SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
1
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
แบบฝึกที่ 1
ผลการเรียนรู้ 1 สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม ที่พบใน
ชีวิตประจาวัน
1. จงเติมตารางด้านล่างนี้ให้สมบูรณ์
ชื่อสาร สูตร
โมเลกุล
สูตรโครงสร้างแบบลิวอิส พันธะระหว่าง
คาร์บอน
การนาไปใช้ประโยชน์
ก อีเทน C2H6
ข อีทีน
ค อีไทน์
ง เมทานอล
จ โพรพาโนน C3H6O
ฉ คลอโรมีเทน
ช เมทานามีน
ซ เอทิลเอทาโนเอต
2
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
แบบฝึกที่ 2
ผลการเรียนรู้ 2. เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้น ของสารประกอบอินทรีย์
1. จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบย่อกับแบบเส้นและมุม ของสารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้
แบบย่อ แบบเส้นและมุม
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช
3
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
แบบย่อ แบบเส้นและมุม
ซ
ฌ
ญ
2. จงเขียนโครงสร้างลิวอิสกับโครงสร้างแบบเส้นและมุมของสารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้
แบบลิวอิส แบบเส้นและมุม
ก
ข
ค
ง
จ
4
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
แบบลิวอิส แบบเส้นและมุม
ฉ
ช
ซ
3. จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบย่อและโครงสร้างแบบผสมของสารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้
แบบย่อ แบบผสม
ก
ข
ค
ง
จ
5
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
แบบย่อ แบบผสม
ฉ
แบบฝึกที่ 3
ผลการเรียนรู้ 3. วิเคราะห์โครงสร้าง และระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน
1. จงเขียนสูตรโมเลกลุของแอลเคน ไซโคลแอลเคน และหมู่อัลคิล ที่มีจานวนอะตอมของคาร์บอนดังต่อไปนี้
จานวนอะตอม C แอลเคน ไซโคลแอลเคน หมู่อัลคิล
ก 9
ข 10
ค 16
ง 18
2. จงเขียนสูตรโมเลกุลของแอลเคน แอลคีน และแอลไคน์ ที่มีจานวนอะตอมของคาร์บอน ดังนี้
จานวนอะตอม C แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
ก 11
ข 13
ค 18
3. จงระบุว่าสารประกอบอินทรีย์ชนิดใดต่อนี้เป็น แอลกอฮอล์ ฟีนอล หรืออีเทอร์
ประเภทของสาร ประเภทของสาร
ก ข
ค ง
จ ฉ
6
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
4. สารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้ ชนิดใดเป็นแอลดีไฮด์หรือคีโตน
ประเภทของสาร ประเภทของสาร
ก ข
ค ง
จ ฉ
5. สารประกอบอินทรีย์ชนิดใดต่อไปนี้เป็นเอสเทอร์ (จง  ล้อมรอบสารที่เป็นเอสเทอร์)
ก ข ค
ง จ ฉ
6. จงบอกประเภทของสารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้ พร้อมทั้งระบุชื่อหมู่ฟังก์ชันของสารประกอบแต่ละชนิดด้วย
ประเภทของสารประกอบ ชื่อหมู่ฟังก์ชัน
ก
ข
ค
ง
จ
7
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ประเภทของสารประกอบ ชื่อหมู่ฟังก์ชัน
ฉ
ช
ซ
ฌ
7. จงวงกลมล้อมรอบหมู่ฟังก์ชันที่อยู่ในโมเลกุลของเตตระไซคลิน (Tetracycline) ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะที่ใช้ระงับการ
เจริญเติบโตของเชื่อแบคทีเรีย พร้อมทั้งระบุชื่อหมู่ฟังกชันแต่ละตาแหน่ง
แบบฝึกที่ 4
ผลการเรียนรู้ 4 เขียนสูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1 หมู่
ตามระบบ IUPAC
1. จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุมของแอลเคนและไซโคลแอลเคนต่อไปนี้
ชื่อสารประกอบอินทรีย์ สูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม
ก เฮปเทน
8
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ชื่อสารประกอบอินทรีย์ สูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม
ข ไซโคลเฮปเทน
ค 3-เอทิลเฮกเซน
ง 2,2,4-ไตรเมทิลเพนเทน
จ 4-เอทิล-2,2-ไดเมทิลออกเทน
ฉ ไซโคลโนเนน
2. จงเรียกชื่อแอลเคนและไซโคลแอลเคนที่มีโครงสร้างต่อไปนี้
ชื่อสารประกอบ
ก
ข
ค
ง
9
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
3. จงเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรโครงสร้างดังต่อไปนี้
ชื่อสารประกอบ
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
4. จงใส่ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
สูตรโครงสร้าง ชื่อสารประกอบ
ก CH3OH
ข CH3(CH2)2OH
ค 1-butanol
ง CH3OCH2CH2CH3
จ ethoxypropane
ฉ HCHO
ช CH3(CH2)4CHO
10
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
สูตรโครงสร้าง ชื่อสารประกอบ
ช Octanal
ฌ CH3CO (CH2)2 CH3
ญ 2-heptanone
ฎ CH3(CH2)4COOH
ฏ Propanoic acid
ฐ Acetic acid
ฑ CH3(CH2)2COOCH3
ฒ ethylpropanoate
ณ Butylacetate
ด methylsalicylate
11
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
แบบฝึกที่ 5
ผลการเรียนรู้ 5 เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ
1. สารประกอบอินทรีย์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นไอโซเมอร์กัน ถ้าไม่ได้เป็นไอโซเมอร์กันให้ระบุด้วยว่าเป็นสารชนิดเดียวกัน
หรือไม่
เป็น
ไอโซเมอร์
กัน
ไม่เป็น
ไอโซเมอร์
กัน
เป็นสารชนิดเดียวกันหรือไม่
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช
ช
ฌ
ญ
ฎ
12
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
2. จงเขียนไอโซเมอร์โครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสารประกอบอินทรีย์ที่มีคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ
เท่านั้น โดยกาหนดให้มีคาร์บอน 6 อะตอม และมีโครงร้างและพันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนดังนี้
ก. โซ่เปิดที่มีพันธะเดี่ยวทั้งหมด (5)
ข. แบบวงที่มีพันธะเดี่ยวทั้งหมด (12)
ค. โซ่เปิดที่มีพันธะคู่ 1 พันธะ (13)
ง. โซ่เปิดที่มีพันธะสาม 1 พันธะ (7)
13
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
3. สารที่กาหนดให้ต่อไปนี สารใดเป็นไอโซเมอร์กัน
......................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................
4. แอลคีนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีไอโซเมอร์เรขาคณิตหรือไม่ ถ้ามีให้ระบุว่าโครงสร้างที่กาหนดให้เป็นแบบซิสหรือทรานส์
5. กาหนดสูตรโมเลกุลของสารประกอบ A B C D และ E ดังนี้
ก. ถ้าสาร A B C D และ E มีโครงสร้างแบบโซ่เปิด สารใดเป็นไฮโดรคาร์บอนประเภทไม่อิ่มตัว
............................................................................................................................................................................................
ข. เมื่อมีโครงสร้างแบบวง สารใดเป็นไฮโดรคาร์บอนประเภทอิ่มตัว
............................................................................................................................................................................................
ค. จงเขียนสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสาร B พร้อมทั้งเรียกชื่อ (2)
................................ ................................
................................ ................................
................................ ................................
14
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ง. จงเขียนสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสาร C (8)
6. จงเขียนไอโซเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันชนิดเดียวกับสารประกอบอินทรีย์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ก. (2)
ข. (3)
ค. (4)
15
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ง. (3)
7. จงเขียนสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสารที่มีสูตรโมเลกุล C3H8O (3)
8. จงเขียนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของแอลดีไฮด์และคีโตนที่มีสูตรโมเลกุลต่อไปนี้
ก. C4H8O (3)
ข. C5H10O (7)
16
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
9. จงเขียนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรโมเลกุลเป็นC5H10O2 เมื่อสารประกอบอินทรีย์
เป็น
ก. กรดคาร์บอกซิลิก (4)
ข. เอสเทอร์ (9)
10. จงเขียนสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรโมเลกุลต่อไปนี้ (3,5,8,8,4)
17
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
11. สารประกอบอินทรีย์ในข้อใดเป็นสารชนิดเดียวกันหรือเป็นไอโซเมอร์กัน ถ้าเป็นไอโซเมอร์กันให้ระบุด้วยว่าเป็น
ไอโซเมอร์โครงสร้างหรือไอโซเมอร์เรขาคณิต
เป็นสารชนิดเดียวกัน
เป็นไอโซเมอร์กัน
ไอโซเมอร์โครงสร้าง ไอโซเมอร์เรขาคณิต
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช
18
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
แบบฝึกที่ 6
ผลการเรียนรู้ 6 วิเคราะห์ และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้าของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน ขนาด
โมเลกุลหรือโครงสร้างต่างกัน
1. แอลกอฮอล์โซ่ตรงชนิดหนึ่งประกอบด้วยคาร์บอน 7 อะตอม แอลกอฮอล์นี้มีชื่อว่าอะไรมีสมบัติการละลายในนา
และจุดเดือดเป็นอย่างไรเมื่อเทียบกับบิวทานอล
ชื่อ ............................................................................................
สมบัติการละลายน้าเมื่อเทียบกับบิวทานอล ............................................................................................
จุดเดือดเมื่อเทียบกับบิวทานอล ............................................................................................
2. เพราะเหตุใดเอทานอล (CH3CH2OH) ซึ่งเป็นไอโซเมอร์กับเมทอกซีมีเทน (CH3OCH3) จึงมีสถานะเป็นของเหลวที่
อุณหภูมิห้อง ในขณะที่เมทอกซีมีเทนกลับมีสถานะเป็นแก๊ส
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
3. สารประกอบอินทรีย์ที่กาหนดให้ในแต่ละคู่ต่อไปนี้ ชนิดใดมีจุดเดือดสูงกว่ากัน เพราะเหตุใด
ก. โพรพาโน กับ บิวเทน ..........................................................................................................
ข. โพรพานาล กับ เพนทานาล ...........................................................................................................
ค. บิวทานาล กับ บิวทานอล ..........................................................................................................
4. สารประกอบอินทรีย์แต่ละคู่ต่อไปนี้ ชนิดใดมีจุดเดือดสูงกว่ากัน เพราะเหตุใด
ก. กรดโพรพาโนอิก กับ กรดเฮกซาโนอิก ........................................................................................................
ข. กรดเมทาโนอิก กับ เอทานอล ........................................................................................................
ค. เพนทาโนน กับ กรดบิวทาโนอิก .........................................................................................................
5. จงเรียงลาดับสารประกอบอินทรีย์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ จากสารที่มีจุดเดือดสูงไปหาสารที่มีจุดเดือดต่า พร้อมทั้งอธิบาย
เหตุผล
ก. บิวเทน โพรพานอล กรดแอซีติก ................................................................................................................
ข. กรดแอซีติก กรดโพรพาโนอิก กรดบิวทาโนอิก ..................................................................................................
ค. บิวทานอล บิวทาโนน กรดโพรพาโนอิก...............................................................................................................
19
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
6. สาร A B C และ D มีสูตรโครงสร้างดังต่อไปนี้
จงเรียงลาดับสารที่มีจุดเดือดสูงไปหาสารที่มีจุดเดือดต่า พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
7. แอลเคน A B และ C มีสูตรโครงสร้างและสมบัติดังนี้
ให้วิเคราะห์ว่าจุดเดือดของสารประกอบมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างของโมเลกุลอย่างไร
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
8. สารประกอบอินทรีย์แต่ละคู่ต่อไปนี้ สารใด ควรจะมีจุดเดือดสูงกว่ากัน เพราะเหตุใด
............................................................................
............................................................................
............................................................................
20
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
แบบฝึกที่ 7
ผลการเรียนรู้ 7 ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขียนผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยากับ
โบรมีน หรือปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
1. จงเขียนสมการแสดงการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่อไปนี้
ก. มีเทน สูตรโมเลกุล คือ ............... สมการการเผาไหม้.......................................................................................
ข. ไซโคลโพรเพน สูตรโมเลกุล คือ............. สมการการเผาไหม้.......................................................................................
ค. บิวเทน สูตรโมเลกุล คือ............... สมการการเผาไหม้......................................................................................
ง. ออกเทน สูตรโมเลกุล คือ .............. สมการการเผาไหม้.......................................................................................
2. จงอธิบายว่าการเผาไหม้ของ C2H6 C2H4 และ C2H2 สารประกอบใดน่าจะเกิดเขม่ามากที่สุด เพราะเหตุใด
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................................
3. จงเขียนโครงสร้างของลิวอิสของผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแทนที่ของคลอรีน 1 ตาแหน่ง ในที่สว่างกับ
สารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้
ก. เพนเทน
ข. ไซโคลบิวเทน
ค. 2-เมทิลโพรเพน
ง. 2-เมทิลบิวเทน
21
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
4. จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างบิวเทนกับโบรมีต่อไปนี้
ก. ปฏิกิริยาแทนที่ 1 ตาแหน่ง (2)
ข. ปฏิกิริยาแทนที่ 2 ตาแหน่ง (6)
5. สมบัติของสาร A B C และ D เป็นดังนี้
ก. สารใดน่าจะเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เพราะเหตุใด.................................................................................
ข. สารใดน่าจะทาปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนในที่สว่างและสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตได้ ................
6. X Y และ Z เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเมื่อสาร X และ Y ทาปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนและสาร Z ทา
ปฏิกิริยากับออกซิเจนจะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ
ก. X Y Z มีสูตรโมเลกุลอย่างไร ..................................................................................ตามลาดับ
ข. สารใดเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว ...................................................................................
ค. สารใดเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ...................................................................................
22
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ง. จงบอกชื่อของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
(1) ....................................................... (2)..................................................................
(3) ........................................................
จ. เมื่อสาร Z ทาปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนจะเกิดปฏิกิริยาชนิดใด จงใช้สูตรโมเลกุลเขียนสมการแสดง
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ...........................................................................................................................................
7. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างสารต่อไปนี้
ก. .................................................................................................................................................................
ข. .................................................................................................................................................................
ค. .................................................................................................................................................................
ง. .................................................................................................................................................................
8. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน A จานวน 1 โมล เกิดการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์พบว่ามีไอน้าเกิดขึ้น 6 โมล และเมื่อหยด
สาร A ลงในสารละลายโบรมีที่เก็บไว้ในห้องมืดพบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้านาไปไว้ในที่สว่างเป็นเวลา 5 นาที
สารละลายเปลี่ยนจากสีน้าตาลแดงเป็นไม่มีสี และมีฟองแก๊สเกิดขึ้น จงตอบคาถามต่อไปนี้
ก. สาร A จัดเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทใด .............................................................................
ข. สาร A มีสูตรโมเลกุลอย่างไร .............................................................................
ค. สาร A มีชื่อว่าอย่างไร ..............................................................................
ง. จงเขียนสมการแสดงการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของสาร A ……………………………………………………………………..
จ. ปฏิกิริยาระหว่างสาร A กับสารละลายโบรมี คือปฏิกิริยาประเภทใด ..................................................................
ฉ. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาในข้อ จ.
23
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ช. ปฏิกิริยาในข้อ จ. มีแก๊สใดเกิดขึ้น ..............................................................................
ซ. มีวิธีการใดในการทดสอบแก๊สที่เกิดขึ้นดังกล่าว ...............................................................................
9. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ A และ B มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันเป็น C3H6 สาร A ฟอกจางสีสารละลาย
KMnO4 แต่สาร B ไม่ฟอกจากสีสารละลาย KMnO4 จากสมบัติดังกล่าว จงเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนทั้ง 2 ชนิด
สาร A สาร B
แบบฝึกที่ 8
ผลการเรียนรู้ 8 เขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์ปฏิกิริยา
ไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน
ผลการเรียนรู้ 9 ทดสอบปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน
1. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสเอสเทอร์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ทั้งสภาวะกรดและเบส พร้อมทั้งเรียกชื่อผลิตภัณฑ์
ทีเกิดขึ้น
ก. บิวทิลแอซีเตต
ข. เพนทิลบิวทาโนเอต
24
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ค. เมทิลซาลิซิเลต
2. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในภาวะที่เหมาะสมระหว่างสารต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกชื่อของแต่ละปฏิกิริยา
ก. ปฏิกิริยา.................................................
ข.ปฏิกิริยา.................................................
ค.ปฏิกิริยา.................................................
ง.ปฏิกิริยา.................................................
จ.ปฏิกิริยา.................................................
ฉ.ปฏิกิริยา.................................................
25
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ช.ปฏิกิริยา.................................................
ซ. ปฏิกิริยา.................................................
3.
จงตอบคาถามต่อไปนี้
ก. จงเขียนชื่อและสูตรโครงสารของแอลกอฮอล์
ข. จงเขียนชื่อและสูตรโครงสารของสาร A
ค. จงบอกวิธีการทดสอบว่าสารใดเป็นแอลกอฮอล์และสารใดเป็นสาร A
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
ง. จงบอกชื่อของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น .................................................................................................
26
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
4. เพราะเหตุใด ยาแอสไพรินที่เก็บไว้นาน จึงมีกลิ่นเหมือนน้าส้มสายชู ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือปฏิกิริยาใด จงเขียนสมการ
แสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือปฏิกิริยา ...............................................................................................
สมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ
แบบฝึกที่ 9
ผลการเรียนรู้ 10 สืบค้นข้อมูล และนาเสนอตัวอย่างการนาสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและ
อุตสาหกรรม
ชื่อสารประกอบ
อินทรีย์
สารอินทรีย์ประเภท การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและอุตสาหกรรม
ก มีเทน
ข อีเทน
ค โพรเพน+บิวเทน
ง พาราฟิน
จ เอทิลีน
ฉ โพรพีน
27
แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์
: โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ
ชื่อสารประกอบ
อินทรีย์
สารอินทรีย์ประเภท การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและอุตสาหกรรม
ช อะเซทิลีน
ซ เมทิลเบนซีน
ฌ แนฟทาลีน
ญ เมทานอล
ฎ เอทานอล
ฏ เอทอกซีอีเทน
ฐ เมทานาล
ฑ โพรพาโนน
ฒ กรดแอซีติก
ณ กรดเมทาโนอิก
ด กรดแอลฟาไฮดรอกซี
ต กรดซาลิซิลิก
ถ เมทิลซาลิซิเลต
ท เอทิลแอซีเตต
ธ เบนซิลแอซีเตต
น เอทิลบิวทาโนเอต
บ มอร์ฟีน
ป แอมเฟตามีน
ผ นิโคติน
ฝ อะเซตามิโนเฟน
พ ยูเรีย

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์kaoijai
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 

แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์

  • 1. 1 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ แบบฝึกที่ 1 ผลการเรียนรู้ 1 สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม ที่พบใน ชีวิตประจาวัน 1. จงเติมตารางด้านล่างนี้ให้สมบูรณ์ ชื่อสาร สูตร โมเลกุล สูตรโครงสร้างแบบลิวอิส พันธะระหว่าง คาร์บอน การนาไปใช้ประโยชน์ ก อีเทน C2H6 ข อีทีน ค อีไทน์ ง เมทานอล จ โพรพาโนน C3H6O ฉ คลอโรมีเทน ช เมทานามีน ซ เอทิลเอทาโนเอต
  • 2. 2 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ แบบฝึกที่ 2 ผลการเรียนรู้ 2. เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้น ของสารประกอบอินทรีย์ 1. จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบย่อกับแบบเส้นและมุม ของสารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้ แบบย่อ แบบเส้นและมุม ก ข ค ง จ ฉ ช
  • 3. 3 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ แบบย่อ แบบเส้นและมุม ซ ฌ ญ 2. จงเขียนโครงสร้างลิวอิสกับโครงสร้างแบบเส้นและมุมของสารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้ แบบลิวอิส แบบเส้นและมุม ก ข ค ง จ
  • 4. 4 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ แบบลิวอิส แบบเส้นและมุม ฉ ช ซ 3. จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบย่อและโครงสร้างแบบผสมของสารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้ แบบย่อ แบบผสม ก ข ค ง จ
  • 5. 5 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ แบบย่อ แบบผสม ฉ แบบฝึกที่ 3 ผลการเรียนรู้ 3. วิเคราะห์โครงสร้าง และระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน 1. จงเขียนสูตรโมเลกลุของแอลเคน ไซโคลแอลเคน และหมู่อัลคิล ที่มีจานวนอะตอมของคาร์บอนดังต่อไปนี้ จานวนอะตอม C แอลเคน ไซโคลแอลเคน หมู่อัลคิล ก 9 ข 10 ค 16 ง 18 2. จงเขียนสูตรโมเลกุลของแอลเคน แอลคีน และแอลไคน์ ที่มีจานวนอะตอมของคาร์บอน ดังนี้ จานวนอะตอม C แอลเคน แอลคีน แอลไคน์ ก 11 ข 13 ค 18 3. จงระบุว่าสารประกอบอินทรีย์ชนิดใดต่อนี้เป็น แอลกอฮอล์ ฟีนอล หรืออีเทอร์ ประเภทของสาร ประเภทของสาร ก ข ค ง จ ฉ
  • 6. 6 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 4. สารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้ ชนิดใดเป็นแอลดีไฮด์หรือคีโตน ประเภทของสาร ประเภทของสาร ก ข ค ง จ ฉ 5. สารประกอบอินทรีย์ชนิดใดต่อไปนี้เป็นเอสเทอร์ (จง  ล้อมรอบสารที่เป็นเอสเทอร์) ก ข ค ง จ ฉ 6. จงบอกประเภทของสารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้ พร้อมทั้งระบุชื่อหมู่ฟังก์ชันของสารประกอบแต่ละชนิดด้วย ประเภทของสารประกอบ ชื่อหมู่ฟังก์ชัน ก ข ค ง จ
  • 7. 7 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ประเภทของสารประกอบ ชื่อหมู่ฟังก์ชัน ฉ ช ซ ฌ 7. จงวงกลมล้อมรอบหมู่ฟังก์ชันที่อยู่ในโมเลกุลของเตตระไซคลิน (Tetracycline) ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะที่ใช้ระงับการ เจริญเติบโตของเชื่อแบคทีเรีย พร้อมทั้งระบุชื่อหมู่ฟังกชันแต่ละตาแหน่ง แบบฝึกที่ 4 ผลการเรียนรู้ 4 เขียนสูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1 หมู่ ตามระบบ IUPAC 1. จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุมของแอลเคนและไซโคลแอลเคนต่อไปนี้ ชื่อสารประกอบอินทรีย์ สูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม ก เฮปเทน
  • 8. 8 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ชื่อสารประกอบอินทรีย์ สูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม ข ไซโคลเฮปเทน ค 3-เอทิลเฮกเซน ง 2,2,4-ไตรเมทิลเพนเทน จ 4-เอทิล-2,2-ไดเมทิลออกเทน ฉ ไซโคลโนเนน 2. จงเรียกชื่อแอลเคนและไซโคลแอลเคนที่มีโครงสร้างต่อไปนี้ ชื่อสารประกอบ ก ข ค ง
  • 9. 9 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 3. จงเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรโครงสร้างดังต่อไปนี้ ชื่อสารประกอบ ก ข ค ง จ ฉ 4. จงใส่ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ สูตรโครงสร้าง ชื่อสารประกอบ ก CH3OH ข CH3(CH2)2OH ค 1-butanol ง CH3OCH2CH2CH3 จ ethoxypropane ฉ HCHO ช CH3(CH2)4CHO
  • 10. 10 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ สูตรโครงสร้าง ชื่อสารประกอบ ช Octanal ฌ CH3CO (CH2)2 CH3 ญ 2-heptanone ฎ CH3(CH2)4COOH ฏ Propanoic acid ฐ Acetic acid ฑ CH3(CH2)2COOCH3 ฒ ethylpropanoate ณ Butylacetate ด methylsalicylate
  • 11. 11 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ แบบฝึกที่ 5 ผลการเรียนรู้ 5 เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ 1. สารประกอบอินทรีย์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นไอโซเมอร์กัน ถ้าไม่ได้เป็นไอโซเมอร์กันให้ระบุด้วยว่าเป็นสารชนิดเดียวกัน หรือไม่ เป็น ไอโซเมอร์ กัน ไม่เป็น ไอโซเมอร์ กัน เป็นสารชนิดเดียวกันหรือไม่ ก ข ค ง จ ฉ ช ช ฌ ญ ฎ
  • 12. 12 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 2. จงเขียนไอโซเมอร์โครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสารประกอบอินทรีย์ที่มีคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เท่านั้น โดยกาหนดให้มีคาร์บอน 6 อะตอม และมีโครงร้างและพันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนดังนี้ ก. โซ่เปิดที่มีพันธะเดี่ยวทั้งหมด (5) ข. แบบวงที่มีพันธะเดี่ยวทั้งหมด (12) ค. โซ่เปิดที่มีพันธะคู่ 1 พันธะ (13) ง. โซ่เปิดที่มีพันธะสาม 1 พันธะ (7)
  • 13. 13 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 3. สารที่กาหนดให้ต่อไปนี สารใดเป็นไอโซเมอร์กัน ...................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... 4. แอลคีนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ มีไอโซเมอร์เรขาคณิตหรือไม่ ถ้ามีให้ระบุว่าโครงสร้างที่กาหนดให้เป็นแบบซิสหรือทรานส์ 5. กาหนดสูตรโมเลกุลของสารประกอบ A B C D และ E ดังนี้ ก. ถ้าสาร A B C D และ E มีโครงสร้างแบบโซ่เปิด สารใดเป็นไฮโดรคาร์บอนประเภทไม่อิ่มตัว ............................................................................................................................................................................................ ข. เมื่อมีโครงสร้างแบบวง สารใดเป็นไฮโดรคาร์บอนประเภทอิ่มตัว ............................................................................................................................................................................................ ค. จงเขียนสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสาร B พร้อมทั้งเรียกชื่อ (2) ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................
  • 14. 14 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ง. จงเขียนสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสาร C (8) 6. จงเขียนไอโซเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันชนิดเดียวกับสารประกอบอินทรีย์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ก. (2) ข. (3) ค. (4)
  • 15. 15 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ง. (3) 7. จงเขียนสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสารที่มีสูตรโมเลกุล C3H8O (3) 8. จงเขียนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของแอลดีไฮด์และคีโตนที่มีสูตรโมเลกุลต่อไปนี้ ก. C4H8O (3) ข. C5H10O (7)
  • 16. 16 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 9. จงเขียนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรโมเลกุลเป็นC5H10O2 เมื่อสารประกอบอินทรีย์ เป็น ก. กรดคาร์บอกซิลิก (4) ข. เอสเทอร์ (9) 10. จงเขียนสูตรโครงสร้างที่เป็นไปได้ทั้งหมดของสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรโมเลกุลต่อไปนี้ (3,5,8,8,4)
  • 17. 17 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 11. สารประกอบอินทรีย์ในข้อใดเป็นสารชนิดเดียวกันหรือเป็นไอโซเมอร์กัน ถ้าเป็นไอโซเมอร์กันให้ระบุด้วยว่าเป็น ไอโซเมอร์โครงสร้างหรือไอโซเมอร์เรขาคณิต เป็นสารชนิดเดียวกัน เป็นไอโซเมอร์กัน ไอโซเมอร์โครงสร้าง ไอโซเมอร์เรขาคณิต ก ข ค ง จ ฉ ช
  • 18. 18 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ แบบฝึกที่ 6 ผลการเรียนรู้ 6 วิเคราะห์ และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้าของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน ขนาด โมเลกุลหรือโครงสร้างต่างกัน 1. แอลกอฮอล์โซ่ตรงชนิดหนึ่งประกอบด้วยคาร์บอน 7 อะตอม แอลกอฮอล์นี้มีชื่อว่าอะไรมีสมบัติการละลายในนา และจุดเดือดเป็นอย่างไรเมื่อเทียบกับบิวทานอล ชื่อ ............................................................................................ สมบัติการละลายน้าเมื่อเทียบกับบิวทานอล ............................................................................................ จุดเดือดเมื่อเทียบกับบิวทานอล ............................................................................................ 2. เพราะเหตุใดเอทานอล (CH3CH2OH) ซึ่งเป็นไอโซเมอร์กับเมทอกซีมีเทน (CH3OCH3) จึงมีสถานะเป็นของเหลวที่ อุณหภูมิห้อง ในขณะที่เมทอกซีมีเทนกลับมีสถานะเป็นแก๊ส ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... 3. สารประกอบอินทรีย์ที่กาหนดให้ในแต่ละคู่ต่อไปนี้ ชนิดใดมีจุดเดือดสูงกว่ากัน เพราะเหตุใด ก. โพรพาโน กับ บิวเทน .......................................................................................................... ข. โพรพานาล กับ เพนทานาล ........................................................................................................... ค. บิวทานาล กับ บิวทานอล .......................................................................................................... 4. สารประกอบอินทรีย์แต่ละคู่ต่อไปนี้ ชนิดใดมีจุดเดือดสูงกว่ากัน เพราะเหตุใด ก. กรดโพรพาโนอิก กับ กรดเฮกซาโนอิก ........................................................................................................ ข. กรดเมทาโนอิก กับ เอทานอล ........................................................................................................ ค. เพนทาโนน กับ กรดบิวทาโนอิก ......................................................................................................... 5. จงเรียงลาดับสารประกอบอินทรีย์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ จากสารที่มีจุดเดือดสูงไปหาสารที่มีจุดเดือดต่า พร้อมทั้งอธิบาย เหตุผล ก. บิวเทน โพรพานอล กรดแอซีติก ................................................................................................................ ข. กรดแอซีติก กรดโพรพาโนอิก กรดบิวทาโนอิก .................................................................................................. ค. บิวทานอล บิวทาโนน กรดโพรพาโนอิก...............................................................................................................
  • 19. 19 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 6. สาร A B C และ D มีสูตรโครงสร้างดังต่อไปนี้ จงเรียงลาดับสารที่มีจุดเดือดสูงไปหาสารที่มีจุดเดือดต่า พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... 7. แอลเคน A B และ C มีสูตรโครงสร้างและสมบัติดังนี้ ให้วิเคราะห์ว่าจุดเดือดของสารประกอบมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างของโมเลกุลอย่างไร ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... 8. สารประกอบอินทรีย์แต่ละคู่ต่อไปนี้ สารใด ควรจะมีจุดเดือดสูงกว่ากัน เพราะเหตุใด ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................
  • 20. 20 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ แบบฝึกที่ 7 ผลการเรียนรู้ 7 ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขียนผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยากับ โบรมีน หรือปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต 1. จงเขียนสมการแสดงการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่อไปนี้ ก. มีเทน สูตรโมเลกุล คือ ............... สมการการเผาไหม้....................................................................................... ข. ไซโคลโพรเพน สูตรโมเลกุล คือ............. สมการการเผาไหม้....................................................................................... ค. บิวเทน สูตรโมเลกุล คือ............... สมการการเผาไหม้...................................................................................... ง. ออกเทน สูตรโมเลกุล คือ .............. สมการการเผาไหม้....................................................................................... 2. จงอธิบายว่าการเผาไหม้ของ C2H6 C2H4 และ C2H2 สารประกอบใดน่าจะเกิดเขม่ามากที่สุด เพราะเหตุใด ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... 3. จงเขียนโครงสร้างของลิวอิสของผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแทนที่ของคลอรีน 1 ตาแหน่ง ในที่สว่างกับ สารประกอบอินทรีย์ต่อไปนี้ ก. เพนเทน ข. ไซโคลบิวเทน ค. 2-เมทิลโพรเพน ง. 2-เมทิลบิวเทน
  • 21. 21 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 4. จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างบิวเทนกับโบรมีต่อไปนี้ ก. ปฏิกิริยาแทนที่ 1 ตาแหน่ง (2) ข. ปฏิกิริยาแทนที่ 2 ตาแหน่ง (6) 5. สมบัติของสาร A B C และ D เป็นดังนี้ ก. สารใดน่าจะเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เพราะเหตุใด................................................................................. ข. สารใดน่าจะทาปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนในที่สว่างและสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตได้ ................ 6. X Y และ Z เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเมื่อสาร X และ Y ทาปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนและสาร Z ทา ปฏิกิริยากับออกซิเจนจะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ ก. X Y Z มีสูตรโมเลกุลอย่างไร ..................................................................................ตามลาดับ ข. สารใดเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว ................................................................................... ค. สารใดเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ...................................................................................
  • 22. 22 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ง. จงบอกชื่อของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น (1) ....................................................... (2).................................................................. (3) ........................................................ จ. เมื่อสาร Z ทาปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนจะเกิดปฏิกิริยาชนิดใด จงใช้สูตรโมเลกุลเขียนสมการแสดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ........................................................................................................................................... 7. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างสารต่อไปนี้ ก. ................................................................................................................................................................. ข. ................................................................................................................................................................. ค. ................................................................................................................................................................. ง. ................................................................................................................................................................. 8. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน A จานวน 1 โมล เกิดการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์พบว่ามีไอน้าเกิดขึ้น 6 โมล และเมื่อหยด สาร A ลงในสารละลายโบรมีที่เก็บไว้ในห้องมืดพบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้านาไปไว้ในที่สว่างเป็นเวลา 5 นาที สารละลายเปลี่ยนจากสีน้าตาลแดงเป็นไม่มีสี และมีฟองแก๊สเกิดขึ้น จงตอบคาถามต่อไปนี้ ก. สาร A จัดเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทใด ............................................................................. ข. สาร A มีสูตรโมเลกุลอย่างไร ............................................................................. ค. สาร A มีชื่อว่าอย่างไร .............................................................................. ง. จงเขียนสมการแสดงการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของสาร A …………………………………………………………………….. จ. ปฏิกิริยาระหว่างสาร A กับสารละลายโบรมี คือปฏิกิริยาประเภทใด .................................................................. ฉ. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาในข้อ จ.
  • 23. 23 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ช. ปฏิกิริยาในข้อ จ. มีแก๊สใดเกิดขึ้น .............................................................................. ซ. มีวิธีการใดในการทดสอบแก๊สที่เกิดขึ้นดังกล่าว ............................................................................... 9. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ A และ B มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันเป็น C3H6 สาร A ฟอกจางสีสารละลาย KMnO4 แต่สาร B ไม่ฟอกจากสีสารละลาย KMnO4 จากสมบัติดังกล่าว จงเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนทั้ง 2 ชนิด สาร A สาร B แบบฝึกที่ 8 ผลการเรียนรู้ 8 เขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์ปฏิกิริยา ไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน ผลการเรียนรู้ 9 ทดสอบปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน 1. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสเอสเทอร์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ทั้งสภาวะกรดและเบส พร้อมทั้งเรียกชื่อผลิตภัณฑ์ ทีเกิดขึ้น ก. บิวทิลแอซีเตต ข. เพนทิลบิวทาโนเอต
  • 24. 24 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ค. เมทิลซาลิซิเลต 2. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในภาวะที่เหมาะสมระหว่างสารต่อไปนี้ พร้อมทั้งบอกชื่อของแต่ละปฏิกิริยา ก. ปฏิกิริยา................................................. ข.ปฏิกิริยา................................................. ค.ปฏิกิริยา................................................. ง.ปฏิกิริยา................................................. จ.ปฏิกิริยา................................................. ฉ.ปฏิกิริยา.................................................
  • 25. 25 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ช.ปฏิกิริยา................................................. ซ. ปฏิกิริยา................................................. 3. จงตอบคาถามต่อไปนี้ ก. จงเขียนชื่อและสูตรโครงสารของแอลกอฮอล์ ข. จงเขียนชื่อและสูตรโครงสารของสาร A ค. จงบอกวิธีการทดสอบว่าสารใดเป็นแอลกอฮอล์และสารใดเป็นสาร A ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ง. จงบอกชื่อของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น .................................................................................................
  • 26. 26 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ 4. เพราะเหตุใด ยาแอสไพรินที่เก็บไว้นาน จึงมีกลิ่นเหมือนน้าส้มสายชู ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือปฏิกิริยาใด จงเขียนสมการ แสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือปฏิกิริยา ............................................................................................... สมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ แบบฝึกที่ 9 ผลการเรียนรู้ 10 สืบค้นข้อมูล และนาเสนอตัวอย่างการนาสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและ อุตสาหกรรม ชื่อสารประกอบ อินทรีย์ สารอินทรีย์ประเภท การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและอุตสาหกรรม ก มีเทน ข อีเทน ค โพรเพน+บิวเทน ง พาราฟิน จ เอทิลีน ฉ โพรพีน
  • 27. 27 แบบฝึกเสริมประสบการณ์ หน่วยการเรียนรู้ เคมีอินทรีย์ : โดยครูนภาลัย ทองอินทร์ โรงเรียนเขาสมิงวิทยาคม ฯ ชื่อสารประกอบ อินทรีย์ สารอินทรีย์ประเภท การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันและอุตสาหกรรม ช อะเซทิลีน ซ เมทิลเบนซีน ฌ แนฟทาลีน ญ เมทานอล ฎ เอทานอล ฏ เอทอกซีอีเทน ฐ เมทานาล ฑ โพรพาโนน ฒ กรดแอซีติก ณ กรดเมทาโนอิก ด กรดแอลฟาไฮดรอกซี ต กรดซาลิซิลิก ถ เมทิลซาลิซิเลต ท เอทิลแอซีเตต ธ เบนซิลแอซีเตต น เอทิลบิวทาโนเอต บ มอร์ฟีน ป แอมเฟตามีน ผ นิโคติน ฝ อะเซตามิโนเฟน พ ยูเรีย