SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
ทบทวนความจา
ระบบนิเวศ คือ อะไร การจะเป็นระบบนิเวศได้ต้องมีอะไรบ้าง
โลกเราใช่ระบบนิเวศมั้ย? เพราะเหตุใด
สรุปความรู้
ระบบนิเวศ คือ อะไร
ระบบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในบริเวณนั้น
และความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมของแหล่งที่อยู่
มีการถ่ายทอดพลังงานระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ และมีการหมุนเวียนสาร
สรุปความรู้
การจะเป็นระบบนิเวศได้ต้องมีอะไรบ้าง
สิ่งมีชีวิต : Organism
ประชากร : Population
กลุ่มสิ่งมีชีวิต : Community
ระบบนิเวศ : Ecosystem
โลกสิ่งมีชีวิต : Biosphere
จากองค์ประกอบทั้ง 5 อย่างให้นักเรียนสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียนหน้าที่ 3
ว่าแตกต่างกันอย่างไร???
ลงสมุดให้เรียบร้อย
สิ่งมีชีวิต : Organism
อะตอม
อวัยวะ
โมเลกุล
ระบบอวัยวะ
สิ่งมีชีวิต : Organism
มีขั้นตอนการกาเนิดสิ่งมีชีวิต ดังนี้ เซลล์
เนื้อเยื่อ
ประชากร : Population
อาศัยอยู่ร่วมกัน
การรายงานประชากร
“ประชากรของวัวกระทิง ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ช่วงเดือนมิถุนายน ปีพ.ศ. 2557
ให้แหล่งที่อยู่เดียวกัน
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
ในช่วงเวลาเดียวกัน
กลุ่มสิ่งมีชีวิต : Community
อาศัยอยู่ร่วมกัน
มีปัจจัยที่ทาให้อาศัยอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุล
สิ่งมีชีวิตหลายชนิด
ให้แหล่งที่อยู่เดียวกัน
ระบบนิเวศ : Ecosystem
โลกสิ่งมีชีวิต : Biosphere
 กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์กันเอง และสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่
ระบบนิเวศหลายๆแบบที่ร่วมกันเป็นโลกที่เราอาศัยอยู่
ระบบนิเวศ : Ecosystem
โลกสิ่งมีชีวิต : Biosphere
 กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์กันเอง และสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่
ระบบนิเวศหลายๆแบบที่ร่วมกันเป็นโลกที่เราอาศัยอยู่
ประชากร / กลุ่มสิ่งมีชีวิต
งานกลุ่ม
แบ่งกลุ่มกลุ่มละ 2 คน ศึกษาระบบนิเวศในชุมชน
ลงใบงานที่ 1 และตอบคาถาม
พร้อมทั้งวาดภาพประกอบมาให้เรียบร้อย
ส่งภายในวันที่ 1o มิ.ย. 2557
รูปแบบของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศในน้า
แบ่งเป็น ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด แหล่งน้าเค็ม และแหล่งน้ากร่อย
อาศัยค่าความเค็มเป็นตัวกาหนด น้าจืดมีเกลือ < 0.1 % น้าเค็ม ประมาณ 3.5%
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
แบ่งเป็น แหล่งน้านิ่ง และแหล่งน้าไหล
ในแหล่งน้านิ่ง ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ บริเวณชายฝั่ง บริเวณผิวน้า และน้าชั้นล่าง
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
ในแหล่งน้าไหล ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ บริเวณน้าไหลเชี่ยวและบริเวณแอ่งน้า
คาถามระหว่างเรียน
นักเรียนคิดว่า สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้าจืด ระหว่างน้านิ่ง และน้าไหล
แบบไหนที่ต้องมีการปรับตัวมากกว่า และคิดว่าการปรับตัวนั้นมีอะไรบ้าง
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืดในท้องถิ่นของนักเรียน เป็นระบบนิเวศแบบใด และมี
ความสัมพันธ์ต่อท้องถิ่น อย่างไร
นักเรียนคิดว่า มีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
แหล่งน้าจืด
เฉลยคาถามระหว่างเรียน
นักเรียนคิดว่า สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้าจืด ระหว่างน้านิ่ง และน้าไหล
แบบไหนที่ต้องมีการปรับตัวมากกว่า และคิดว่าการปรับตัวนั้นมีอะไรบ้าง
ตอบ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้าไหล ต้องมีการปรับตัวมากกว่าเพื่อความอยู่รอด
เช่น มีรูปร่างเพรียวเพื่อลดแรงต้านของน้า หรือการสร้างอวัยวะสาหรับยึดเกาะพื้นผิวที่
อาศัยอยู่
คาถามระหว่างเรียน
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืดในท้องถิ่นของนักเรียน เป็นระบบนิเวศแบบใด และมี
ความสัมพันธ์ต่อท้องถิ่น อย่างไร
คาตอบ เป็นแหล่งน้าสาหรับใช้อุปโภค และบริโภค ใช้ในการเกษตร การคมนาคม
แหล่งประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า การท่องเที่ยวและพักผ่อน
คาถามระหว่างเรียน
นักเรียนคิดว่า มีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
แหล่งน้าจืด
คาตอบ แก๊สออกซิเจนในน้า, ความเป็นกรด-เบส, อุณหภูมิ, สิ่งปนเปื้อน ปริมาณพืชน้า
ระบบนิเวศแหล่งน้ากร่อย
เป็นบริเวณที่มีน้าจืดมาบรรจบกับน้าเค็ม พบบริเวณปากอ่าว ปากแม่น้า เป็นต้น
มีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง จึงพบสิ่งมีชีวิตที่หลากหลาย
คาถามระหว่างเรียน
เหตุใดบริเวณระบบนิเวศน้ากร่อยจึงมีความอุดมสมบูรณ์ของธาตุอาหารสูง
คาตอบ เพราะน้ากร่อย เป็นบริเวณรอยต่อของน้าจืดและน้าเค็มจึงมีการพัดพา
สารอาหาร และแร่ธาตุต่างๆมาตกตะกอนบริเวณปากแม่น้า และการเกิดน้าขึ้น -
น้าลงทาให้มีการหมุนเวียนของสารอาหารนั้น ทาให้แหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ไปด้วย
ธาตุอาหารนั่นเอง
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
ได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร จัดเป็นแหล่งน้าไหล เพราะมีกระแสคลื่นตลอดเวลา
มีพื้นที่ 3/4 ของผิวโลก แบ่งเป็นบริเวณชายฝั่งทะเล และบริเวณทะเลเปิด
บริเวณชายฝั่ง ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เพราะมีน้าขึ้นน้าลง จึงเกิดการชะล้างธาตุอาหาร
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม
บริเวณทะเลเปิด บริเวณที่อยู่ห่างจากชายฝั่ง
แบ่งเป็น เขตที่แสงส่องถึง เขตที่มีแสงน้อย และเขตที่ไม่มีแสง
การแบ่งระบบนิเวศน้าเค็มตามลักษณะทางกายภาพ
หาดทราย
บริเวณชายฝั่งตั้งแต่ระดับลงจนถึงระดับน้าขึ้น มีความลาดชันแตกต่างกัน
น้าขึ้นน้าลงเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดความแตกต่าง และมีผลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
หาดหิน
บริเวณที่โขดหิน มีซอกและแอ่งน้าสาหรับการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต
น้าขึ้น น้าลงมีผลต่อการดารงชีวิต โดยเฉพาะช่วงน้าลงที่จะทาให้ขาดน้าและความชื้น
หาดหิน
สิ่งมีชีวิตจึงต้องมีการปรับตัวคือ สร้างเปลือกหุ้มเพื่อเก็บน้าและความชื้น
เช่น เพรียงหิน หอยนางรม
ส่วนสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ได้ ก็จะไปหลบตามซอกหิน เช่นปู ปลิงทะเล
หาดหิน
หาดหิน
แนวปะการัง
เป็นระบบนิเวศใต้น้าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด
เป็นดัชนีบ่งบอกสภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเลได้
เพราะปะการังจะเจริญเฉพาะในบริเวณที่น้าสะอาด และออกซิเจนเพียงพอ
แนวปะการัง
คาถามระหว่างเรียน
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณหาดหิน พบกับปัญหาใดบ้าง และมีการปรับตัวอย่างไร
ในการดารงชีวิต
คาตอบ จะมีปัญหาเมื่ออยู่ในสภาวะน้าลง จะเกิดการขาดแคลนน้าและความชื้น รวมถึงการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
วิธีการแก้คือ มีการสร้างสารคิวทินเคลือบที่ตัวเพื่อช่วยรักษาอุณหภูมิ และ
ความชื้น ในช่วงน้าขึ้นก็ต้องมีที่ยึดเกาะไม่ให้ลอยไปกับกระแสน้า
หรือมีการสร้างเปลือกและรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อนเก็บความชื้น และรักษาอุณหภูมิ
ระบบนิเวศบนบก
ระบบนิเวศป่าไม้
เป็นระบบนิเวศบนบก ที่มีขนาดใหญ่ และสาคัญต่อความสมดุลของธรรมชาติ
เป็นแหล่งรวมความหลากหลายทางชีวภาพ
เพราะว่ามีพืชพรรณและสัตว์ป่าหลากหลายชนิด
รูปแบบของระบบนิเวศป่าไม้
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest)
ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)
พบในพื้นที่ที่ฝนตกชุก เช่นภาคใต้ ชายฝั่งทะเล ความชื้นสูง ใบกว้าง
เขียวครึ้มตลอดปี พืชที่พบได้แก่ ไม้ยาง ไม้ตะเคียน ตีนเป็ดแดง ปาล์ม หวาย ไผ่
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest)
ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest)
ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest)
ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)
ป่าดิบแล้ง (dry evergreen forest)
พบทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงหนือ บริวณที่ราบ มีช่วงแห้งแล้ง 3-4 เดือน
มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง พืชที่พบ ยางแดง กะบาก ตะเคียนหิน พลอง กระเบาเล็ก
ป่าดิบแล้ง (Tropical rain forest)
ป่าดิบแล้ง (Tropical rain forest)
ป่าดิบแล้ง (Tropical rain forest)
ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest)
อยู่ในพื้นที่สูงเหนือระดับน้าทะเล 1,000 ม.ขึ้นไป พบแถบภาคเหนือ
เป็นต้นน้าลาธาร พืชที่พบ นางพญาเสือโคร่ง มะขามป้อม อบเชย สนเขา กุหลาบป่า
ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest)
ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest)
ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest)
ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest)
ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest)
ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest)
ป่าสน (Coniferous forest)
พบตามภูเขาสูง แถบภาคเหนือ ภาคกลางและภาคอีสาน พืชที่พบได้แก่ สนต่างๆ
ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ สัตว์ที่พบได้แก่ แมวป่า หมาป่า ชะมด เม่น กระรอก นก
ป่าสน (Coniferous forest)
ป่าสน (Coniferous forest)
ป่าสน (Coniferous forest)
ป่าชายเลน (Mangrove forest)
ขึ้นตามแนวชายฝั่งทะเลและปากแม่น้า เป็นรอยต่อระหว่างระบบนิเวศในน้าและบนบก
มีความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพสูง ต้นไม้ที่พบ โกงกาง แสม ลาพู
ป่าชายเลน (Mangrove forest)
ป่าชายเลน (Mangrove forest)
ป่าชายเลน (Mangrove forest)
ป่าพรุ (Peat swamp forest)
พบตามที่ลุ่ม มีน้าขัง เป็นดินอินทรีย์หรือดินพรุ น้ามีความเป็นกรดสูง เป็นป่าทึบ
ป่าพรุที่อุดมสมบูรณ์ที่สุด คือ พรุโต๊ะแดง จ.นราธิวาส
พืชที่มักพบคือ หวาย หมากแดง หลุมพี
ป่าพรุ (Peat swamp forest)
ป่าผลัดใบ (Diciduous Forest)
ป่าเบญจพรรณ(Mixed deciduous forest)
เป็นป่าโปร่ง พบทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ มักเป็นดินร่วนปนทราย
พืชหลักที่พบได้แก่ สัก มะค่า แดง ประดู่ และชิงชัน ปะปนกับไผ่และหญ้า
ป่าผลัดใบ (Diciduous Forest)
ป่าเบญจพรรณ(Mixed deciduous forest)
ป่าผลัดใบ (Diciduous Forest)
ป่าเบญจพรรณ(Mixed deciduous forest)
ป่าผลัดใบ (Diciduous Forest)
ป่าเบญจพรรณ(Mixed deciduous forest)
ป่าเต็งรัง (Dry dipterocarp forest)
เป็นป่าโปร่ง พบในเขตพื้นที่แห้งแล้งของทุกภาค ยกเว้นภาคใต้และตะวันออก
 พืชหลักที่พบได้แก่ เต็ง รัง ไผ่เพ็ก พะยอม ประดู่แดง มะขามป้อม
ป่าเต็งรัง (Dry dipterocarp forest)
ป่าเต็งรัง (Dry dipterocarp forest)
คาถามท้ายเรื่อง
ให้นักเรียนจัดทาผังมโนทัศน์ในการแบ่งประเภทของระบบนิเวศ
ลงสมุดให้ครบถ้วนและเรียบร้อย

More Related Content

What's hot

โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Ta Lattapol
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชtarcharee1980
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
Oui Nuchanart
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

Similar to บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Kittiya GenEnjoy
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
kasarin rodsi
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
kkrunuch
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
Wichai Likitponrak
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
Wichai Likitponrak
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
Ecosys 1 62_new
Ecosys 1 62_newEcosys 1 62_new
Ecosys 1 62_new
Wichai Likitponrak
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 

Similar to บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (20)

สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
Ecosys 1 62_new
Ecosys 1 62_newEcosys 1 62_new
Ecosys 1 62_new
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 

More from Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 

More from Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม