตราเร็วคงที่ 16 เมตร/วินาที ใหหาคาสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
ระหวางลอกับถนนที่นอยที่สุดที่ทําใหรถไมไถลออกนอกเสนทาง
1) 0.016
2) 0.064
3) 0.256
4) 0.640

เฉลย
1. 1)

2. 1)

3. 3)

4. 2)

5. 4)

6. 1)

7. 1)

8. 3)
BOBBYtutor Physics Note

การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล เปนการเคลื่อนที่ที่ประกอบดวยการเคลื่อนที่ 2 แนวที่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ทําให
แบงการคํานวณการเคลื่อนที่ออกเปน 2 สวน โดยความเชื่อมโยงการเคลื่อนที่ทั้ง 2 แนว คือ การเคลื่อนที่ทั้งสองนั้นมี
เวลาเทากัน ตัวอยางของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตลที่เห็นไดชัด คือการเคลื่อนที่ภายใตแรงความโนมถวงทีความเร็วตน
่
ไมไดอยูในแนวดิ่ง
การคํานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตลแบงออกเปน 2 สวน ไดแก การคํานวณในแนวราบ และการ
คํานวณในแนวดิ่ง
สําหรับสวนของการเคลื่อนที่ในแนวราบมักจะไมมีแรงมากระทําตอวัตถุ สมการของการเคลื่อนที่จึงเปน
ระยะทางในแนวราบ = อัตราเร็วในแนวราบ × เวลา
แตถามีแรงกระทําในแนวราบ ก็หาอัตราเรงในแนวราบไดจากกฎขอที่ 2 ของนิวตัน หรือ F = ma
เมื่อไดความเรงในแนวราบแลว ก็คํานวณหาปริมาณอื่นๆ ไดจากสมการ
v = u + at
v2 = u2 + 2as
1
s = ut + 2 at2
การคํานวณในแนวดิ่ง จะมีลักษณะเดียวกับการคํานวณการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งอยางเสรี คือความเรงของวัตถุมี
คาเปน g ทิศลง และมีการกําหนดเครื่องหมายของปริมาณเวกเตอรทุกชนิด
สิ่งที่เชื่อมโยงการคํานวณในแนวราบและแนวดิ่งก็คือเวลา กลาวคือเวลาที่เกี่ยวของกับการคํานวณในแนวราบ
และในแนวดิ่งเปนเวลาเดียวกัน มีคาเทากัน

แบบทดสอบ
1. ยิงลูกหินขึ้นไปจากพื้นราบดวยความเร็วตน 40 เมตร/วินาที ในแนวทํามุม 30° กับแนวดิ่ง ใหหาวาลูกหินจะตก
ถึงพื้นที่ระยะหางจากจุดเริ่มตนเทาใด
2) 140 3 m
3) 100 3 m
4) 80 3 m
1) 160 3 m
2. ยิงกระสุนออกไปในแนวราบจากหนาผาสูงดวยความเร็ว 40 เมตร/วินาที พบวากระสุนปนตกถึงพื้นราบหางจาก
แนวยิงเปนระยะ 80 เมตร หากไมคํานึงถึงแรงตานอากาศ ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง
ก. กระสุนใชเวลาในอากาศ 2 วินาที
ข. หนาผาสูง 40 เมตร
ค. ความเร็วในแนวดิ่งของกระสุนขณะตกถึงพื้นเปน 20 เมตร/วินาที
1) ก. และ ข.
2) ก. และ ค.
3) ข. และ ค.
4) ก. เทานั้น
BOBBYtutor Physics Note

3. ลูกปงปองกระเด็นทํามุมเงย 30° กับแนวระดับจากขอบโตะซึ่งสูง 1 เมตร ดวยอัตราเร็ว 4 เมตรตอวินาที ใหหา
ขนาดของความเร็วของลูกปงปองขณะอยูสูงจากพื้น 0.55 เมตร
1) 4.4 เมตร/วินาที
2) 5 เมตร/วินาที
3) 5.6 เมตร/วินาที
4) 6 เมตร/วินาที
4. ปลอยกอนหินหนัก 10 กิโลกรัม ลงมาจากหนาผาสูง 20 เมตร ขณะนั้นมีลมพัดในแนวราบ ทําใหกอนหิน
มีความเรงในแนวราบ 5 เมตร/วินาที2 แนวการเคลื่อนที่ของกอนหินจะเปนอยางไร
1) เคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวทํามุม tan-1 0.5 กับแนวระดับ
2) เคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวทํามุม tan-1 0.5 กับแนวดิ่ง
3) เคลื่อนที่เปนแบบพาราโบลา
4) เคลื่อนที่เปนเสนตรงระยะหนึ่ง แลวเปลี่ยนเปนแบบพาราโบลา
5. ยิงวัตถุขึ้นไปในอากาศในแนวทํามุม 45° กับแนวราบ ที่จุดสูงสุดวัตถุมีความเร็ว 10 เมตร/วินาที ในหาระยะทาง
สูงสุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได และวัตถุตกหางจากจุดยิงเทาใด
1) 5 เมตร และ 20 เมตร
2) 5 เมตร และ 25 เมตร
3) 10 เมตร และ 20 เมตร
4) 10 เมตร และ 25 เมตร
6. จากอุปกรณในการทดลองเรื่องการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล ทําใหหาเสนทางการเคลื่อนที่ของลูกปนในอากาศหลัง
จากหลุดจากปลายรางได และไดกราฟระหวางการกระจัดจากปลายรางในแนวดิง (y) กับแนวราบยกกําลังสอง (x2)
่
ดังรูป ความเร็วของลูกปนขณะหลุดจากปลายรางเปนเทาใด
y (m)
1.25

25

x 2 (m2)

1) 5 m/s
2) 10 m/s
3) 15 m/s
4) 20 m/s
7. ยิงกระสุนมวล 0.2 กิโลกรัม ออกไปดวยความเร็ว 100 เมตร/วินาที ในแนวทํามุม 53° กับแนวระดับ เมื่อ
สิ้นวินาทีที่ 8 หลังการยิง กระสุนมีพลังงานกี่จูล
1) 120
2) 240
3) 320
4) 360
8. ชายคนหนึ่งยืนบนพื้นสนามราบ เขาขวางลูกบอลขึ้นไปในอากาศ ลูกบอลลอยอยูในอากาศนาน 4 วินาที โดยไมคิด
แรงตานของอากาศ ถาลูกบอลไปไดไกลในแนวระดับ 60 เมตร ความเร็วที่ใชขวางลูกบอลมีคาเทาใด
1) 15 เมตร/วินาที
2) 20 เมตร/วินาที
3) 25 เมตร/วินาที
4) 30 เมตร/วินาที
9. โยนวัตถุจากรถบรรทุกในแนวดิงดวยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที โดยขณะโยนรถกําลังผานบานสีเขียวพอดี คนในบาน
่
เห็นวัตถุเคลื่อนที่ออกจากรถในแนวทํามุม 45° กับแนวระดับ เมื่อรถเคลื่อนที่ผานบานสีเหลือง วัตถุก็กลับตกลง
มายังรถอีกครั้งหนึ่ง ใหหาระยะระหวางบานทั้ง 2 หลัง
1) 10 เมตร
2) 20 เมตร
3) 30 เมตร
4) 40 เมตร
BOBBYtutor Physics Note

10. เครื่องบินบินในแนวราบดวยความเร็ว 72 เมตร/วินาที ที่ความสูง 125 เมตร ขางลางมีรถบรรทุกวิ่งดวยความเร็ว
คงที่ไปทางเดียวกับเครื่องบิน นักบินตองการทิ้งสัมภาระลงที่รถบรรทุก ถาระยะในแนวราบขณะปลอยสัมภาระ
ระหวางเครื่องบินและรถเปน 160 เมตร ใหหาความเร็วของรถบรรทุก
1) 10 เมตร/วินาที
2) 20 เมตร/วินาที
3) 30 เมตร/วินาที
4) 40 เมตร/วินาที
11. ถาตองการยิงกระสุนปนใหญใหขามเนินสูง 500 เมตร และตกสูเปาหมายหลังเนินเขา หางจากจุดยิงเปนระยะ
500 เมตร โดยเนินเขาอยูตรงกึงกลางระหวางปนใหญกบเปาหมายพอดี จะตองทําใหปนใหญทํามุมเทาใดกับพื้นดิน
 ่
ั
 1
2) tan-1 1
3) tan-1 4
4) ขอมูลไมเพียงพอ
1) tan-1  4 
 
12. ในการยิงขีปนาวุธจากพื้นดิน โดยทํามุม θ กับแนวระดับ ถา t เปนเวลาทั้งหมดในการเคลื่อนที่ และ x เปนระยะ
กระจัดในแนวระดับ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
2) t ∝ (cos θ)-1
3) x ∝ sin θ
4) x ∝ sin 2θ
1) t ∝ (sin θ)1/2
13. ปดลูกบอลจากจุดบนสุดของขั้นบันได ทําใหความเร็วตนของลูกบอลอยูในแนวระดับ และมีขนาด 2.5 เมตร/วินาที
ถาบันไดแตละขั้นสูง 15 เซนติเมตร และกวาง 20 เซนติเมตร ใหหาวาลูกบอลจะตกลงมาตามบันไดไดกี่ขั้น
1) 4 ขั้น
2) 5 ขั้น
3) 6 ขั้น
4) 7 ขั้น

เฉลย
1. 4)
11. 3)

2. 2)
12. 4)

3. 2)
13. 2)

4. 2)

5. 2)

6. 2)

7. 4)

8. 3)

9. 2)

10. 4)

การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotation) คือ การที่วัตถุของแข็งหมุนรอบตัวเองรอบจุดใดจุดหนึ่งในตัวมัน หรือแกน
ใดแกนหนึ่งที่ผานตัวมัน ปริมาณที่เกี่ยวของกับการหมุน ไดแก
การกระจัดเชิงมุม (Angular displacement) คือ มุมที่เสนรัศมีกวาดไปได มีหนวยเปนเรเดียน
ความเร็วเชิงมุม (Angular velocity) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของการกระจัด หรือการกระจัดที่เปลี่ยนไปใน
หนึ่งหนวยเวลา ใชสัญลักษณ ω มีหนวยเปนเรเดียน/วินาที
ความเรงเชิงมุม (Angular accerelation) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วเชิงมุม มีหนวยเรเดียน/วินาที2
ใชสัญลักษณ α ความสัมพันธระหวางความเรงและความเร็วเชิงมุมเปนดังสมการ
α = ∆ω
∆t
การหมุนที่มีความเรงเชิงมุมคงที่มีความสัมพันธระหวางการกระจัดเชิงมุม ความเร็วเชิงมุมและความเรงเชิงมุม
คลายกับระหวางการกระจัด ความเร็ว ความเรง ของการเปลี่ยนตําแหนงที่มีความเรงคงที่
BOBBYtutor Physics Note

ถาให ω0 และ ω เปนความเร็วเชิงมุมในตอนแรก และเมื่อเวลาผานไป t ตามลําดับ
θ เปนการกระจัดเชิงมุมเมื่อเวลาผานไป t นับจากเริ่มหมุน
α เปนความเรงเชิงมุม
ω
θ

=
=

ω2

=

ω0 + αt

เทียบไดกับ
เทียบไดกับ
เทียบไดกับ

1
ω0t + 2 αt2
2
ω0 + 2αθ

v = u + at
1
s = ut + 2 at2
v2 = u2 + 2as

นอกจากนี้ ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วเชิงมุมกับอัตราเร็วเชิงเสน และระหวางความเรงเชิงมุมกับความเรงเชิงเสน
ของวัตถุที่มีรัศมีของการหมุนเปน r เปนดังนี้
ω

= v
r

และ

α

= a
r

ทอรกกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
กรณีของการหมุน วัตถุมีสมบัติที่จะรักษาสภาพการหมุน โดยวัตถุที่รักษาสภาพการหมุนจะอยูในสภาพที่ไมหมุน
หรือหมุนดวยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ เรียกสมบัติที่ทําใหวัตถุรักษาสภาพการหมุนวา โมเมนตความเฉื่อย (Moment of
inertia) และสิ่งที่ทําใหสภาพการหมุนของวัตถุเปลี่ยนไปก็คือ ทอรก (Torque)
ทอรก หรือโมเมนต คือสิ่งที่ทําใหสภาพการหมุนของวัตถุเปลี่ยนไป เชนเดียวกับแรงที่ทําใหสภาพการเคลื่อนที่
ของวัตถุเปลี่ยนไป โดยกําหนดวา ทอรกหรือโมเมนตของการหมุนใด มีคาเทากับผลคูณของขนาดของแรงกับระยะทาง
ตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรงนั้น
ทอรกเปนปริมาณเวกเตอร ประกอบดวยขนาดและทิศทาง โดยทิศทางของทอรกคือทิศของการหมุนที่เกิดขึ้น
ไดแก ทิศตามเข็มนาฬิกา หรือทิศทวนเข็มนาฬิกา
ในเรื่องของการหมุนมักใช τ เปนสัญลักษณของทอรก หนวยของทอรก คือ นิวตัน-เมตร

โมเมนตความเฉื่อย
โมเมนตความเฉื่อยของวัตถุแตละอันมิไดมีคาขึ้นกับมวลเทานั้น แตยังขึ้นกับการกระจายของมวลและตําแหนง
ของแกนหมุนในวัตถุอีกดวย พิจารณาวัตถุเกร็งที่กําลังหมุนรอบแกนๆ หนึ่ง สามารถพิจารณาไดวาวัตถุเกร็งนี้ประกอบ
ดวยอนุภาคที่มีมวลนอยๆ อยูมากมาย ถาให mi และ ri เปนมวลของอนุภาคตัวที่ i และเปนระยะระหวางอนุภาคตัวที่ i
กับจุดหมุนตามลําดับ จะไดโมเมนตความเฉื่อยของอนุภาคตัวที่ i เปน mi ri2
สําหรับคาโมเมนตความเฉื่อยทั้งหมดของวัตถุทั้งกอน จะมีคาเทากับผลบวกของโมเมนตความเฉื่อยของอนุภาค
ทั้งหมด นั่นคือถาให I เปนโมเมนตความเฉื่อยของวัตถุเกร็งจะได
I = m1r12 + m2 r22 + ... + mi ri2 + ...
หรือ
I = ∑ m i ri2
i

โมเมนตความเฉื่อยมีหนวยในระบบ SI เปน กิโลกรัม-เมตร2
BOBBYtutor Physics Note

กฎการเคลื่อนที่แบบหมุน
จากการศึกษาธรรมชาติของการเคลื่อนที่แบบหมุนของวัตถุ ทําใหเขียนกฎการเคลือนทีแบบหมุนไดเปน 3 ประการ
่ ่
เชนกัน ดังนี้
1. ถาไมมีทอรกลัพธมากระทํา วัตถุจะรักษาสภาพการหมุนไวเสมอ
2. ถามีทอรกลัพธที่ไมเทากับศูนยมากระทํา วัตถุจะหมุนดวยความเรงเชิงมุมตามสมการ
τ = Iα
3. ทุกๆ ทอรกกิริยาจะมีทอรกปฏิกิริยาที่มีขนาดเทากันแตทิศตรงขามเสมอ

โมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum)
การเคลื่อนที่แบบหมุนมีการกําหนดปริมาณที่เรียกวา โมเมนตัมเชิงมุมขึ้น โดยโมเมนตัมเชิงมุมมีหลักความถาวร
ในลักษณะเดียวกับโมเมนตัมเชิงเสน โดยโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุที่มีโมเมนตความเฉื่อย I และหมุนดวยความเร็ว
เชิงมุม ω มีคาเปน L โดย
L = Iω
หลักความถาวรของโมเมนตัมเชิงมุมกลาววา หากไมมีทอรกภายนอกมากระทํา โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุจะมีคา
คงที่ หนวยของโมเมนตัมเชิงมุมในระบบ SI คือ กิโลกรัม ⋅ เมตร2/วินาที

พลังงานจลนเนื่องจากการหมุน (Rotational Kinetic Energy)
วัตถุที่กําลังหมุนจะมีพลังงานจลนเนื่องจากการหมุน เขียนไดเปน KEr โดย
1
KEr = 2 Iω2
ที่ผานมาเห็นไดวาปริมาณตางๆ ทีเ่ กียวของกับการเคลือนทีเ่ ชิงเสน และการเคลือนทีแบบหมุนมีความสอดคลองกัน
่
่
่ ่
ซึ่งอาจจะสรุปไดอีกครั้งดังนี้
อัตราเร็วเชิงเสน v
เทียบไดกับ
อัตราเร็วเชิงมุม ω
ความเรงเชิงเสน a
เทียบไดกับ
ความเรงเชิงมุม α
ระยะทางเชิงเสน s
เทียบไดกับ
ระยะทางเชิงมุม θ
แรง F
เทียบไดกับ
ทอรก τ
โมเมนตัมเชิงเสน P
เทียบไดกับ
โมเมนตัมเชิงมุม L
มวล m
เทียบไดกับ
โมเมนตความเฉื่อย I
ดังนั้นเมื่อการเคลื่อนที่เชิงเสนมีสมการของแรง F = ma
τ = Iα
การเคลื่อนที่แบบหมุนก็มีสมการของทอรก
การเคลื่อนที่เชิงเสนมีสมการของโมเมนตัม
P = mv
การเคลื่อนที่เชิงมุมก็มีสมการของโมเมนตัมเชิงมุม L = Iω
BOBBYtutor Physics Note

แบบทดสอบ
1. วงลอกลมรัศมี 2 เมตร มีแรง 4 นิวตัน มากระทําในแนวเสนสัมผัส ทําใหวงลอหมุนรอบจุดศูนยกลางดวย
ความเรงเชิงมุม 0.5 เรเดียน/วินาที2 ใหหาโมเมนตความเฉื่อยของวงลอ
2) 8 kg-m2
3) 16 kg-m2
4) 20 kg-m2
1) 4 kg-m2
2.

350 g

แขวนมวล 350 g จากรอกรัศมี 14 cm เมื่อปลอยมวลจากสภาพหยุดนิ่ง พบวาวัตถุจะตกลงไดระยะทาง 2.2 m
ในเวลา 5.5 s ใหหาโมเมนตความเฉื่อยของรอก
1) 0.464 กิโลกรัม-เมตร2
2) 0.518 กิโลกรัม-เมตร2
3) 0.610 กิโลกรัม-เมตร2
4) 0.679 กิโลกรัม-เมตร2
3. ลูกบอลมวล 1.2 กิโลกรัม ติดอยูที่ปลายขางหนึ่งของแทงไมยาว 0.8 เมตร ปลายอีกขางหนึ่งของแทงไมตรึงติด
กับที่ และทําใหแทงไมหมุนไดคลองเปนรูปวงกลมในแนวดิ่ง ในขณะที่แทงไมอยูในแนวราบ ทอรกเนื่องจากแรง
ความโนมถวงที่กระทําตอแทงไมเปนเทาใด
1) 0 N-m
2) 0.96 N-m
3) 9.6 N-m
4) 96 N-m
4.
0.25
0.3 k

0.75
A

0.1 k

B

วัตถุมวล 0.3 และ 0.1 กิโลกรัม ติดอยูกับปลายทั้งสองของโลหะเบายาว 1.00 เมตร ใหหาพลังงานจลนของ
การหมุน ถาแทงโลหะหมุนรอบแกน AB ในอัตรา 10 เรเดียน/วินาที
1) 3.75 จูล
2) 5.63 จูล
3) 7.50 จูล
4) 15.0 จูล
5. เด็กยืนบนแปนซึ่งหมุนรอบแกนดิง เด็กและแปนมีโมเมนตความเฉือย 8.0 kg-m2 มือแตละขางถือมวลอันละ 2 kg
่
่
เมื่อเหยียดแขนมวลหางจากแกนหมุน 1.0 m และแปนมีอัตราเร็ว 5 รอบ/วินาที เมื่อหดแขนตุมนํ้าหนักหางจาก
แกนหมุน 20 cm ใหหาวาแปนจะหมุนดวยอัตราเร็วกี่รอบ/วินาที
1) 6
2) 6.2
3) 6.6
4) 7.3
BOBBYtutor Physics Note

6.

4
5m
2

จากรูป รอกรัศมี 0.2 เมตร มีโมเมนตความเฉื่อย 0.4 kg-m2 ถาเชือกไมเกิดการไถลบนรอกแลว มวล 4 kg
จะเคลื่อนที่ลงมากระทบพื้นดวยความเร็วเทาใด
4) 10 m/s
1) 2.5 m/s
2) 5 m/s
3) 5 2 m/s
2
7. วัตถุรูปทรงกระบอก รัศมี 0.1 m มวล 10 kg กลิ้งจากยอดของพื้นเอียง ซึ่งสูงจากพื้น 1.2 m เมื่อถึงพื้นลางวัตถุ
มีพลังงานจลนเนื่องจากการเคลื่อนที่ 40 J ใหหาโมเมนตของความเฉื่อยของวัตถุนี้
2) 0.2 kg-m2
3) 0.5 kg-m2
4) 1.0 kg-m2
1) 0.1 kg-m2

เฉลย
1. 3)

2. 1)

3. 3)

4. 1)

5. 4)

6. 2)

7. 3)
BOBBYtutor Physics Note

การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิกและคลื่น
การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิก (SHM) คือ การเคลื่อนที่แบบสั่นที่มีแอมพลิจูดคงที่ การเคลื่อนที่แบบนี้จะมี
ความเรง (a) แปรผันตรงกับระยะกระจัด (x) แตมีทิศทางตรงขาม คือ
π
a = -ω2x ; โดย ω = 2T = 2πf
และมีความเร็วที่ตําแหนง x คือ
v =

ω

A 2 - x2 ;

เมื่อ A คือ แอมพลิจูดการสั่น

ดังนั้น การเคลื่อนที่แบบ SHM จึงมีความเรงมากสุดที่ระยะกระจัดสูงสุด (x = A) แตจะมีความเร็วสูงสุดที่จุดสมดุล
(x = 0) คือ ความเรงจะมีเฟสนําหนาความเร็วอยู 90° ขณะที่ความเร็วก็จะมีเฟสนําหนาระยะกระจัดอยู 90°
การเคลื่อนที่แบบ SHM จะตองมีแรงลัพธที่ไมเปนศูนยมากระทําตอวัตถุ ในแนวเขาสูจุดสมดุลของการสั่นและ
เปนไปตามสมการ
ΣF

พลังงานขณะวัตถุสั่นแบบ SHM ;

= ma

= -mω2x

1
E = 2 mω2A2
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy
Phy

More Related Content

What's hot

Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงPumPui Oranuch
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 Supaluk Juntap
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกลaoffiz
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันอัครพงษ์ เทเวลา
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 

What's hot (20)

Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรง
แรงแรง
แรง
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 

Similar to Phy

เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎาsupphawan
 
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3Mew
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลApinya Phuadsing
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุdnavaroj
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]Worrachet Boonyong
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1weerawat pisurat
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสงwanpa krittiyawan
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นSom Kechacupt
 

Similar to Phy (20)

เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
 
0 pat2 53-1
0 pat2 53-10 pat2 53-1
0 pat2 53-1
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
ปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่นปรากฏการณ์คลื่น
ปรากฏการณ์คลื่น
 

Phy

  • 1. BOBBYtutor Physics Note การเคลื่อนที่ การศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ นับวาเปนพื้นฐานที่สําคัญมากอันหนึ่งในทางกลศาสตรและฟสิกส ปริมาณตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ ไดแก การกระจัด (displacement) ถาใหจุดเริ่มตนของการเคลื่อนที่เปนจุดตนกําเนิดของระบบพิกัด จะกลาวไดวา การกระจัดของการเคลื่อนที่ใด คือ เวกเตอรที่มีจุดตั้งตนตรงจุดเริ่มตนของการเคลื่อนที่นั้น และมีจุดปลายหรือหัวลูกศร ของเวกเตอรอยูที่จุดสิ้นสุดของการเคลื่อนที่นั้น การบอกการกระจัดตองระบุทั้งขนาดและทิศทาง ในระบบ SI การกระจัด มีหนวยเปน เมตร ระยะทาง (distance) ในการเคลื่อนที่หนึ่งๆ ระยะทาง คือ ความยาวของเสนทางที่วัตถุเคลื่อนที่ (Path) การระบุ ระยะทางจะกระทําโดยไมคํานึงถึงทิศทางของการเคลื่อนที่นั้น ในระบบ SI ระยะทางมีหนวยเปนเมตรเชนเดียวกับหนวย ของการกระจัด โดยทั่วไป ระยะทางจะไมเทากับขนาดของการกระจัด อยางไรก็ดีหากวัตถุมีการเคลื่อนที่เปนเสนตรง และเคลื่อนที่ในทิศทางเดียว คือ ไมมีการเลี้ยว หรือถอยกลับมาในทิศทางเดิม ตัวเลขที่เปนระยะทางและตัวเลขที่เปน ขนาดของการกระจัดจะมีคาเทากัน ความเร็ว (velocity) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของการกระจัด หรือกลาวไดวาความเร็วคือการกระจัดที่เปลี่ยน ไปในหนึ่งหนวยเวลา ความเร็วเปนปริมาณเวกเตอร การบงบอกความเร็วจึงตองระบุทั้งขนาดและทิศทาง ในระบบ SI ความเร็วมีหนวยเปน เมตร/วินาที อัตราเร็ว (speed) คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา อัตราเร็วเปนปริมาณที่มีเพียงขนาด ไมมี ทิศทาง หนวยของอัตราเร็วในระบบ SI เปน เมตร/วินาที ความเรง (acceleration) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของความเร็ว หรือคือความเร็วทีเ่ ปลียนไปในหนึงหนวยเวลา ่ ่ โดยความเร็วที่เปลี่ยนไปนี้อาจจะเปนการเปลี่ยนแปลงขนาด คือ วัตถุเคลือนทีเ่ ร็วขึนหรือชาลง หรือเปนการเปลียนทิศทาง ่ ้ ่ การเคลื่อนที่ ทั้งๆ ที่วัตถุยังคงมีขนาดของความเร็วที่คงที่ ความเรงเปนปริมาณเวกเตอร ประกอบดวยขนาดและทิศทาง
  • 2. BOBBYtutor Physics Note จากความสัมพันธระหวางการกระจัด ความเร็ว และความเรงที่กลาวมาสามารถพิสูจนไดวา สําหรับกราฟระหวาง ความเร็วกับเวลา จะมีความชันเปนความเรง และพื้นที่ใตกราฟเปนการกระจัด วัตถุที่เคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ คือ ทั้งขนาดและทิศทางของความเรงมีคาคงที่ วัตถุจะมีการเคลื่อนที่เปนแนว เสนตรง และความสัมพันธระหวางความเร็ว ความเรง การกระจัด และเวลา เปนไปตามสมการ v = u + at 1 s = ut + 2 at2 v2 = u2 + 2as โดย u เปนความเร็วตน v เปนความเร็วปลาย a เปนความเรงของวัตถุ s เปนการกระจัด แบบทดสอบ 1. รถทดลองเคลื่อนที่เปนเสนตรงไปทางทิศตะวันออกเปนระยะ L ดวยอัตราเร็ว 3 เมตร/วินาที จากนั้นเคลื่อนที่ ขึ้นไปทางทิศเหนือดวยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที เปนระยะทาง 2L อัตราเร็วเฉลี่ยของรถทดลองเปนเทาใด ึ 2. สมการของการเคลื่อนที่ตามแกน X ในหนวย SI ของอนุภาคหนึงเปน x = 3t2 ในชวงเวลาจาก 2 วินาทีถง 2 + ∆t ่ อนุภาคจะมีความเร็วเฉลี่ยเปนเทาใด 3. ชายคนหนึ่งขับรถจากสภาพหยุดนิ่ง โดยเริ่มจากจุด A ดวยความเรงคงที่เปนเสนตรง เมื่อรถผานจุด B พบวารถ มีความเร็ว 20 เมตร/วินาที ใหหาวาขณะที่รถอยูตรงกึ่งกลางระหวางจุด A และ B รถมีความเร็วเทาใด 4. คนขับ ขับรถบรรทุกมาดวยความเร็วคาหนึ่ง เมื่อผานบาน A คนขับก็เบรกรถดวยความหนวง 2 เมตร/วินาที2 ทําใหรถเคลื่อนที่ไปถึงบาน B ซึ่งหางออกไป 20 เมตรไดในเวลา 2 วินาที ใหหาความเร็วของรถบรรทุกขณะผาน บาน B นี้ 5. รถบรรทุกเริ่มเคลื่อนที่จากสภาพหยุดนิ่งดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 อีก 2 วินาทีตอมารถยนตนั่งก็ออกวิ่ง ณ ตําแหนงเดียวกับที่รถบรรทุกเริ่มเคลื่อนที่ โดยรถยนตนั่งมีความเรง 6 เมตร/วินาที2 ใหหาวาเมื่อรถทั้งสอง มีความเร็วเทากัน รถคันใดที่อยูขางหนา และระยะระหวางรถทั้งสองเปนเทาใด 6. รถคันหนึ่งกําลังวิ่งอยูบนทางหลวง ขณะที่ผานหลักกิโลเมตรที่ 130 ความเร็วของรถมีคาเปน 10 เมตร/วินาที และ เมื่อผานหลักกิโลเมตรที่ 131 ความเร็วมีคาเปน 12 เมตร/วินาที ใหหาวาขณะที่รถผานหลักกิโลเมตรที่ 132 ความเร็วของรถมีคาเทาใด (กําหนดใหถนนในชวงนั้นเปนเสนตรง) 7. ลูกปนเคลื่อนที่ได 36 เมตรในวินาทีที่ 2 หลังจากเริ่มจับเวลา และ 66 เมตรในวินาทีที่ 5 ใหหาระยะทางที่ลูกปน เคลื่อนที่ไดในวินาทีที่ 10 8. เด็กคนหนึ่งโยนพวงกุญแจขึ้นไปในแนวดิ่ง เพื่อใหเพื่อนที่อยูบนระเบียงสูงขึ้นไป พบวาเพื่อนรับกุญแจไดในเวลา 2 วินาทีตอมา ถาจุดที่รับสูงกวาจุดโยน 4 เมตร พวงกุญแจจะถึงมือผูรับดวยความเร็วเทาใด
  • 3. BOBBYtutor Physics Note เฉลย 1. 3. 5. 7. 2.25 m/s 14.14 m/s รถบรรทุกอยูขางหนา และรถหางกัน 6 เมตร 21 m/s 2. 4. 6. 8. 12 + 3∆t 8 m/s 13.7 m/s 8 m/s ทิศลง แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เปนกฎที่วาดวยความสัมพันธระหวางแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุกับสภาพการเคลื่อนที่ ของวัตถุนั้น โดยกลาวถึงกรณีที่มีและไมมีแรงลัพธมากระทําตอวัตถุ นอกจากนี้กฎการเคลื่อนที่นี้ยังครอบคลุมถึงความ สัมพันธระหวางที่กระทํากันระหวางวัตถุคูหนึ่งๆ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันประกอบดวยกฎตางๆ 3 ขอ ดังนี้ กฎขอที่ 1 วัตถุจะคงสภาพการเคลื่อนที่ของตัวเองอยูเสมอ นอกจากจะมีแรงลัพธภายนอกที่ไมเทากับศูนยมา บังคับใหวัตถุนั้นเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ไป บางครั้งเรียกกฎขอ 1 นี้วา กฎแหงความเฉื่อย (Law of Inertia) กฎขอที่ 2 แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมวล m แลวทําใหวัตถุมีความเรง a มีคาเทากับผลคูณระหวางมวลและ ความเรงนั้น หรือเขียนเปนสมการไดวา F = ma มีขอนาสังเกตวาสมการนีเ้ ปนสมการเวกเตอร ซึ่งสมการบงบอกวาทิศของแรงลัพธเปนทิศเดียวกับทิศของความเรง  กฎขอที่ 3 ทุกๆ แรงกิริยา (Action) จะมีแรงปฏิกิริยา (Reaction) ที่มีขนาดเทากันแตทิศตรงขามเสมอ การทําความเขาใจในกฎขอที่ 3 นี้มีขอควรตระหนักวา แรงปฏิกิริยาของแรงที่วัตถุที่หนึ่งกระทําตอวัตถุที่สอง ตองเปนแรงที่วัตถุที่สองกระทําตอวัตถุที่หนึ่งเทานั้น เปนแรงที่วัตถุอื่นกระทําตอวัตถุที่หนึ่งไมได กฎแรงดึงดูดระหวางมวล (Law of Gravity) กฎแรงดึงดูดระหวางมวล หรือที่เรียกวา กฎแหงความโนมถวง (Law of Gravitaty) เปนกฎที่แสดงถึงแรงดึงดูด ระหวางมวลสาร กฎแรงดึงดูดระหวางมวลกลาววา วัตถุทั้งหลายในเอกภพออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกันในลักษณะที่ ถาวัตถุ A หางจากวัตถุ B เปนระยะ r วัตถุ A จะสงแรง FA ซึ่งเปนแรงดึงดูดไปกระทําตอวัตถุ B ขณะเดียวกัน วัตถุ B จะสงแรง FB ซึ่งเปนแรงดึงดูดไปกระทําตอ วัตถุ A เชนกัน โดย FA และ FB มีขนาดเทากันแตทิศตรงขาม ถาให F เปนขนาดของแรง FA และ FB แลว จะได Gm1m2 F = r2 เรียก G วา คานิจแหงความโนมถวงสากล มีคาเทากับ 6.67 × 10-11 นิวตัน ⋅ เมตร2/กิโลกรัม2
  • 4. BOBBYtutor Physics Note สมดุล (Equilibrium) เมื่อแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเปนศูนย วัตถุจะอยูในสภาพสมดุล คือเปนไปตามกฎการเคลือนทีขอที่ 1 ของนิวตัน ่ ่ เรียกสภาพสมดุลที่เกิดจากแรงลัพธเปนศูนยนี้วา สมดุลตอการเปลี่ยนตําแหนง สภาพสมดุลแบบที่ 2 เรียกวา สมดุลตอการหมุน เกิดจากการที่ ทอรก (Torque) หรือโมเมนตลัพธที่กระทําตอ วัตถุเปนศูนย และสมดุลตอการหมุน วัตถุที่อยูในสภาพสมดุลตอการเปลี่ยนตําแหนงพรอมๆ กับสภาพสมดุลตอการหมุน คือ วัตถุทอยูในสภาพสมดุล ี่  อยางสมบูรณ จุดศูนยกลางมวลและจุดศูนยถวง จุดศูนยกลางมวล (Center of gravity) คือ จุดในวัตถุที่เหมือนกับแรงความโนมถวงของโลกมากระทําตรงจุดนี้ มักจะใช "cg" เปนสัญลักษณของจุดศูนยถวง การทรงตัวของวัตถุ หากแนวนํ้าหนักตกลงอยูระหวางฐานของวัตถุ วัตถุนั้นจะยังคงตั้งอยูไดไมมีการลม แตหาก แนวนํ้าหนักตกอยูนอกฐานของวัตถุแลว วัตถุนั้นจะลมลงทันที วัตถุที่มีการทรงตัวดีจะมีตําแหนงของจุดศูนยถวงตํ่า นอกจากนี้ความกวางของฐานของวัตถุก็มีผลตอการทรงตัว เชนกัน โดยวัตถุที่มีฐานที่กวางกวาจะทรงตัวไดดีกวาวัตถุที่มีฐานแคบๆ แบบทดสอบ 1. กรอบรูปมวล m ถูกแขวนไวดวยเชือก 2 เสน โดยเชือกแตละเสนยาว L และทํามุม กรอบรูปนี้ถูกดึงใหเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง g ใหหาความตึงในเชือกแตละเสน 2 θ กับกรอบดังรูป ถา g 2 L L θ θ m 1) 43mgθ sin 2) 23mgθ sin 3) 4 mg θ sin mg 4) 2 sin θ
  • 5. BOBBYtutor Physics Note 2. วัตถุ 2 กอน มวล m และ M (M มากกวา m) ผูกติดกันดวยเชือกเบาและคลองผานรอกลื่นที่ยอดของพื้นเอียง ทรงสามเหลี่ยมหนาจั่ว ดังรูป หากคาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานระหวางพื้นเอียงกับมวลทั้งสองเทากับ m ใหหา m ที่ทําใหกอนมวลมีการเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วคงที่ T m M θ θ     M  1)  M - m  tan θ 2)  M m m  tan θ 3)  M M m  tan θ 4) tan θ  + m  +   +  3. แรงคงที่ขนาดหนึ่ง ผลักวัตถุมวล 80 กิโลกรัม บนพื้นราบที่ไมมีความฝด สามารถเปลี่ยนความเร็วจาก 3 เมตร/วินาที เปน 4 เมตร/วินาที ในทิศเดิม และในเวลา 1 วินาที จงหาวาหากใชแรงขนาดเดียวกันนี้ผลักวัตถุมวล 50 กิโลกรัม บนพื้นเดียวกัน จะทําใหความเร็วเพิ่มขึ้นเทาใด ในเวลา 1 วินาทีเทากัน 1) 1.0 เมตร/วินาที 2) 1.2 เมตร/วินาที 3) 1.4 เมตร/วินาที 4) 1.6 เมตร/วินาที 4. กลองสองใบมีมวล m1 และ m2 ตามลําดับ วางซอนกันบนพื้นราบที่ไมมีแรงเสียดทาน มีแรง F กระทําตอกลอง m1 ทําใหกลองทั้งสองเคลื่อนที่ไปทางขวาดวยความเรง a ถา f เปนแรงเสียดทานสูงสุดที่มีไดระหวางผิวสัมผัสของ กลองทั้งสอง แรง F จะมีคามากที่สุดเทาใด มวล m2 จึงจะไมไถลไปบน m1 F a m2 f m1 m m m1 m +m 2) m1 +2m 2 f 4) 1m 2 2 f 1) m2 f 3) m 2 f 1 5. คันโยก กขคง ซึ่งมีความยาวของแกน กข ขค และ คง เทากันและหักเปนมุมฉากดังรูป ถาออกแรง F กระทํา ตั้งฉากกับแขน กข ที่จุด ก โดยให ข เปนจุดหมุน แรงที่นอยที่สุดที่กระทําตอปลาย ง โดยไมทาใหคนโยกหมุนรอบ ํ ั จุด ข จะมีขนาดเทาใด ก ข ค 3) F 4) F 2 3 6. เมื่อแรงสองแรงทํามุมกันคาตางๆ ผลรวมของแรงมีคาตํ่าสุด 2 นิวตัน และมีคาสูงสุด 14 นิวตัน ถาใหแรงทั้งสอง กระทําตอวัตถุมวล 2 กิโลกรัม ตรงจุดเดียวกัน แตในแนวที่ตั้งฉากกัน และไมมีแรงอื่นมากระทําตอวัตถุอีกเลย วัตถุจะมีความเรงเทาใด 1) 12 N 2) 10 N 3) 5 N 4) 8 N 1) F 2) F 2 ง
  • 6. BOBBYtutor Physics Note 7. เชือกแขวนไวกับเพดาน มีเด็กมวล 20 กิโลกรัม โหนเชือกอยูสูงจากพื้น 10 เมตร ไดรูดตัวลงมากับเชือกดวย ความเรงคงที่ถึงพื้นใชเวลา 2 วินาที ความตึงของเชือกเปนเทาใด (ไมคิดมวลของเชือก) 1) 100 N 2) 150 N 3) 200 N 4) 250 N 8. วัตถุมวล m วางบนโตะลื่น ผูกเชือกเบากับวัตถุมวล m แลวคลองผานรอกคลอง แลวนําวัตถุมวล M มาผูกติด กับปลายเชือกเบานี้ ถาปลอยใหมวล m และ M เคลื่อนที่ จงหาวาวัตถุมวล M จะตองมีคาเปนกี่เทาของวัตถุ มวล m วัตถุมวล M จึงจะเคลื่อนที่ดวยความเรง 9 เมตร/วินาที2 m M 1) 3 เทา 2) 8 เทา 3) 9 เทา 4) 10 เทา 9. ลิ่มอันหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเรง 2 เมตรตอ(วินาที)2 บนลิ่มมีมวล 5 กิโลกรัม ผูกดวยเชือกเบาดังรูป แรงตึงใน เสนเชือกมีคากี่นิวตัน เมื่อถือวาทุกผิวสัมผัสเปนผิวเกลี้ยง a = 2 m/s 2 5 kg 37 o 1) 11 2) 34 3) 38 4) 110 10. นักบินอวกาศจะมีนํ้าหนักกี่เทาของนํ้าหนักที่ชั่งบนโลก ถาอยูบนดาวเคราะหที่มีรัศมีครึ่งหนึ่งของโลก และมีมวล 1 เปน 8 ของมวลโลก 1) 0.25 2) 0.50 3) 0.75 4) 1.25 1 11. ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลเปน 9 เทาของมวลของโลก แตมีความหนาแนนเปน 3 ของความหนาแนนของโลก คาสนามความโนมถวงที่ผิวดาวเคราะหมีคาเปนกี่เทาของ g ของโลก 1 1 1) 9 2) 3 3) 1 4) 3 12. จากรูป โตะไมมีความเสียดทานและผิวสัมผัสระหวางมวลทั้งสอง มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตและจลนเปน 0.4 และ 0.3 ตามลําดับ มวล m ตองเปนกี่กิโลกรัม จึงจะทําใหระบบเริ่มเคลื่อนที่ 2 kg 3 kg m 1) 0.4 2) 0.8 3) 1.2 4) 1.6
  • 7. BOBBYtutor Physics Note 13. คานสมํ่าเสมอมวล 20 กิโลกรัม ยาว 5 เมตร ปลายขางหนึ่งติดอยูกับกําแพงดวยบานพับ ปลายอีกขางหนึ่งมีมวล 8 กิโลกรัม แขวนอยู และมีเชือกดึงปลายคานใหติดกับกําแพง ดังรูป แรงที่บานพับกระทําตอปลายคานดานลางใน ทิศที่ขนานกับกําแพงเปนกี่นิวตัน 37 o 37 o 8 กก. 1) 130 2) 150 3) 190 4) 280 14. ABCD เปนวัตถุแบน หนัก 400 นิวตัน วางตัวในระนาบ xy ขณะมีแรง T1 และ T2 มากระทําดังรูป แรงลัพธที่ กระทําตอวัตถุมีทิศทางตามขอใด T2 = 500 N T1 = 400 N B y 37 o x A 53 o C D 400 N 1) ทํามุม 37° กับแกน +x 2) ทํามุม 37° กับแกน -x 3) ทิศตามแกน -y 4) ทิศตามแกน -x 15. ในรูปพื้นเอียงมี µs และ µk เปน 0.3 และ 0.2 ตามลําดับ วัตถุมีมวล 3 กิโลกรัม แรง F ขนาด 30 นิวตัน มีทิศ ขนานกับพื้นราบ ถาวัตถุไมมีการเคลื่อนที่ แรงเสียดทานจะมีขนาดและทิศอยางไร F 37 o 1) 6 นิวตัน ทิศลงมาตามพื้นเอียง 3) 12.6 นิวตัน ทิศลงมาตามพื้นเอียง 2) 6 นิวตัน ทิศขึ้นไปตามพื้นเอียง 4) 12.6 นิวตัน ทิศขึ้นไปตามพื้นเอียง
  • 8. BOBBYtutor Physics Note 16. บานพับ A และ B ยึดประตูหนัก 400 นิวตัน บานพับ A รับนํ้าหนักประตู 3 ของนํ้าหนักทั้งหมด ใหหาขนาด 4 ของแรงที่บานพับ B กระทําตอประตู ถาความกวางของประตูเปน 1 เมตร และบานพับทั้ง 2 หางกัน 2 เมตร A B 1) 112 นิวตัน 2) 141 นิวตัน 3) 162 นิวตัน 4) 181 นิวตัน 17. กลองไมสูง 2 เมตร กวาง 1 เมตร วางบนพื้นเอียงที่ปรับมุมได ถาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวาง กลองไมกับพื้นเอียงเปน 0.4 มุมของพื้นเอียงที่ทําใหกลองเริ่มเคลื่อนที่ลงมาเปนเทาใด 1) tan-1 0.2 2) tan-1 0.4 3) tan-1 0.5 4) tan-1 0.6 เฉลย 1. 1) 11. 1) 2. 1) 12. 4) 3. 4) 13. 3) 4. 4) 14. 4) 5. 3) 15. 1) 6. 2) 16. 2) 7. 1) 17. 2) 8. 3) 9. 3) 10. 2)
  • 9. BOBBYtutor Physics Note งานและพลังงาน งานและพลังงาน (Work and Energy) F θ S ถามีแรง F กระทําตอวัตถุ และวัตถุเคลื่อนที่โดยมีการกระจัดเปน S ในทิศที่ทํามุม θ กับ F จะไดงานที่แรง F ที่กระทําตอวัตถุเปน W โดย W = FS cos θ เห็นไดวา ถา θ เปนมุมแหลม งานจะเปนบวก แตถา θ มีคามากกวา 90 องศา งานจะเปนลบ หากมุม θ มีคา เทากับ 90 องศา หรือแรงที่กระทํามีทิศตั้งฉากกับการกระจัดของวัตถุ จะไดงานมีคาเปนศูนย งานเปนปริมาณสเกลาร แตอาจจะมีคาเปนบวกหรือลบก็ได นอกจากนีงานยังมีคาเปนศูนยไดอีกดวย หนวยของงาน  ้  ในระบบ SI คือ นิวตัน ⋅ เมตร หรือ จูล (Joule) กราฟระหวางแรงและการกระจัด จากนิยามของงานทําใหไดงานเนืองจากแรง F เทากับพื้นที่ใตเสนกราฟระหวางแรงนันกับการกระจัด ลักษณะเชนนี้ ่ ้ ทําใหเราสามารถคํานวณหางานจากแรงที่มีขนาดไมคงที่ได แรง F2 F1 S1 S2 การกระจัด รูปกราฟของงานจากแรงที่ไมคงที่เทากับพื้นที่ใตกราฟระหวางแรงกับการกระจัด พลังงานจลน (Kinetic Energy) วัตถุที่มีการเคลื่อนที่เปนวัตถุที่มีพลังงาน เรียกพลังงานเนื่องจากการเคลื่อนที่ของวัตถุวา พลังงานจลน โดยมีการ กําหนดวา วัตถุมวล m ที่มีอัตราเร็ว v มีพลังงานจลนเปน 1 KE = 2 mv2 พลังงานจลนเปนปริมาณสเกลาร มีคาเปนศูนยไดแตไมมีคาเปนลบ หนวยของพลังงานจลนในระบบ SI คือ จูล
  • 10. BOBBYtutor Physics Note หากมีแรง F กระทําตอวัตถุ จนขนาดของความเร็วของวัตถุเปลี่ยนไป ทําใหพลังงานจลนของวัตถุเปลี่ยนไปจาก เดิม พบวางานที่แรงนั้นกระทําตอวัตถุมีคาเทากับพลังงานจลนของวัตถุที่เปลี่ยนไป หรือ W = KE2 – KE1 เรียกคํากลาวนี้วา หลักของงาน-พลังงานจลน (Work-Kinetic Energy Theorem) แรงอนุรักษ (Conservative Force) งานที่แรงอนุรักษกระทําตอวัตถุจนทําใหวัตถุมีการเคลื่อนที่เปนวงปดมีคาเปนศูนย งานที่แรงอนุรักษกระทําตอวัตถุใหเคลื่อนที่ระหวาง 2 จุดใด ไมขึ้นกับเสนทางที่วัตถุเดิน แตขึ้นกับตําแหนงของ จุดทั้งสองนั้น พลังงานศักย (Potential Energy) พลังงานศักยของวัตถุ ณ จุดใด คือ งานที่นอยที่สุดที่ใชในการเคลื่อนที่วัตถุจากจุดหรือระดับอางอิงมายังจุดนั้น หรือพลังงานศักยของวัตถุ ณ จุดใด คือ งานอันเนื่องจากแรงอนุรักษที่ใชในการเคลื่อนที่วัตถุจากจุดหรือระดับอางอิง มายังจุดนั้น แรงสปริง เมื่อสปริงยืดหรือหด จนความยาวของสปริงเปลี่ยนไป x จากความยาวปกติ สปริงจะออกแรงดึงกลับตอปลาย ของมันเพื่อทําใหตัวสปริงกลับมามีความยาวเปนปกติ ถา F เปนขนาดของแรงดึงกลับ และ x เปนความยาวที่เปลี่ยนไปของสปริง จะได F = kx เรียก k วา คาคงตัวของสปริง (Spring constant) มีหนวยเปน นิวตัน/เมตร ในระบบ SI แรงและงานที่ใชในการยืด (หรือหด) สปริง หากตองการยืด (หรือหด) สปริงใหมีความยาวเปลี่ยนไป x จะตองออกแรงที่มีขนาดเทากับแรงดึงกลับเฉลี่ย นับตั้งแตสปริงยังไมยืด (หรือหด) จนสปริงยืด (หรือหด) เปนระยะ x 1 แรงที่ใชยืด (หรือหด) สปริง F = 0 +2kx = 2 kx 1 และงานที่ใชในการยืด (หรือหด) สปริง W = 2 kx2 พลังงานศักยของสปริง 1 PE = 2 kx2 ความถาวรของพลังงานกล (Conservation of Mechanical Energy) ผลบวกของพลังงานศักยและพลังงานจลนของวัตถุ คือ พลังงานทั้งหมดของวัตถุ ณ จุดนั้น กฎอนุรักษพลังงาน : หากวัตถุเคลื่อนที่ภายใตแรงอนุรักษ พลังงานทั้งหมดของวัตถุจะมีคาคงที่
  • 11. BOBBYtutor Physics Note กําลัง (Power) กําลัง คือ อัตราการทํางานใน 1 หนวยเวลา กําลังเฉลี่ยเทากับงานทั้งหมดที่ทํา (W) หารดวยเวลาทั้งหมดที่ใชใน การทํางานนั้น (∆t) ถาให P เปนกําลัง จะได W P = ∆t จากนิยามของงาน W = FS cos θ หากแรงที่กระทําตอวัตถุเปนแรงที่คงที่ จะได P = Fv cos θ นั่นคือ สามารถเขียนกําลังไดในเทอมของการคูณเชิงสเกลารระหวางแรงและความเร็วของวัตถุ กําลังเปนสเกลาร หนวยของกําลังในระบบ SI คือ จูล/วินาที หรือ วัตต (Watt) นอกจากหนวยดังกลาว กําลังยัง มีหนวยเปน กําลังมา (Horsepower) โดย กําลัง 1 กําลังมาเทากับ 746 วัตต แบบทดสอบ 1. ตองการเรงเครื่องใหรถมวล 1500 กิโลกรัม มีความเร็วเปลี่ยนจาก 10 เมตร/วินาที เปน 30 เมตร/วินาที ภายใน เวลา 15 วินาที จะตองใชกําลังเฉลี่ยอยางนอยเทาใด 1) 15 kW 2) 120 kW 3) 135 kW 4) 150 kw 2. ดึงกลองมวล 40 กิโลกรัม ดวยแรงคงที่ 130 นิวตัน ในแนวระดับ ใหเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนพืนทีมสมประสิทธิ์ ้ ่ีั แรงเสียดทาน 0.3 เปนระยะ 5 เมตร พลังงานจลนของกลองจะเปลี่ยนไปเทาใด 1) 50 จูล 2) 100 จูล 3) 150 จูล 4) 300 จูล 3. วัตถุหนึ่งไถลลงตามพื้นเอียงที่ไมมีความฝด เมื่อถึงปลายลางของพื้นเอียง วัตถุนี้จะมีอัตราเร็วปลายเทากับ v ถาตองการใหอัตราเร็วปลายเพิ่มเปน 2v จะตองยกปลายพื้นเอียงใหสูงขึ้นเปนกี่เทาของความสูงเดิม 1) 2 2) 2 3) 2 2 4) 4 4. อัดสปริงซึ่งวางอยูในแนวราบบนพื้นราบลื่นดวยมวล 0.25 กิโลกรัม ทําใหสปริงถูกกดเขาไป 10 เซนติเมตร ดังรูป หลังจากนั้นปลอยใหสปริงดีดมวลออกไปความเร็วสูงสุดที่มวลนี้จะมีไดคือเทาใด ถาสปริงมีคาคงตัว 100 นิวตัน/ เมตร 0.25 kg 10 cm 1) 1.0 m/s 2) 1.4 m/s 3) 2.0 m/s 4) 2.4 m/s
  • 12. BOBBYtutor Physics Note 5. สปริงเบายาว 40 เซนติเมตร มีคาคงตัวสปริง 100 นิวตันตอเมตร หอยลงมาจากเพดาน ถาแขวนมวล 500 กรัม ที่อีกปลายหนึ่งของสปริงแลวปลอย ใหหาความยาวของสปริงในขณะที่สปริงยืดออกมากที่สุด 1) 5 cm 2) 10 cm 3) 15 cm 4) 20 cm 6. มวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งลงตามพื้นเอียงที่ทํามุม 30 องศากับพื้นราบเปนระยะ d แลวชนกับสปริง ที่อยูบนพื้นเอียง ทําใหสปริงยุบลงไปเปนระยะ 0.2 เมตร แลวหยุด หากสปริงมีคาคงตัว 400 นิวตัน/เมตร ใหหา ระยะ d ในหนวยเซนติเมตร 1) 15 cm 2) 30 cm 3) 45 cm 4) 60 cm 7. ผูกวัตถุมวล 6 กิโลกรัมไวที่ปลายสปริงที่มีคาคงตัว 1200 นิวตันตอเมตร วางอยูบนพื้นราบ ถาคาสัมประสิทธิ์ ความเสียดทานจลนระหวางวัตถุกับพื้นเทากับ 0.3 แลว ใหคํานวณหางานจากแรงดึงวัตถุออกไปจากตําแหนงสมดุล เปนระยะ 16 เซนติเมตร 1) 15.4 จูล 2) 16.8 จูล 3) 18.2 จูล 4) 19.7 จูล 8. ขณะที่วัตถุกําลังเคลื่อนที่และมีพลังงานจลน 6 จูล ไดมีแรงตานการเคลื่อนที่ขนาด 10 นิวตัน มากระทําตอวัตถุ ทําใหวัตถุมีความเร็วลดลงและหยุดในที่สุด ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดหลังจากที่แรงกระทําจนหยุดเปนเทาใด 1) 0.3 เมตร 2) 0.6 เมตร 3) 1.67 เมตร 4) 4 เมตร 9. ยิงอนุภาคมวล 9 × 10-31 กิโลกรัม เขาชนเปาโลหะในอัตรา 1018 ตัว/วินาที ขณะกระทบเปาอนุภาคแตละตัวมี อัตราเร็ว 2 × 106 เมตร/วินาที ถาเปามีมวล 0.9 กิโลกรัม และมีความจุความรอนจําเพาะ 60 จูล/กิโลกรัม ⋅ เคลวิน นานเทาใด เปาจึงจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 50°C 1) 15 นาที 2) 20 นาที 3) 25 นาที 4) 30 นาที 10. โรงไฟฟาพลังนํ้าใชพลังงานจากนํ้าตกสูง 50 เมตร กวาง 800 เมตร และลึก 1 เมตร ถาอัตราเร็วของนํ้าที่ไหลเปน 10 เมตร/วินาที และพลังงานจากนํ้าตกเปลี่ยนเปนไฟฟาไดเพียงรอยละ 20 ใหหากําลังไฟฟาที่ผลิตได (กําหนดความหนาแนนของนํ้าเปน 1000 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร) 1) 2 × 108 วัตต 2) 4 × 108 วัตต 3) 6 × 108 วัตต 4) 8 × 108 วัตต 11. ติดสปริงอันหนึ่งไวกับเพดาน เมื่อนํามวล 4 กิโลกรัม มาแขวนที่ปลายลางของสปริง แลวปลอยใหวัตถุเคลื่อนที่ ลงมาตามแรงความโนมถวง พบวาเมื่อสปริงเคลื่อนที่ลงจากจุดสมดุลเปนระยะ 0.2 เมตร มวลจะมีความเร็ว 0.5 เมตร/วินาที ใหหาคาคงตัวของสปริง 1) 15 นิวตัน/เมตร 2) 37.5 นิวตัน/เมตร 3) 150 นิวตัน/เมตร 4) 375 นิวตัน/เมตร เฉลย 1. 4) 11. 4) 2. 2) 3. 2) 4. 4) 5. 2) 6. 2) 7. 3) 8. 2) 9. 3) 10. 4)
  • 13. BOBBYtutor Physics Note การชนและโมเมนตัม v m v เมื่อวัตถุมวล m มีความเร็ว v จะมีโมเมนตัมเปน P v v P = mv โดย v เห็นไดวาโมเมนตัมเปนปริมาณเวกเตอร มีทิศเดียวกับความเร็ว v แตมีขนาดเปน m เทา v หนวยของโมเมนตัมในระบบ SI เปน กิโลกรัม ⋅ เมตร/วินาที จากนิยามของโมเมนตัม สามารถแสดงใหเห็นไดวา แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเทากับอัตราการเปลี่ยนแปลงของ โมเมนตัม หรือ v v v mv2 - mv1 F = ∆t สมการขางบนเปนอีกรูปแบบหนึ่งของกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของโมเมนตัม การดลและแรงดล จากสมการของแรง เมื่อคูณตลอดดวยชวงเวลา ∆t ก็จะทําใหเขียนสมการนี้ใหมไดวา F ⋅ ∆t = mv2 - mv1 เรียกปริมาณ F ⋅ ∆t ทางซายวา การดล (Impulse) แรง เวลา จากสมการเห็นไดวา การดลมีคาเทากับโมเมนตัมของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้การดลยังเทากับ พื้นที่ใต กราฟระหวางแรงและเวลาที่แรงกระทําตอวัตถุ อีกดวย กฎการอนุรักษโมเมนตัม "ถาไมมีแรงภายนอกมากระทํา โมเมนตัมทั้งหมดของระบบจะมีขนาดและทิศทางที่คงที่" หากวัตถุมวล m1 และ m2 มีความเร็ว v1 และ v2 ชนกัน แลวความเร็วเปลี่ยนเปน V1 และ V2 ตามลําดับ จะเขียนสมการของกฎการอนุรักษโมเมนตัมไดวา ...(1) m1v1 + m2v2 = m1V1 + m2V2 สมการ (1) เปนสมการเวกเตอร ในการแกสมการจึงตองคํานึงถึงทั้งขนาดและทิศทางของโมเมนตัมทั้งหลาย ในสมการ ไมใชพิจารณาเฉพาะขนาดเทานั้น
  • 14. BOBBYtutor Physics Note การชนกัน (Collision) การชนที่สําคัญมี 2 แบบ คือ การชนแบบยืดหยุน และแบบไมยืดหยุน การชนแบบยืดหยุน มีลักษณะการชนดังนี้ 1. โมเมนตัมกอนชนเทากับโมเมนตัมหลังชน 2. พลังงานจลนกอนชนเทากับพลังงานจลนหลังชน การชนแบบยืดหยุนแบบตรง (Head on elastic collision) กอนชน m1 u 1 m2 u2 หลังชน m1 m2 ถาวัตถุมวล m1 วิ่งดวยความเร็ว u1 เขาชนวัตถุมวล m2 ซึ่งเคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน ดวยความเร็ว u2 ทําให ความเร็วของ m1 และ m2 กลายเปน v1 และ v2 ตามลําดับ และการชนเปนแบบยืดหยุนจะได m1(u1 - v1) = m2(v2 - u2) และ u1 + v1 = u2 + v2 การชนแบบยืดหยุนแบบเฉียด หากวัตถุมวล m เคลื่อนที่ชนวัตถุมวลเทากันซึ่งหยุดนิ่งแบบยืดหยุน หลังการชนวัตถุทั้งสองจะแยกออกจากกัน โดยแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งสองทํามุมกัน 90 องศา การชนแบบไมยืดหยุน มีลักษณะการชนดังนี้ 1. โมเมนตัมกอนชนเทากับโมเมนตัมหลังชน 2. พลังงานจลนกอนชนไมเทากับพลังงานจลนหลังชน หากหลังการชนวัตถุติดกันไป จะจัดเปนการชนแบบไมยืดหยุนสมบูรณ การระเบิดหรือรีคอยล (Recoil) เปนปรากฏการณที่เดิมมีวัตถุ 2 อัน หรือมากกวาอยูนิ่ง ทําใหโมเมนตัมของระบบเปนศูนย ตอมาเมื่อมีแรง กระทํากันระหวางวัตถุเหลานั้น ทําใหวัตถุทั้งหลายมีการเคลื่อนที่ในทิศตางกัน โดยโมเมนตัมของวัตถุกอนการระเบิด มีคาเทากับผลบวกแบบเวกเตอรของวัตถุยอยทั้งหลายที่แตกออกจากกัน
  • 15. BOBBYtutor Physics Note แบบทดสอบ 1. เมือปลอยลูกบอลมวล 200 กรัม ทีความสูง 125 เซนติเมตร ลงบนพืนราบ ปรากฏวาหลังจากลูกบอลกระทบพืนเปน ่ ่ ้ ้ เวลา 0.06 วินาที ลูกบอลก็กระดอนกลับขึนตามแนวดิง วัดระยะสูงไดเทากับ 80 เซนติเมตร จงหาแรงเฉลียทีพนกระทํา ้ ่ ่ ่ ื้ ตอลูกบอล 1) 50 N 2) 42 N 3) 30 N 4) 22 N 2. ใชคอนมวล 400 กรัม ตอกตะปู ในขณะที่คอนเริ่มกระทบหัวตะปู คอนมีความเร็วขนาด 10 เมตร/วินาที หลังจาก กระทบหัวตะปูแลว คอนสะทอนกลับดวยความเร็วเทาเดิม ถาชวงเวลาที่คอนกระทบตะปูเปน 0.5 มิลลิวินาที ใหหาแรงเฉลี่ยที่คอนกระทําตอตะปู 1) 1.6 × 104 นิวตัน 2) 3.2 × 104 นิวตัน 3) 6.4 × 104 นิวตัน 4) 8.0 × 104 นิวตัน 3. ถาจะใหกลองมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ไปบนพื้นราบ ตองออกแรงในแนวราบขนาด 0.7 นิวตัน ตอกลอง ถาจะยิงกลองไมนี้ดวยกระสุนมวล 100 กรัม เพื่อใหกลองเคลื่อนที่ได 1.5 เมตร กอนหยุด อัตราเร็วของ กระสุนกอนชนตองเปนเทาใด ใหกระสุนฝงตัวอยูในเนื้อไม 1) 9 เมตร/วินาที 2) 21 เมตร/วินาที 3) 33 เมตร/วินาที 4) 47 เมตร/วินาที 4. u m M มวล m วิ่งเขาชนมวล M ที่ติดสปริงเบา มีคาคงตัวของสปริง k ดวยความเร็ว u ดังรูป พลังงานจลนของระบบ เปนเทาใด เมื่อ m และ M ใกลกันที่สุด 1 1 m 1 1   1) 2 mu2 2) 2  M  mu2 3) 2  m M M  mu2 4) 2  m m M  mu2    +   +  5. ปลอยมวล M1 ซึ่งผูกติดกับเชือก จากตําแหนงหยุดนิงในแนวระดับ ใหชนมวล M2 ที่วางไวทขอบโตะ อยางยืดหยุน ่ ี่ ถา M1 เทากับ M2 ใหหาระยะทาง x ในหนวยเมตร M1 1 m 1m M2 1m x 1) 1 เมตร 2) 2 เมตร 3) 3 เมตร 4) 4 เมตร
  • 16. BOBBYtutor Physics Note 6. มวล m และ 2m แขวนกับเชือกเบาที่ยาวเทากันดังรูป ถาจับมวล m ใหสูงกวา 2m เปนระยะ h แลวปลอยให ตกลงมากระทบกับมวล 2m หลังจากกระทบกันแลวมวล m หยุดนิ่ง ใหคํานวณวามวล 2m จะแกวงขึ้นไปได สูงสุดจากตําแหนงเดิมเทาใด และการชนเปนแบบยืดหยุนหรือไม m h 2m h เปนการชนแบบยืดหยุน 2) h เปนการชนแบบไมยืดหยุน 2 2 h เปนการชนแบบยืดหยุน h เปนการชนแบบไมยืดหยุน 4) 4 4 มวล 8 kg เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกดวยความเร็ว 20 m/s ไปชนกับมวล 2 kg ที่เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตก ดวยความเร็ว 10 m/s แลวมวลแรกยังคงเคลื่อนไปทางทิศตะวันออกดวยความเร็ว 10 m/s พลังงานจลนรวม เปลี่ยนไปกี่จูล 1) 100 จูล 2) 200 จูล 3) 300 จูล 4) 400 จูล วัตถุ A วิ่งดวยความเร็ว 1 เมตร/วินาที ชนวัตถุ B มวลเทากันซึ่งอยูนิ่งแบบยืดหยุน หลังการชนวัตถุ B วิ่งไปใน ทิศ 30 องศากับแนวเดิมของ A ถามวาความเร็วของวัตถุ A หลังการชนเปนเทาใด และอยูในทิศทํามุมเทาใดกับ แนวเดิม 1) 0.86 m/s และ 30° 2) 0.86 m/s และ 60° 3) 0.50 m/s และ 30° 4) 0.50 m/s และ 60° วัตถุมวล m ตกลงมาในแนวดิ่ง ขณะที่อยูหางจากพื้น 1000 เมตร วัตถุมีความเร็ว 20 เมตร/วินาที และได เกิดระเบิดแตกออกเปน 2 กอน แตละกอนมีมวลเทาๆ กัน และยังคงเคลื่อนที่อยูในแนวดิ่งทั้งคู ทันทีหลัง การระเบิดมวลกอนหนึงเคลือนทีลงดวยความเร็ว 60 เมตร/วินาที ใหหาวาที่เวลา 2 วินาทีหลังการระเบิด มวลทั้งสอง ่ ่ ่ จะอยูหางกันเปนระยะทางเทาใด 1) 80 เมตร 2) 100 เมตร 3) 160 เมตร 4) 200 เมตร รถทดลองมวล 1 kg เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 2 m/s เขาชนรถทดลองอีกคันหนึ่ง ซึ่งมีมวลเทากันและอยูนิ่ง หลังการชนรถทั้งสองเคลื่อนที่ตัดกันไป ใหหาพลังงานความรอนที่เกิดขึ้นจากการชนกัน 1) 0.25 จูล 2) 0.5 จูล 3) 0.75 จูล 4) 1.0 จูล 1) 3) 7. 8. 9. 10. เฉลย 1. 3) 2. 1) 3. 2) 4. 4) 5. 2) 6. 4) 7. 4) 8. 4) 9. 3) 10. 4)
  • 17. BOBBYtutor Physics Note การเคลื่อนที่เปนวงกลม เมื่อมีแรงกระทําตอวัตถุในลักษณะที่ทิศทางของแรงตั้งฉากกับวัตถุตลอดเวลา จะมีผลทําใหวัตถุเคลื่อนที่เปน วงกลม การที่มีแรงกระทําตลอดเวลาทําใหวัตถุที่มีการเคลื่อนที่เปนวงกลมอยูในสภาพที่ไมสมดุล คือมีความเรงตลอด เวลา ความเร็วในขณะใดๆ ของวัตถุอยูในแนวของเสนสัมผัสของวัตถุ ณ จุดนั้น สวนความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่เปน วงกลมดวยขนาดของความเร็วคงที่จะมีทิศชี้เขาหาจุดศูนยกลางเสมอ เรียกความเรงนี้วา ความเรงสูศูนยกลาง 2 ขนาดของความเรงสูศูนยกลาง a = vr การที่มีความเรงสูศูนยกลาง แสดงวาแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีทิศเขาสูจุดศูนยกลาง ซึ่งเปนทิศที่ตั้งฉากกับ ความเร็ว ซึ่งอยูในแนวเสนสัมผัส เรียกแรงนี้วา แรงสูศูนยกลาง จากกฎขอที่ 2 ของนิวตัน ไดสมการแรงสูศนยกลางเปน ู 2 F = mv r ความเร็วเชิงมุม คือ มุมที่เสนรัศมีกวาดไปไดใน 1 หนวยเวลา มีหนวยเปน เรเดียนตอวินาที และมักจะใช สัญลักษณ ω ความสัมพันธระหวางความเร็วเชิงเสนและความเร็วเชิงมุมเปน ω = v r จากความสัมพันธนี้ทําใหเขียนสมการของความเรงสูศูนยกลางและแรงสูศูนยกลาง ในเทอมของความเร็วเชิงมุม ไดวา a = ω2R และ F = mω2R การเลี้ยวของรถจักรยาน เมื่อรถจักรยานเลี้ยวโคง ผูขับขี่ตองเอียงรถเปนมุม θ กับแนวดิ่งเพื่อมิใหโมเมนตเนื่องจากแรงปฏิกิริยาจากพื้น มากระทําแกตัวรถ ซึ่งจะทําใหรถลม คาของมุม θ หาไดจากสมการ 2 tan θ = v rg การยกระดับถนนที่เปนทางโคง ถนนที่เปนทางโคงมีการยกระดับถนนใหเอียงทํามุมกับพื้นราบ เพื่อใหรถที่มีความเร็วเหมาะสมสามารถเลี้ยวผาน ไปไดโดยไมไถลออกนอกโคง แมถนนนั้นจะไมมีแรงเสียดทานก็ตาม ถา r เปนรัศมีความโคงของถนน และ v เปนอัตราเร็วสูงสุดของรถที่สามารถเคลื่อนที่ไปตามทางโคงไดโดยไม 2 tan θ = v ลื่นไถล จะไดมุมเอียงของถนนเปน θ โดย rg สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตของถนนโคง กรณีมิไดยกพื้นถนน แรงเสียดทานระหวางพื้นถนนกับลอจะทําใหรถไมไถลออกนอกโคง ถา µ เปนสัมประสิทธิ์ 2 ความเสียดทานสถิตระหวางลอรถกับถนน จะได µ = v rg
  • 18. BOBBYtutor Physics Note แบบทดสอบ . 1. ในการทดลองการเคลื่อนที่เปนวงกลมในระนาบระดับ ขณะที่กําลังแกวงใหจุกยางหมุนอยูนั้น เชือกที่ผูกกับจุกยาง ขาดออกจากกัน ขณะที่เชือกขาด ภาพการเคลื่อนที่ที่สังเกตจากดานบนจะเปนตามรูปใด ถา a เปนตําแหนงของ จุกยางขณะที่เชือกขาด 1) 2) a a 3) 4) a a 2. ในการทดลอง การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนววงกลม โดยแกวงจุกยางในลักษณะดังรูป ถานํามาเขียนกราฟระหวาง ขนาดของแรงดึงในเชือก (F) กับกําลังสองของความถี่ของการแกวง (f2) เมื่อรัศมีคงตัว R1 คาหนึ่ง และ R2 อีก คาหนึ่ง โดย R2 > R1 จะไดกราฟดังรูปใด f2 f2 R1 R2 1) R1 2) F O R2 F O f2 f2 R1 R2 R2 R1 3) 4) O F O F
  • 19. BOBBYtutor Physics Note 3. เครื่องบินบินวนเปนวงกลมไดครบรอบใน 2.2 นาที ถาอัตราเร็วของเครื่องบินเปน 180 เมตร/วินาที ความเรงสู ศูนยกลางของเครื่องบินเปนเทาใด 1) 2.4 เมตร/วินาที2 2) 4.8 เมตร/วินาที2 3) 8.6 เมตร/วินาที2 4) 10 เมตร/วินาที2 4. แรงที่รถกระทําตอพื้นถนนในขณะที่รถเคลื่อนที่ผานยอดเขาที่มีรัศมีความโคง 35 เมตร จะมีคาเปนเทาใด ถารถ มีมวล 700 กิโลกรัม และวิ่งดวยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที 1) 3500 นิวตัน 2) 5000 นิวตัน 3) 7000 นิวตัน 4) 9000 นิวตัน 5. มวลกอนหนึ่งเคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 1 หนวยในแนวราบ ขอสรุปตอไปนี้ ขอใดไมจริง 1) ขนาดของความเร็วเฉลี่ยของวัตถุมีคาคงที่ 2) ขนาดของความเร็วที่เวลาใดๆ ของวัตถุมีคาคงที่ 3) ความเร็วเชิงมุมที่เวลาใดๆ ของวัตถุจะตองคงที่ 4) ความเรงที่เวลาใดๆ ของวัตถุจะตองคงที่ 6. ขณะแกวงจุกยางใหเคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็ว 5 เรเดียน/วินาที ความยาวของเชือกจากปลายบนของทอพีวีซี 1 ่ ี ี ึ้ ถึงจุกยางเปน 0.1 เมตร ถาลดความยาวเหลือ 4 ของความยาวเดิมโดยเลือนทอพีวซขน อัตราเร็วเชิงมุมของจุกยาง จะเปนเทาใด 1) 10 เรเดียน/วินาที 2) 15 เรเดียน/วินาที 3) 20 เรเดียน/วินาที 4) 25 เรเดียน/วินาที 7. ดาวเทียมดวงหนึ่งโคจรรอบโลกดวยรัศมีวงโคจร R จะมีอัตราเร็ว v ถาดาวเทียมดวงนี้โคจรรอบดาวเคราะหที่มี มวลเปน 3 เทาของโลก ที่รัศมีวงโคจร R เทากัน ดาวเทียมจะมีอัตราเร็วเทาใด 3) 3v 4) 9v 1) 3 v 2) v 3 8. รถเลี้ยวโคงบนทางราบดวยรัศมี 100 เมตร มีอัตราเร็วคงที่ 16 เมตร/วินาที ใหหาคาสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ระหวางลอกับถนนที่นอยที่สุดที่ทําใหรถไมไถลออกนอกเสนทาง 1) 0.016 2) 0.064 3) 0.256 4) 0.640 เฉลย 1. 1) 2. 1) 3. 3) 4. 2) 5. 4) 6. 1) 7. 1) 8. 3)
  • 20. BOBBYtutor Physics Note การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล เปนการเคลื่อนที่ที่ประกอบดวยการเคลื่อนที่ 2 แนวที่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน ทําให แบงการคํานวณการเคลื่อนที่ออกเปน 2 สวน โดยความเชื่อมโยงการเคลื่อนที่ทั้ง 2 แนว คือ การเคลื่อนที่ทั้งสองนั้นมี เวลาเทากัน ตัวอยางของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตลที่เห็นไดชัด คือการเคลื่อนที่ภายใตแรงความโนมถวงทีความเร็วตน ่ ไมไดอยูในแนวดิ่ง การคํานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตลแบงออกเปน 2 สวน ไดแก การคํานวณในแนวราบ และการ คํานวณในแนวดิ่ง สําหรับสวนของการเคลื่อนที่ในแนวราบมักจะไมมีแรงมากระทําตอวัตถุ สมการของการเคลื่อนที่จึงเปน ระยะทางในแนวราบ = อัตราเร็วในแนวราบ × เวลา แตถามีแรงกระทําในแนวราบ ก็หาอัตราเรงในแนวราบไดจากกฎขอที่ 2 ของนิวตัน หรือ F = ma เมื่อไดความเรงในแนวราบแลว ก็คํานวณหาปริมาณอื่นๆ ไดจากสมการ v = u + at v2 = u2 + 2as 1 s = ut + 2 at2 การคํานวณในแนวดิ่ง จะมีลักษณะเดียวกับการคํานวณการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งอยางเสรี คือความเรงของวัตถุมี คาเปน g ทิศลง และมีการกําหนดเครื่องหมายของปริมาณเวกเตอรทุกชนิด สิ่งที่เชื่อมโยงการคํานวณในแนวราบและแนวดิ่งก็คือเวลา กลาวคือเวลาที่เกี่ยวของกับการคํานวณในแนวราบ และในแนวดิ่งเปนเวลาเดียวกัน มีคาเทากัน แบบทดสอบ 1. ยิงลูกหินขึ้นไปจากพื้นราบดวยความเร็วตน 40 เมตร/วินาที ในแนวทํามุม 30° กับแนวดิ่ง ใหหาวาลูกหินจะตก ถึงพื้นที่ระยะหางจากจุดเริ่มตนเทาใด 2) 140 3 m 3) 100 3 m 4) 80 3 m 1) 160 3 m 2. ยิงกระสุนออกไปในแนวราบจากหนาผาสูงดวยความเร็ว 40 เมตร/วินาที พบวากระสุนปนตกถึงพื้นราบหางจาก แนวยิงเปนระยะ 80 เมตร หากไมคํานึงถึงแรงตานอากาศ ขอสรุปใดตอไปนี้ถูกตอง ก. กระสุนใชเวลาในอากาศ 2 วินาที ข. หนาผาสูง 40 เมตร ค. ความเร็วในแนวดิ่งของกระสุนขณะตกถึงพื้นเปน 20 เมตร/วินาที 1) ก. และ ข. 2) ก. และ ค. 3) ข. และ ค. 4) ก. เทานั้น
  • 21. BOBBYtutor Physics Note 3. ลูกปงปองกระเด็นทํามุมเงย 30° กับแนวระดับจากขอบโตะซึ่งสูง 1 เมตร ดวยอัตราเร็ว 4 เมตรตอวินาที ใหหา ขนาดของความเร็วของลูกปงปองขณะอยูสูงจากพื้น 0.55 เมตร 1) 4.4 เมตร/วินาที 2) 5 เมตร/วินาที 3) 5.6 เมตร/วินาที 4) 6 เมตร/วินาที 4. ปลอยกอนหินหนัก 10 กิโลกรัม ลงมาจากหนาผาสูง 20 เมตร ขณะนั้นมีลมพัดในแนวราบ ทําใหกอนหิน มีความเรงในแนวราบ 5 เมตร/วินาที2 แนวการเคลื่อนที่ของกอนหินจะเปนอยางไร 1) เคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวทํามุม tan-1 0.5 กับแนวระดับ 2) เคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวทํามุม tan-1 0.5 กับแนวดิ่ง 3) เคลื่อนที่เปนแบบพาราโบลา 4) เคลื่อนที่เปนเสนตรงระยะหนึ่ง แลวเปลี่ยนเปนแบบพาราโบลา 5. ยิงวัตถุขึ้นไปในอากาศในแนวทํามุม 45° กับแนวราบ ที่จุดสูงสุดวัตถุมีความเร็ว 10 เมตร/วินาที ในหาระยะทาง สูงสุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได และวัตถุตกหางจากจุดยิงเทาใด 1) 5 เมตร และ 20 เมตร 2) 5 เมตร และ 25 เมตร 3) 10 เมตร และ 20 เมตร 4) 10 เมตร และ 25 เมตร 6. จากอุปกรณในการทดลองเรื่องการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล ทําใหหาเสนทางการเคลื่อนที่ของลูกปนในอากาศหลัง จากหลุดจากปลายรางได และไดกราฟระหวางการกระจัดจากปลายรางในแนวดิง (y) กับแนวราบยกกําลังสอง (x2) ่ ดังรูป ความเร็วของลูกปนขณะหลุดจากปลายรางเปนเทาใด y (m) 1.25 25 x 2 (m2) 1) 5 m/s 2) 10 m/s 3) 15 m/s 4) 20 m/s 7. ยิงกระสุนมวล 0.2 กิโลกรัม ออกไปดวยความเร็ว 100 เมตร/วินาที ในแนวทํามุม 53° กับแนวระดับ เมื่อ สิ้นวินาทีที่ 8 หลังการยิง กระสุนมีพลังงานกี่จูล 1) 120 2) 240 3) 320 4) 360 8. ชายคนหนึ่งยืนบนพื้นสนามราบ เขาขวางลูกบอลขึ้นไปในอากาศ ลูกบอลลอยอยูในอากาศนาน 4 วินาที โดยไมคิด แรงตานของอากาศ ถาลูกบอลไปไดไกลในแนวระดับ 60 เมตร ความเร็วที่ใชขวางลูกบอลมีคาเทาใด 1) 15 เมตร/วินาที 2) 20 เมตร/วินาที 3) 25 เมตร/วินาที 4) 30 เมตร/วินาที 9. โยนวัตถุจากรถบรรทุกในแนวดิงดวยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที โดยขณะโยนรถกําลังผานบานสีเขียวพอดี คนในบาน ่ เห็นวัตถุเคลื่อนที่ออกจากรถในแนวทํามุม 45° กับแนวระดับ เมื่อรถเคลื่อนที่ผานบานสีเหลือง วัตถุก็กลับตกลง มายังรถอีกครั้งหนึ่ง ใหหาระยะระหวางบานทั้ง 2 หลัง 1) 10 เมตร 2) 20 เมตร 3) 30 เมตร 4) 40 เมตร
  • 22. BOBBYtutor Physics Note 10. เครื่องบินบินในแนวราบดวยความเร็ว 72 เมตร/วินาที ที่ความสูง 125 เมตร ขางลางมีรถบรรทุกวิ่งดวยความเร็ว คงที่ไปทางเดียวกับเครื่องบิน นักบินตองการทิ้งสัมภาระลงที่รถบรรทุก ถาระยะในแนวราบขณะปลอยสัมภาระ ระหวางเครื่องบินและรถเปน 160 เมตร ใหหาความเร็วของรถบรรทุก 1) 10 เมตร/วินาที 2) 20 เมตร/วินาที 3) 30 เมตร/วินาที 4) 40 เมตร/วินาที 11. ถาตองการยิงกระสุนปนใหญใหขามเนินสูง 500 เมตร และตกสูเปาหมายหลังเนินเขา หางจากจุดยิงเปนระยะ 500 เมตร โดยเนินเขาอยูตรงกึงกลางระหวางปนใหญกบเปาหมายพอดี จะตองทําใหปนใหญทํามุมเทาใดกับพื้นดิน  ่ ั  1 2) tan-1 1 3) tan-1 4 4) ขอมูลไมเพียงพอ 1) tan-1  4    12. ในการยิงขีปนาวุธจากพื้นดิน โดยทํามุม θ กับแนวระดับ ถา t เปนเวลาทั้งหมดในการเคลื่อนที่ และ x เปนระยะ กระจัดในแนวระดับ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 2) t ∝ (cos θ)-1 3) x ∝ sin θ 4) x ∝ sin 2θ 1) t ∝ (sin θ)1/2 13. ปดลูกบอลจากจุดบนสุดของขั้นบันได ทําใหความเร็วตนของลูกบอลอยูในแนวระดับ และมีขนาด 2.5 เมตร/วินาที ถาบันไดแตละขั้นสูง 15 เซนติเมตร และกวาง 20 เซนติเมตร ใหหาวาลูกบอลจะตกลงมาตามบันไดไดกี่ขั้น 1) 4 ขั้น 2) 5 ขั้น 3) 6 ขั้น 4) 7 ขั้น เฉลย 1. 4) 11. 3) 2. 2) 12. 4) 3. 2) 13. 2) 4. 2) 5. 2) 6. 2) 7. 4) 8. 3) 9. 2) 10. 4) การเคลื่อนที่แบบหมุน การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotation) คือ การที่วัตถุของแข็งหมุนรอบตัวเองรอบจุดใดจุดหนึ่งในตัวมัน หรือแกน ใดแกนหนึ่งที่ผานตัวมัน ปริมาณที่เกี่ยวของกับการหมุน ไดแก การกระจัดเชิงมุม (Angular displacement) คือ มุมที่เสนรัศมีกวาดไปได มีหนวยเปนเรเดียน ความเร็วเชิงมุม (Angular velocity) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของการกระจัด หรือการกระจัดที่เปลี่ยนไปใน หนึ่งหนวยเวลา ใชสัญลักษณ ω มีหนวยเปนเรเดียน/วินาที ความเรงเชิงมุม (Angular accerelation) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วเชิงมุม มีหนวยเรเดียน/วินาที2 ใชสัญลักษณ α ความสัมพันธระหวางความเรงและความเร็วเชิงมุมเปนดังสมการ α = ∆ω ∆t การหมุนที่มีความเรงเชิงมุมคงที่มีความสัมพันธระหวางการกระจัดเชิงมุม ความเร็วเชิงมุมและความเรงเชิงมุม คลายกับระหวางการกระจัด ความเร็ว ความเรง ของการเปลี่ยนตําแหนงที่มีความเรงคงที่
  • 23. BOBBYtutor Physics Note ถาให ω0 และ ω เปนความเร็วเชิงมุมในตอนแรก และเมื่อเวลาผานไป t ตามลําดับ θ เปนการกระจัดเชิงมุมเมื่อเวลาผานไป t นับจากเริ่มหมุน α เปนความเรงเชิงมุม ω θ = = ω2 = ω0 + αt เทียบไดกับ เทียบไดกับ เทียบไดกับ 1 ω0t + 2 αt2 2 ω0 + 2αθ v = u + at 1 s = ut + 2 at2 v2 = u2 + 2as นอกจากนี้ ความสัมพันธระหวางอัตราเร็วเชิงมุมกับอัตราเร็วเชิงเสน และระหวางความเรงเชิงมุมกับความเรงเชิงเสน ของวัตถุที่มีรัศมีของการหมุนเปน r เปนดังนี้ ω = v r และ α = a r ทอรกกับการเคลื่อนที่แบบหมุน กรณีของการหมุน วัตถุมีสมบัติที่จะรักษาสภาพการหมุน โดยวัตถุที่รักษาสภาพการหมุนจะอยูในสภาพที่ไมหมุน หรือหมุนดวยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ เรียกสมบัติที่ทําใหวัตถุรักษาสภาพการหมุนวา โมเมนตความเฉื่อย (Moment of inertia) และสิ่งที่ทําใหสภาพการหมุนของวัตถุเปลี่ยนไปก็คือ ทอรก (Torque) ทอรก หรือโมเมนต คือสิ่งที่ทําใหสภาพการหมุนของวัตถุเปลี่ยนไป เชนเดียวกับแรงที่ทําใหสภาพการเคลื่อนที่ ของวัตถุเปลี่ยนไป โดยกําหนดวา ทอรกหรือโมเมนตของการหมุนใด มีคาเทากับผลคูณของขนาดของแรงกับระยะทาง ตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรงนั้น ทอรกเปนปริมาณเวกเตอร ประกอบดวยขนาดและทิศทาง โดยทิศทางของทอรกคือทิศของการหมุนที่เกิดขึ้น ไดแก ทิศตามเข็มนาฬิกา หรือทิศทวนเข็มนาฬิกา ในเรื่องของการหมุนมักใช τ เปนสัญลักษณของทอรก หนวยของทอรก คือ นิวตัน-เมตร โมเมนตความเฉื่อย โมเมนตความเฉื่อยของวัตถุแตละอันมิไดมีคาขึ้นกับมวลเทานั้น แตยังขึ้นกับการกระจายของมวลและตําแหนง ของแกนหมุนในวัตถุอีกดวย พิจารณาวัตถุเกร็งที่กําลังหมุนรอบแกนๆ หนึ่ง สามารถพิจารณาไดวาวัตถุเกร็งนี้ประกอบ ดวยอนุภาคที่มีมวลนอยๆ อยูมากมาย ถาให mi และ ri เปนมวลของอนุภาคตัวที่ i และเปนระยะระหวางอนุภาคตัวที่ i กับจุดหมุนตามลําดับ จะไดโมเมนตความเฉื่อยของอนุภาคตัวที่ i เปน mi ri2 สําหรับคาโมเมนตความเฉื่อยทั้งหมดของวัตถุทั้งกอน จะมีคาเทากับผลบวกของโมเมนตความเฉื่อยของอนุภาค ทั้งหมด นั่นคือถาให I เปนโมเมนตความเฉื่อยของวัตถุเกร็งจะได I = m1r12 + m2 r22 + ... + mi ri2 + ... หรือ I = ∑ m i ri2 i โมเมนตความเฉื่อยมีหนวยในระบบ SI เปน กิโลกรัม-เมตร2
  • 24. BOBBYtutor Physics Note กฎการเคลื่อนที่แบบหมุน จากการศึกษาธรรมชาติของการเคลื่อนที่แบบหมุนของวัตถุ ทําใหเขียนกฎการเคลือนทีแบบหมุนไดเปน 3 ประการ ่ ่ เชนกัน ดังนี้ 1. ถาไมมีทอรกลัพธมากระทํา วัตถุจะรักษาสภาพการหมุนไวเสมอ 2. ถามีทอรกลัพธที่ไมเทากับศูนยมากระทํา วัตถุจะหมุนดวยความเรงเชิงมุมตามสมการ τ = Iα 3. ทุกๆ ทอรกกิริยาจะมีทอรกปฏิกิริยาที่มีขนาดเทากันแตทิศตรงขามเสมอ โมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum) การเคลื่อนที่แบบหมุนมีการกําหนดปริมาณที่เรียกวา โมเมนตัมเชิงมุมขึ้น โดยโมเมนตัมเชิงมุมมีหลักความถาวร ในลักษณะเดียวกับโมเมนตัมเชิงเสน โดยโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุที่มีโมเมนตความเฉื่อย I และหมุนดวยความเร็ว เชิงมุม ω มีคาเปน L โดย L = Iω หลักความถาวรของโมเมนตัมเชิงมุมกลาววา หากไมมีทอรกภายนอกมากระทํา โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุจะมีคา คงที่ หนวยของโมเมนตัมเชิงมุมในระบบ SI คือ กิโลกรัม ⋅ เมตร2/วินาที พลังงานจลนเนื่องจากการหมุน (Rotational Kinetic Energy) วัตถุที่กําลังหมุนจะมีพลังงานจลนเนื่องจากการหมุน เขียนไดเปน KEr โดย 1 KEr = 2 Iω2 ที่ผานมาเห็นไดวาปริมาณตางๆ ทีเ่ กียวของกับการเคลือนทีเ่ ชิงเสน และการเคลือนทีแบบหมุนมีความสอดคลองกัน ่ ่ ่ ่ ซึ่งอาจจะสรุปไดอีกครั้งดังนี้ อัตราเร็วเชิงเสน v เทียบไดกับ อัตราเร็วเชิงมุม ω ความเรงเชิงเสน a เทียบไดกับ ความเรงเชิงมุม α ระยะทางเชิงเสน s เทียบไดกับ ระยะทางเชิงมุม θ แรง F เทียบไดกับ ทอรก τ โมเมนตัมเชิงเสน P เทียบไดกับ โมเมนตัมเชิงมุม L มวล m เทียบไดกับ โมเมนตความเฉื่อย I ดังนั้นเมื่อการเคลื่อนที่เชิงเสนมีสมการของแรง F = ma τ = Iα การเคลื่อนที่แบบหมุนก็มีสมการของทอรก การเคลื่อนที่เชิงเสนมีสมการของโมเมนตัม P = mv การเคลื่อนที่เชิงมุมก็มีสมการของโมเมนตัมเชิงมุม L = Iω
  • 25. BOBBYtutor Physics Note แบบทดสอบ 1. วงลอกลมรัศมี 2 เมตร มีแรง 4 นิวตัน มากระทําในแนวเสนสัมผัส ทําใหวงลอหมุนรอบจุดศูนยกลางดวย ความเรงเชิงมุม 0.5 เรเดียน/วินาที2 ใหหาโมเมนตความเฉื่อยของวงลอ 2) 8 kg-m2 3) 16 kg-m2 4) 20 kg-m2 1) 4 kg-m2 2. 350 g แขวนมวล 350 g จากรอกรัศมี 14 cm เมื่อปลอยมวลจากสภาพหยุดนิ่ง พบวาวัตถุจะตกลงไดระยะทาง 2.2 m ในเวลา 5.5 s ใหหาโมเมนตความเฉื่อยของรอก 1) 0.464 กิโลกรัม-เมตร2 2) 0.518 กิโลกรัม-เมตร2 3) 0.610 กิโลกรัม-เมตร2 4) 0.679 กิโลกรัม-เมตร2 3. ลูกบอลมวล 1.2 กิโลกรัม ติดอยูที่ปลายขางหนึ่งของแทงไมยาว 0.8 เมตร ปลายอีกขางหนึ่งของแทงไมตรึงติด กับที่ และทําใหแทงไมหมุนไดคลองเปนรูปวงกลมในแนวดิ่ง ในขณะที่แทงไมอยูในแนวราบ ทอรกเนื่องจากแรง ความโนมถวงที่กระทําตอแทงไมเปนเทาใด 1) 0 N-m 2) 0.96 N-m 3) 9.6 N-m 4) 96 N-m 4. 0.25 0.3 k 0.75 A 0.1 k B วัตถุมวล 0.3 และ 0.1 กิโลกรัม ติดอยูกับปลายทั้งสองของโลหะเบายาว 1.00 เมตร ใหหาพลังงานจลนของ การหมุน ถาแทงโลหะหมุนรอบแกน AB ในอัตรา 10 เรเดียน/วินาที 1) 3.75 จูล 2) 5.63 จูล 3) 7.50 จูล 4) 15.0 จูล 5. เด็กยืนบนแปนซึ่งหมุนรอบแกนดิง เด็กและแปนมีโมเมนตความเฉือย 8.0 kg-m2 มือแตละขางถือมวลอันละ 2 kg ่ ่ เมื่อเหยียดแขนมวลหางจากแกนหมุน 1.0 m และแปนมีอัตราเร็ว 5 รอบ/วินาที เมื่อหดแขนตุมนํ้าหนักหางจาก แกนหมุน 20 cm ใหหาวาแปนจะหมุนดวยอัตราเร็วกี่รอบ/วินาที 1) 6 2) 6.2 3) 6.6 4) 7.3
  • 26. BOBBYtutor Physics Note 6. 4 5m 2 จากรูป รอกรัศมี 0.2 เมตร มีโมเมนตความเฉื่อย 0.4 kg-m2 ถาเชือกไมเกิดการไถลบนรอกแลว มวล 4 kg จะเคลื่อนที่ลงมากระทบพื้นดวยความเร็วเทาใด 4) 10 m/s 1) 2.5 m/s 2) 5 m/s 3) 5 2 m/s 2 7. วัตถุรูปทรงกระบอก รัศมี 0.1 m มวล 10 kg กลิ้งจากยอดของพื้นเอียง ซึ่งสูงจากพื้น 1.2 m เมื่อถึงพื้นลางวัตถุ มีพลังงานจลนเนื่องจากการเคลื่อนที่ 40 J ใหหาโมเมนตของความเฉื่อยของวัตถุนี้ 2) 0.2 kg-m2 3) 0.5 kg-m2 4) 1.0 kg-m2 1) 0.1 kg-m2 เฉลย 1. 3) 2. 1) 3. 3) 4. 1) 5. 4) 6. 2) 7. 3)
  • 27. BOBBYtutor Physics Note การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิกและคลื่น การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิก (SHM) คือ การเคลื่อนที่แบบสั่นที่มีแอมพลิจูดคงที่ การเคลื่อนที่แบบนี้จะมี ความเรง (a) แปรผันตรงกับระยะกระจัด (x) แตมีทิศทางตรงขาม คือ π a = -ω2x ; โดย ω = 2T = 2πf และมีความเร็วที่ตําแหนง x คือ v = ω A 2 - x2 ; เมื่อ A คือ แอมพลิจูดการสั่น ดังนั้น การเคลื่อนที่แบบ SHM จึงมีความเรงมากสุดที่ระยะกระจัดสูงสุด (x = A) แตจะมีความเร็วสูงสุดที่จุดสมดุล (x = 0) คือ ความเรงจะมีเฟสนําหนาความเร็วอยู 90° ขณะที่ความเร็วก็จะมีเฟสนําหนาระยะกระจัดอยู 90° การเคลื่อนที่แบบ SHM จะตองมีแรงลัพธที่ไมเปนศูนยมากระทําตอวัตถุ ในแนวเขาสูจุดสมดุลของการสั่นและ เปนไปตามสมการ ΣF พลังงานขณะวัตถุสั่นแบบ SHM ; = ma = -mω2x 1 E = 2 mω2A2