SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
     รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
                            ปีการศึกษา 2555

ชื่อโครงงาน การวิเคราะห์แนวโน้มและพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ
          จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

                           ชื่อผู้จัดทาดครงงาน



           นายธีรเกียรติ      ตันอุตม์ เลขที่ 19 ชั้นม.6 ห้อง 9
           นายพณิช            ใจเจริญ เลขที่ 23 ชั้นม.6 ห้อง 9



          ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์



            ระยะเวลาในการดาเนินงาน 1-2 ปีการศึกษา 2555



               โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดชียงใหม่
            สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามะยมศึกษาเขต 34
ใบงาน

                                   การจัดทาข้อเสนอดครงงานคอมพิวเตอร์

 สมาชิกในกลุ่ม
 1.นายธีรเกียรติ ตันอุตม์ เลขที่                     2.นายพณิช     ใจเจริญ เลขที่ 23

คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนเสนอดครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้

ชื่อโครงงาน              การวิเคราะห์แนวโน้มและพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
                         ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทของโครงงาน         โครงงานสารวจวิเคราะห์ข้อมูล
ชื่อนักเรียน             1. นายธีรเกียรติ ตันอุตม์
                         2. นายพณิช       ใจเจริญ


ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา     ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
                         ครู รุ่งรัตน์    ชีวสาธน์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ คูณครูศรายุทธ วิริยะคุณานันท์
ระยะเวลาทาโครงงาน        8 สัปดาห์ ตั้งแต่ เดือน พฤศจิกายน – กรกฎาคม
ที่มาและความสาคัญ

         ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มักจะ
ประสบกับปัญหามลภาวะทางอากาศ เกิดมีปริมาณฝุ่นละอองหนาแน่นเกินระดับมาตรฐาน องค์การอนามัย
โลก (มากกว่า 50 g / m3 ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ.2554 นี้ ปริมาณฝุ่นละอองดังกล่าวมี
แนวโน้ม ที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิธีการพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ
ในอนาคต ว่าจะมีมากน้อยเพียงใด โดยอาศัยระเบียบการศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อนาเสนอผลการศึกษา ทั้งนี้
เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้าง
ความตระหนักในการลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศด้วย
วัตถุประสงค์

        1. เพื่อศึกษาแนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554

        2. เพื่อพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2556

ขอบเขตของการศึกษา


        โครงงานนี้ได้อาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล และพยากรณ์ข้อมูลของปริมาณ
ฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ของกรมควบคุมมลพิษทาง
อากาศ         ในเดือนที่มีค่าปริมาณฝุ่นละอองในอากาศเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (มากกว่า
50 g / m3   ) ในช่วงเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม

ขั้นตอนการดาเนินงาน

        1. รวบรวมข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่ปี 2544 – 2554
        2. สัง เกตปริมาณฝุ่นละอองในอากาศของแต่ล ะเดือน พบว่าเดือนมกราคม กุ มภาพันธ์ มีนาคม
เมษายน และธันวาคม มีปริมาณฝุ่นละอองในอากาศสูงมากกว่า 50  g / m3
        3. นาเสนอข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
จังหวัดเชียงใหม่ในรูปแบบตารางและแผนภาพการกระจาย
                 3.1 สร้างตารางข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียน
        ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
                 3.2 สร้างแผนภาพการกระจายของของข้อมูล
        4. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา การวิเคราะห์แนวโน้ม ค่าสัมประสิทธิ์การ
ตัดสินใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์
                 4.1 ศึ ก ษาหลั ก การวิ เคราะห์อ นุ ก รมเวลา ความหมาย คุ ณสมบั ติ ของข้ อ มูล และ
องค์ประกอบ
                 4.2 ศึกษาการวิเคราะห์แนวโน้ม และการพยากรณ์ค่าแนวโน้มโดยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด
ซึ่งประกอบไปด้วย 4 รูปแบบ คือ รูปเส้นตรง รูปพาราโบลา และรูปพหุนามดีกรีสาม
4.3 ศึ ก ษาค่ า สัม ประสิ ทธิ์ก ารตัดสิน ใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ โดยค่ า
คลาดเคลื่อนของพยากรณ์จะนามาประยุกต์ใ ช้เพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยสัมบูรณ์ และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานของค่าความคลาดเคลื่อน
        5. วิเคราะห์แนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราช
วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
                 5.1 วิเคราะห์แนวโน้ม ด้วยวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่อาศัยวิธีกาลั งสองน้อยที่สุด ทั้ง 4
รูปแบบ
        6. ใช้ข้อมูลในข้อที่ 5 พยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียน
ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในปี 2556
                 6.1 หลังจากที่ได้สมการแนวโน้มจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แล้ว นาสมการมาพิจารณา
ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจของแต่ละสมการ
                 6.2 เลือกสมการที่มีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเข้าใกล้ 1 มากที่สุด แล้วแทนค่าเพื่อ
พยากรณ์
        7. หาค่าคลาดเคลื่อนการพยากรณ์
        8. สรุปและอภิปรายผลการทดลองศึกษา

โปรแกรมที่ใช้
      1. โปรแกรมประยุกต์ MATLAB เพื่อหาค่าสัมประสิทธ์ของสมการของเส้นแนวโน้ม
      2. โปรแกรม Graph เพื่อสร้างกราฟในการวิเคราะห์แนวโน้ม
      3. โปรแกรม Microsoft Office (Excel)
ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน


ลาดับ                ขั้นตอน                                                  สัปดาห์ที่                                       ผู้รับผิดชอบ

                                                  1        2        3         4          5         6        7         8
1         คิดหัวข้อโครงงาน                    /        /
2         ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล                        /                             /
3         จัดทาโครงร่าง                                /
4         ปฏิบัติการโครงสร้าง                                   /         /
5         ปรับปรุงทดสอบ                                                   /          /
6         ทาเอกสารรายงาน                                                                       /
7         ประเมิณผลงาน                                                                                  /
8         นาเสนอโครงงาน                                                                                           /



มมติฐาน


         จากข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2544 – 2554 สามารถพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละออง
ในอากาศในอนาคตได้ โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา


สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
        กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แหล่งข้อมูลอ้างอิง

         จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คู่มือ สาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 1. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ :
สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด, 2547

         ระพิ น ทร์ โพธิ์ ศ รี .สถิ ติ เ พื่ อ การวิ จั ย .จ านวน 3,000        เล่ ม .พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2.บริ ษั ท ด่ า นสุ ท ธาการพิ ม พ์ จ ากั ด
: สานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คณิตศาสตร์ ม.6 เล่ม 1. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด ,
2548

         เจริญ ภูภัทรพงศ์ และ ศรีลัดดา ภูภัทรพงศ์. คู่มือและเทคนิคลัดโจทย์ คณิตศาสตร์ ม. 6 เล่ม 6 ค. 061, ค. 046. :
สานักพิมพ์ science center

         ศิริลักษณ์ สุวรรณวงค์. การวิเคราะห์อนุกรมเวลา. พิมพ์ครั้งแรก : สานักพิมพ์ สุวีริยาสาสน์, 2535

         ศิริพงษ์ ศรีพิพัฒน์. คณิตศาสตร์เชิงตัวเลข สาหรับคอมพิวเตอร์. ม.ป.ท., ม.ป.ป. .

         ทรงศิริ แต้สมบัต.ิ เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ. ม.ป.ท., ม.ป.ป. .

ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555,
        จาก coursewares.mju.ac.th:81/e-learning48/ST202/pdf/3.pdf

หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555,
       จาก http://th.wikipedia.org/wiki/หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย

ฝุ่นละออง. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555,
         จาก http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ฝุ่นละออง

คุณภาพอากาศบริเวณโรงเรียนยุพราช อ.เมือง จ.เชียงใหม่. ค้นหาเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555,
       จาก http://www.aqmthai.com

More Related Content

What's hot

บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
Annop Phetchakhong
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
krupornpana55
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
noinasang
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
othanatoso
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 

What's hot (19)

บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
บทคัดย่อ มัลติพอยท์เมาส์
บทคัดย่อ มัลติพอยท์เมาส์บทคัดย่อ มัลติพอยท์เมาส์
บทคัดย่อ มัลติพอยท์เมาส์
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 

Viewers also liked (12)

ใบงานที่ 13 16
ใบงานที่ 13 16ใบงานที่ 13 16
ใบงานที่ 13 16
 
Work
WorkWork
Work
 
Up
UpUp
Up
 
ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11
 
Buku pengenalan linux
Buku  pengenalan linuxBuku  pengenalan linux
Buku pengenalan linux
 
Hsp pseni kbsr
Hsp pseni kbsrHsp pseni kbsr
Hsp pseni kbsr
 
Trainer education flow aiesec serbia
Trainer education flow aiesec serbiaTrainer education flow aiesec serbia
Trainer education flow aiesec serbia
 
Share market basics
Share market basicsShare market basics
Share market basics
 
Lugol's solution
Lugol's solutionLugol's solution
Lugol's solution
 
Unang Kabihasnan ng China
Unang Kabihasnan ng ChinaUnang Kabihasnan ng China
Unang Kabihasnan ng China
 
The Vonnegut Project - Presentation
The Vonnegut Project - PresentationThe Vonnegut Project - Presentation
The Vonnegut Project - Presentation
 
Africa (Customs&Tradtions)
Africa (Customs&Tradtions)Africa (Customs&Tradtions)
Africa (Customs&Tradtions)
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
วรากร หลวงโย
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
Moomy Momay
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
cartoon656
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Natsima Chaisuttipat
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
Chonlakan Kuntakalang
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
ptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
ptrnan
 
โครงงานสื่อการสอนเคมีอินทรีย์
โครงงานสื่อการสอนเคมีอินทรีย์โครงงานสื่อการสอนเคมีอินทรีย์
โครงงานสื่อการสอนเคมีอินทรีย์
Sineenart Phromnin
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวาแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
Moomy Momay
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
bbeammaebb
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
bbeammaebb
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Lynnie1177
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Moomy Momay
 
Projectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอมProjectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอม
supamatinthong
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
โครงงานสื่อการสอนเคมีอินทรีย์
โครงงานสื่อการสอนเคมีอินทรีย์โครงงานสื่อการสอนเคมีอินทรีย์
โครงงานสื่อการสอนเคมีอินทรีย์
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวาแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Piano
PianoPiano
Piano
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอมProjectm6 โครงงานคอม
Projectm6 โครงงานคอม
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน การวิเคราะห์แนวโน้มและพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อผู้จัดทาดครงงาน นายธีรเกียรติ ตันอุตม์ เลขที่ 19 ชั้นม.6 ห้อง 9 นายพณิช ใจเจริญ เลขที่ 23 ชั้นม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาในการดาเนินงาน 1-2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามะยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอดครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายธีรเกียรติ ตันอุตม์ เลขที่ 2.นายพณิช ใจเจริญ เลขที่ 23 คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนเสนอดครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน การวิเคราะห์แนวโน้มและพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ประเภทของโครงงาน โครงงานสารวจวิเคราะห์ข้อมูล ชื่อนักเรียน 1. นายธีรเกียรติ ตันอุตม์ 2. นายพณิช ใจเจริญ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ครู รุ่งรัตน์ ชีวสาธน์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ คูณครูศรายุทธ วิริยะคุณานันท์ ระยะเวลาทาโครงงาน 8 สัปดาห์ ตั้งแต่ เดือน พฤศจิกายน – กรกฎาคม ที่มาและความสาคัญ ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายนของทุกปี ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มักจะ ประสบกับปัญหามลภาวะทางอากาศ เกิดมีปริมาณฝุ่นละอองหนาแน่นเกินระดับมาตรฐาน องค์การอนามัย โลก (มากกว่า 50 g / m3 ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ.2554 นี้ ปริมาณฝุ่นละอองดังกล่าวมี แนวโน้ม ที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาวิธีการพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ในอนาคต ว่าจะมีมากน้อยเพียงใด โดยอาศัยระเบียบการศึกษาวิธีทางสถิติ เพื่อนาเสนอผลการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนสร้าง ความตระหนักในการลดพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศด้วย
  • 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาแนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2554 2. เพื่อพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2556 ขอบเขตของการศึกษา โครงงานนี้ได้อาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล และพยากรณ์ข้อมูลของปริมาณ ฝุ่นละอองในอากาศ ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ของกรมควบคุมมลพิษทาง อากาศ ในเดือนที่มีค่าปริมาณฝุ่นละอองในอากาศเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก (มากกว่า 50 g / m3 ) ในช่วงเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. รวบรวมข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่ปี 2544 – 2554 2. สัง เกตปริมาณฝุ่นละอองในอากาศของแต่ล ะเดือน พบว่าเดือนมกราคม กุ มภาพันธ์ มีนาคม เมษายน และธันวาคม มีปริมาณฝุ่นละอองในอากาศสูงมากกว่า 50  g / m3 3. นาเสนอข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในรูปแบบตารางและแผนภาพการกระจาย 3.1 สร้างตารางข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 3.2 สร้างแผนภาพการกระจายของของข้อมูล 4. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา การวิเคราะห์แนวโน้ม ค่าสัมประสิทธิ์การ ตัดสินใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ 4.1 ศึ ก ษาหลั ก การวิ เคราะห์อ นุ ก รมเวลา ความหมาย คุ ณสมบั ติ ของข้ อ มูล และ องค์ประกอบ 4.2 ศึกษาการวิเคราะห์แนวโน้ม และการพยากรณ์ค่าแนวโน้มโดยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด ซึ่งประกอบไปด้วย 4 รูปแบบ คือ รูปเส้นตรง รูปพาราโบลา และรูปพหุนามดีกรีสาม
  • 4. 4.3 ศึ ก ษาค่ า สัม ประสิ ทธิ์ก ารตัดสิน ใจและค่าคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ โดยค่ า คลาดเคลื่อนของพยากรณ์จะนามาประยุกต์ใ ช้เพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยสัมบูรณ์ และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานของค่าความคลาดเคลื่อน 5. วิเคราะห์แนวโน้มของปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียนยุพราช วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 5.1 วิเคราะห์แนวโน้ม ด้วยวิธีการสร้างเส้นแนวโน้มที่อาศัยวิธีกาลั งสองน้อยที่สุด ทั้ง 4 รูปแบบ 6. ใช้ข้อมูลในข้อที่ 5 พยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศในแต่เดือน ณ จุดตรวจวัดโรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ในปี 2556 6.1 หลังจากที่ได้สมการแนวโน้มจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แล้ว นาสมการมาพิจารณา ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจของแต่ละสมการ 6.2 เลือกสมการที่มีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเข้าใกล้ 1 มากที่สุด แล้วแทนค่าเพื่อ พยากรณ์ 7. หาค่าคลาดเคลื่อนการพยากรณ์ 8. สรุปและอภิปรายผลการทดลองศึกษา โปรแกรมที่ใช้ 1. โปรแกรมประยุกต์ MATLAB เพื่อหาค่าสัมประสิทธ์ของสมการของเส้นแนวโน้ม 2. โปรแกรม Graph เพื่อสร้างกราฟในการวิเคราะห์แนวโน้ม 3. โปรแกรม Microsoft Office (Excel)
  • 5. ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 1 คิดหัวข้อโครงงาน / / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / 3 จัดทาโครงร่าง / 4 ปฏิบัติการโครงสร้าง / / 5 ปรับปรุงทดสอบ / / 6 ทาเอกสารรายงาน / 7 ประเมิณผลงาน / 8 นาเสนอโครงงาน / มมติฐาน จากข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองในอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2544 – 2554 สามารถพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละออง ในอากาศในอนาคตได้ โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์อนุกรมเวลา สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แหล่งข้อมูลอ้างอิง จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คู่มือ สาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 1. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด, 2547 ระพิ น ทร์ โพธิ์ ศ รี .สถิ ติ เ พื่ อ การวิ จั ย .จ านวน 3,000 เล่ ม .พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2.บริ ษั ท ด่ า นสุ ท ธาการพิ ม พ์ จ ากั ด : สานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
  • 6. จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. คณิตศาสตร์ ม.6 เล่ม 1. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ : สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด , 2548 เจริญ ภูภัทรพงศ์ และ ศรีลัดดา ภูภัทรพงศ์. คู่มือและเทคนิคลัดโจทย์ คณิตศาสตร์ ม. 6 เล่ม 6 ค. 061, ค. 046. : สานักพิมพ์ science center ศิริลักษณ์ สุวรรณวงค์. การวิเคราะห์อนุกรมเวลา. พิมพ์ครั้งแรก : สานักพิมพ์ สุวีริยาสาสน์, 2535 ศิริพงษ์ ศรีพิพัฒน์. คณิตศาสตร์เชิงตัวเลข สาหรับคอมพิวเตอร์. ม.ป.ท., ม.ป.ป. . ทรงศิริ แต้สมบัต.ิ เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ. ม.ป.ท., ม.ป.ป. . ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555, จาก coursewares.mju.ac.th:81/e-learning48/ST202/pdf/3.pdf หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/หมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย ฝุ่นละออง. ค้นหาเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ฝุ่นละออง คุณภาพอากาศบริเวณโรงเรียนยุพราช อ.เมือง จ.เชียงใหม่. ค้นหาเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://www.aqmthai.com