SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3
เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
โดย
นางสาวธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนซาสูงพิทยาคม
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นนวัตกรรม
ทางการศึกษาที่จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามความสามารถและความสนใจ
มีอิสระในการคิด ทุกคนมีโอกาสใช้ความคิดอย่างเต็มที่ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ซึ่งชุดกิจกรรมนี้ จะช่วยให้ใช้เวลาน้อยลงในการนาเสนอข้อมูลต่างๆ สามารถประกอบกิจกรรมการ
เรียนด้วยตนเองมากกว่าที่จะให้ครูบอกหรือกาหนดให้ โดยครูเป็นผู้สร้างโอกาสทางการเรียนการสอน
มีกิจกรรมให้กับนักเรียนเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ซึ่งผู้เรียนจะดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
จากคาแนะนาที่ปรากฏอยู่ในชุดกิจกรรมเป็นไปตามลาดับขั้นด้วยตนเอง สอดคล้องกับธรรมชาติ
ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และตอบสนองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวน
การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้
ในชีวิตประจาวันตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรมและค่านิยมที่ถูกต้องเหมาะสม ชุดกิจกรรม
การเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es วิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งหมดจานวน 7 เล่ม เล่มนี้เป็น
เล่มที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่มนี้
จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ขอขอบพระคุณ นายมงคล อติอนุวรรตน์ ผู้อานวยการโรงเรียนซาสูงพิทยาคม
คณะผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ตรวจสอบให้ข้อเสนอแนะ
ในการปรับปรุงเพื่อการแก้ไขชุดกิจกรรมกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ให้มีความ
สมบูรณ์อันส่งผลให้ชุดกิจกรรมนี้มีประสิทธิภาพ และสาเร็จลุล่วงได้ด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้
ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
คานา
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
หน้า
คานา……………………………………………………………………………………………………………….… ก
สารบัญ............................................................................................................................. ข
คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้.............................................................................. 1
คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้............................................................................ 2
บทบาทของนักเรียน......................................................................................................... 3
ลาดับขั้นตอนการศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............................ 4
ส่วนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............ 5
ผังมโนทัศน์การเรียนรู้...................................................................................................... 6
สาระสาคัญ / สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้.................................................... 7
ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้............................................................................. 8
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี........................................................ 9
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี............................... 11
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engage)
- กิจกรรม 1.1 จาแนกการเปลี่ยนแปลงของสาร........................................ 11
ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Explore)
- กิจกรรมทดลองที่ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี............................................ 15
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain)
- ใบความรู้ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี.........................................................
- ใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี.............................................................
- ใบงาน 1.2 ลงข้อสรุป “การเกิดปฏิกิริยาเคมี”......................................
20
24
25
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaborate)
- ใบความรู้ 1.2 สมการเคมี .........................................................................
- ใบความรู้ 1.3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม..........................................................................................
- ใบงาน 1.3 ขยายความรู้ (Elaborate).......................................................
26
27
31
สารบัญ
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
หน้า
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน
- บันทึกการเรียนรู้.................................................................................. ..... 34
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี..................................................................... 35
กระดาษคาตอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี................................................................ 37
บันทึกคะแนน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี.................................................................................. 37
บรรณานุกรม................................................................................................................... 38
สารบัญ
ค
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
1. ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ประกอบด้วย
 คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับนักเรียน
 บทบาทนักเรียน
 แผนผังขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 กระบวนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ / สาระสาคัญ
 แบบทดสอบก่อนเรียน ( Pre – test )
 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน
 กิจกรรมการเรียนรู้
 แบบทดสอบหลังเรียน ( Post – test )
 กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน
 แบบบันทึกคะแนนการเรียนรู้
 บรรณานุกรม
3. ผู้ใช้ควรศึกษาคาแนะนาก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
หน้า :: 1
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
การเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี นักเรียนจะต้อง
ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. ศึกษาบทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรม
การเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
2. การเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
3. อ่านคาชี้แจง คาแนะนา และขั้นตอนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry
Cycle 5Es ให้เข้าใจก่อนทากิจกรรม
4. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสาคัญ
5. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อประเมินความรู้
พื้นฐานของนักเรียน
6. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engage) ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Explore) ขั้นที่
3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain) ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaborate) และขั้นที่ 5 ประเมินผล
(Evaluate) เมื่อปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วบันทึก
คะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนของนักเรียน นักเรียนจะต้องได้คะแนนทุกกิจกรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ
80 จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ให้กลับไปอ่านทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาอีกครั้งแล้ว
ตอบใหม่
7. เมื่อศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมครบทุกกิจกรรมแล้วและได้คะแนนแต่ละกิจกรรมผ่าน
เกณฑ์ที่กาหนด ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อเปรียบเทียบ
ความก้าวหน้าของนักเรียน
8. ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน พร้อมทั้งบันทึกคะแนนที่ได้
เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน ซึ่งนักเรียนต้องทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ไม่ต่ากว่า
ร้อยละ 80 จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดให้ทบทวนเนื้อหาแล้วให้ทา
แบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง หากผ่านเกณฑ์ให้ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่ม 2 ต่อไป
ข้อควรปฏิบัติ
นักเรียนควรศึกษาด้วยความตั้งใจ เอาใจใส่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ไม่ควรดูเฉลยก่อน
จะทากิจกรรม ซึ่งจะทาให้นักเรียนเข้าใจ และได้รับประโยชน์จากการศึกษาชุดกิจกรรมเล่มนี้มาก
ที่สุด
คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
หน้า :: 2
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
 กรณีไม่มีการแบ่งกลุ่ม
o นักเรียนทุกคนปฏิบัติกิจกรรม ด้วยความตั้งใจ และไม่ชวนเพื่อนคุยหรือเล่นกัน
o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรมให้เสร็จทันเวลาที่กาหนด
o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรมด้วยตนเองอย่างเต็มความสามารถ ไม่ลอกเลียนแบบ
คนอื่น
o ตั้งใจตอบคาถามและยกมือซักถามเมื่อพบปัญหาหรือข้อสงสัย
o เก็บวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน จัดโต๊ะ เก้าอี้ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยและทาความ
สะอาดก่อนออกจากห้องเรียน
 กรณีมีการแบ่งกลุ่ม
1. บทบาทของผู้นากลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้
o ควบคุมการดาเนินกิจกรรมภายในกลุ่มให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
o เป็นผู้ติดต่อกับครู เมื่อพบปัญหาหรือข้อสงสัย
o เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จ ให้รายงานหรือแจ้งผลการปฏิบัติกิจกรรมให้ครูทราบ
o หลักจากสมาชิกปฏิบัติกิจกรรมภายในกลุ่มเสร็จแล้ว ให้เก็บวัสดุหรืออุปกรณ์ส่งครูตาม
เวลาที่กาหนด
2. บทบาทของสมาชิกภายในกลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้
o ตอบคาถามด้วยความตั้งใจให้ทันเวลา โดยไม่ชวนเพื่อนคุยหรือเล่นกัน
o ควรปรึกษากันด้วยเสียงเบาๆ ไม่ควรปรึกษากันเสียงดังเกินไป จนรบกวนกลุ่มอื่น
o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรม ตั้งใจตอบคาถามอย่างเต็มความสามารถ
o เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนต่าง ๆ
จัดโต๊ะ และเก้าอี้ให้อยู่ในสภาพ เรียบร้อย และทาความสะอาดก่อนออกจากห้องเรียน
บทบาทของนักเรียน
หน้า :: 3
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
1. ศึกษาคาชี้แจง คาแนะนาการใช้ชุด
กิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
6. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
จานวน 10 ข้อ 10 นาที
ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้
Inquiry Cycle 5Es เล่ม 2 ต่อไป
ผ่านเกณฑ์ไม่ผ่านเกณฑ์
ลาดับขั้นตอนการศึกษา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
2. ศึกษามาตรฐาน / สาระสาคัญ /ผลการ
เรียนรู้ /จุดประสงค์การเรียนรู้
3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10 ข้อ 10 นาที
4. ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอน
ประกอบด้วย
 ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ
 ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา
 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
 ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
 ขั้นที่ 5 ประเมินผล
5. ตรวจสอบคาตอบของใบงานและ
กิจกรรมแต่ละขั้น เพื่อตรวจสอบความ
เข้าใจ โดยจะต้องผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์จะต้องกลับไปศึกษา
เนื้อหาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ อีกครั้งจนกว่า
ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
7. ตรวจคาตอบ ผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 80
หน้า :: 4
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
 แบบทดสอบก่อนเรียน
 ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ( Engage )
 กิจกรรมจาแนกการเปลี่ยนแปลงของสาร
 ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา ( Explore )
 การทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ( Explain )
 ใบความรู้ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 ใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 ใบงานที่ 1.2 อธิบายและลงข้อสรุป
 ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ ( Elaborate )
 ใบความรู้ 1.2 สมการเคมี
 ใบความรู้ 1.3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 ใบความรู้ 1.3 ขยายความรู้
 ขั้นที่ 5 ประเมิน ( Evaluate )
 บันทึกการเรียนรู้
 แบบทดสอบหลังเรียน
ส่วนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es
หน้า :: 5
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
การ
เกิดปฏิกิริยา
เคมี
การเปลี่ยนแปลง
ทางเคมีที่ทาให้เกิด
สารใหม่ซึ่งมีสมบัติ
แตกต่างไปจาก
สารเดิม
เกิดฟองแก๊ส
สีเปลี่ยน
เกิดตะกอน
ค่าความเป็น
กรด - เบส
เปลี่ยนไป
อุณหภูมิ
เปลี่ยนแปลง
ผังมโนทัศน์การเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 6
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
การเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นกับสาร
แล้วส่งผลให้ได้สารใหม่ที่มีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม ซึ่งเกิดจากสารตั้งต้น (reactant)
ทาปฏิกิริยากัน แล้วเกิดเป็นสารใหม่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ (product) ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่าง
จากสารตั้งต้น สังเกตได้จาก เกิดฟองแก๊ส สีเปลี่ยน เกิดตะกอน ค่าความเป็นกรด – เบสเปลี่ยน
หรืออุณหภูมิเปลี่ยน หรือเกิดขึ้นหลายอย่างพร้อมกัน
 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 สมการเคมี
 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2
เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสาคัญ
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
หน้า :: 7
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ทดลอง อธิบาย และเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจาวัน
รวมทั้งอธิบายผลของสารเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1. ด้านความรู้ (Knowledge : K )
1.1 นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีเคมีของสารได้
1.2 นักเรียนสามารถบอกวิธีการสังเกตการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารบางชนิดได้
1.3 นักเรียนสามารถบอกปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อมได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process : P )
นักเรียนสามารถทาการทดลอง รวบรวมข้อมูล แปลความหมายข้อมูล สรุปผล
และอภิปรายผลการทดลอง เพื่อศึกษาการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
3. ด้านคุณลักษณะ (Attitude : A )
นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความรับผิดชอบ มีความตั้งใจในการทางานมีการแสดงความ
คิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
ผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
หน้า :: 8
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาชี้แจง : แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ
5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
คาสั่ง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
1. การเปลี่ยนแปลงข้อใด ที่แสดงให้เห็นว่า ไม่มี เกิดปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. นาเกลือป่นละลายน้ากลั่นได้น้าเกลือ
ข. นาน้าบาดาลมาต้มเกิดตะกอนสีขาวขึ้น
ค. จอดรถจักรยานทิ้งไว้แล้ววงล้อเกิดสนิม
ง. นาน้ายาล้างห้องน้าราดพื้นแล้วเกิดฟองแก๊สขึ้น
จ. นาสารละลายกรดกับเบสผสมกันมีอุณหภูมิสูงขึ้นแต่สีไม่มีการเปลี่ยนแปลง
2. ข้อใดไม่ใช่ข้อสังเกตในการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. สีเปลี่ยนไป ข. อุณหภูมิลดลง
ค. สถานะเปลี่ยน ง. มีฟองแก๊สเกิดขึ้น
จ. ค่าความเป็นกรด – เบสเปลี่ยนไป
3. ข้อใดมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. การต้มน้า
ข. การจุดธูป
ค. การทาน้าเชื่อม
ง. การละลายของน้าแข็ง
จ. การระเหิดของลูกเหม็น
4. การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นไปได้ทุกข้อยกเว้นข้อใด
ก. มีตะกอนเกิดขึ้น
ข. มีฟองแก๊สเกิดขึ้น
ค. มีค่าความเป็นกรด – เบส เปลี่ยนไป
ง. มีการละลายของสารเป็นเนื้อเดียวกัน
จ. มีความร้อนหรือมีสีของสารเปลี่ยนไป
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 9
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
5. การเปลี่ยนแปลงข้อใดเป็นผลมาปฏิกิริยาเคมี
ก. การทาสี
ข. เกลือละลายน้า
ค. การบูดของอาหาร
ง. การเกิดผลึกของน้าปลา
จ. ไม่มีข้อถูก
6. การสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สามารถนาไปใช้ประโยชน์กับสิ่งใด
ก. การดับไฟป่า ข. การทาขนมเค้ก
ค. การเกิดฝนกรด ง. การผลิตปูนซีเมนต์
จ. ฟอกสีผมและฆ่าเชื้อโรค
7. สัญลักษณ์ในข้อใดแสดงสารที่ละลายน้าได้
ก. (aq) ข. (l)
ค. (g) ง. (s)
จ. ไม่มีข้อถูก
8. ข้อใดไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. เหล็กเกิดสนิม
ข. น้าตาลละลายน้า
ค. การเผาไหม้ของแก๊สหุงต้ม
ง. การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร
จ. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสีเขียว
9. เมื่อผสมสารละลาย HCl กับ NaHCO3 ทาให้เกิดสารใด
ก. NaCl
ข. CO2 และ H2O
ค. NaCl และ CO2
ง. NaCl และ H2O
จ. NaCl CO2 และ H2O
10. ข้อใดเขียนสมการเคมีแสดงการสลายตัวของ NaHCO3 ได้ถูกต้อง
ก. NaHCO3(aq) → Na2CO3(aq) + CO2(g)
ข. NaHCO3(aq) → Na2O(aq) + CO2(g) + H2O(l)
ค. 2NaHCO3(aq) → 2Na2CO3(aq) + 2CO2(g) + 2H2O(l)
ง. NaHCO3(aq) → Na2CO3(aq) + CO2(g) + H2O(l)
จ. ไม่มีข้อถูก
หน้า :: 10
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ชื่อ..........................................................................ชั้น....................................เลขที่.....................
ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ
1 6
2 7
3 8
4 9
5 10
คาสั่ง : จงเติมข้อความ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หรือ ทางกายภาพ ให้สอดคล้องกับภาพต่อไปนี้
ภาพที่ 1 การระเบิดของดอกไม้ไฟ
ที่มา : https://touchzy-sci.blogspot.com/2016/12/blog-post_20.html
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ( Engage )
ภาพที่ 1 การเปลี่ยนแปลง.....................................
กิจกรรม 1.1 จาแนกการเปลี่ยนแปลงของสาร
กระดาษคาตอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 11
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ภาพที่ 2 น้าแข็งขั้วโลกละลาย
ที่มา : http://www.unigang.com/Article/6003
ภาพที่ 3 ผลไม้สุก
ที่มา : http://fic.nfi.or.th/technologyandinnovation-detail.php?smid=1333
ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลง.....................................
ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลง.....................................
หน้า :: 12
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ภาพที่ 4 สนิมเหล็ก
ที่มา : https://pixabay.com/th/วิธีการ-ห่วงโซ่-ออกไซด์-ออกซิไดซ์-1481562/
ภาพที่ 5 การระเหิดของลูกเหม็น
ที่มา : http://www. siamchemi.com/ลูกเหม็น/
ภาพที่ 4 การเปลี่ยนแปลง.....................................
ภาพที่ 5 การเปลี่ยนแปลง.....................................
หน้า :: 13
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ภาพที่ 6 ขนมปังขึ้นรา
ที่มา : http://terrabkk.com/news/30-สิ่งประดิษฐ์มหัศจรรย์/
จากกิจกรรม 1.1 จาแนกการเปลี่ยนแปลงของสาร นักเรียนรู้อะไรบ้างจาก
กิจกรรมนี้
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
ภาพที่ 6 การเปลี่ยนแปลง.....................................
หน้า :: 14
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษากิจกรรมทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 จุดประสงค์ของกิจกรรม
ทาการทดลองเพื่อศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาบางชนิด รวมทั้งเกณฑ์
ทั่วไปที่ใช้ตัดสินว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้
 เวลาที่ใช้ในการทดลอง 35 นาที
 คะแนน 20 คะแนน
 ข้อควรระวังระหว่างทาการทดลอง
ควรระวังไม่ให้สารเคมีบางประเภท โดยเฉพาะกรดและเบสเข้าตาหรือถูกมือและ
เสื้อผ้า ถ้าบังเอิญถูกให้ล้างด้วยน้าสะอาดมาก ๆ ไม่ควรทิ้งสารเคมีทุกชนิดลงในสิ่งแวดล้อม
โดยตรง เช่น ท่อน้า ดิน และแม่น้าลาคลอง ถ้าจาเป็นต้องทิ้งควรทาให้เจือจางมาก ๆ
ก่อน
ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา ( Explore
)
กิจกรรมทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 15
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
 สารเคมีและอุปกรณ์
ที่ รายการ ต่อกลุ่ม
สารเคมี
1. แผ่นแมกนีเซียม (Mg) ขนาด 0.3 x 2.0 cm2 1 แผ่น
2. แผ่นสังกะสี (Zn) ขนาด 0.3 x 2.0 cm2 1 แผ่น
3. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 2.0 mol/dm3 15 cm3
4. สารละลายโพแทชเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) เจือจาง 5 cm3
5. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 2.0 mol/dm3 5 cm3
6. สารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) 0.1 mol/dm3 5 cm3
7. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) 0.1 mol/dm3 5 cm3
8. กรดซิตริก 1 g
9. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3)
2.0 mol/dm3
5 cm3
อุปกรณ์
1. หลอดทดลองขนาดกลาง 6 หลอด
2. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 6 ใบ
 วิธีการทดลอง
ผสมสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
(KMnO4) กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl)
ตั้งทิ้งไว้สักครู่ สังเกตการเปลี่ยนแปลง
และบันทึกผล
ภาพที่ 7 ผสมสารละลาย KMnO4 กับ HCl
สารละลาย KMnO4
สารละลาย HCl
1
หน้า :: 16
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ผสมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
(NaOH) กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
(HCl) เขย่าแล้วใช้มือจับหลอดทดลอง
ตรงบริเวณที่มีสารละลาย สังเกตการ
เปลี่ยนแปลงและบันทึกผล
ภาพที่ 8 ผสมสารละลาย NaOH กับ HCl
ผสมสารละลายโพแทสเซียม
ไอโอไดด์ (KI) กับสารละลาย
เลด (II) ไนเตรต
(Pb(NO3)2)สังเกตการณ์
เปลี่ยนแปลงและ
บันทึกผล
ภาพที่ 9 ผสมสารละลาย KI กับ Pb(NO3)2
สารละลาย NaOH
1 mol/dm3 5 cm3
สารละลาย HCl
1 mol/dm3 5 cm3
2
สารละลาย KI
0.1 mol/dm3 5 cm3
สารละลาย Pb(NO3)2
0.1 mol/dm3 5 cm3
3
หน้า :: 17
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ผสมกรดซิตริก (C6H10O8) กับสารละลาย
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอนเนต (NaHCO3)
เขย่าให้เข้ากัน ใช้มือจับหลอดทดลองบริเวณ
ที่มีสารละลาย สังเกตการเปลี่ยนแปลง
และบันทึกผล
ภาพที่ 10 ผสมสารละลาย NaHCO3 กับ กรด C6H10O8
หย่อนลวดแมกนีเซียม (Mg) และ
แผ่นสังกะสี (Zn) ลงในหลอดทดลอง
ที่มีสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
สังเกตการเปลี่ยนแปลง
และบันทึกผลการทดลอง
ภาพที่ 11 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลาย HCl กับ ลวด Mg และ Zn
สารละลาย NaHCO3
2.0 mol/dm3 5 cm3
กรด C6H10O8 1 g4
5 ลวด Mg แผ่น Zn
สารละลาย HCl 2.0 mol/dm3 5 cm3
หน้า :: 18
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
1. ในหลอดทดลองใดมีฟองแก๊สเกิดขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. ในหลอดทดลองใดมีตะกอนเกิดขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….
3. ในหลอดทดลองใดมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..
ที่ ปฏิกิริยา การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1. สารลายกรดไฮโดรคลอริก + สารละลาย
โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
2. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก +สารละลาย
โซเดียมไฮดรอกไซด์
3. สารละลายเลด (II) ไนเตรต + สารละลาย
โพแทสเซียมไอโอไดด์
4. กรดซิตริก + สารละลายโซเดียมไฮโดรเจน
คาร์บอเนต
5. แมกนีเซียม + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
สังกะสี + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก
บันทึกผลการทดลอง
คาถามเพื่อวิเคราะห์ผลการทดลอง
หน้า :: 19
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
หน้า :: 21
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี แล้วทาใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน เช่น การเกิดน้าค้าง ฝน เมฆ หมอก
การละลายของเกลือ หรือน้าตาลทรายในน้า การเกิดภาวะโลกร้อนที่ทาให้น้าแข็งขั้วโลกหลอมเหลว
มากกว่าปกติ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่สารหลังการเปลี่ยนแปลงมีสมบัติเหมือนกับสารก่อน
การเปลี่ยนแปลง ส่วนการติดไฟของเชื้อเพลิงต่าง ๆ การเกิดสนิมของเหล็ก การสุกของผลไม้ การ
ย่อยอาหาร การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสีเขียว การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงนี้
สารหลังเกิดการเปลี่ยนแปลงมีสมบัติต่างจากสารก่อนการเปลี่ยนแปลง
ภาพที่ 12 ผลไม้สุก ภาพที่ 13 การเกิดสนิมเหล็ก
ที่มา : https://health.kapook.com/view13336.html ที่มา : http://km.saard.ac.th/external_newsblog.php?links=709
ภาพที่ 14 การเกิดน้าค้าง ภาพที่ 15 การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสีเขียว
ที่มา : https://rainweather.blogspot.com/2015/02/blog-post_27.html ที่มา : http://science-01.wikispaces.com/การสังเคราะห์ด้วยแสง
ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ( Explain )
ใบความรู้ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 22
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
จากกิจกรรมการทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี เมื่อเทสารละลาย
กรดไฮโดรคลอริกลงในสารละลายโพแทชเซียมเปอร์แมงกาเนต พบว่า สีของสารละลาย
โพแทชเซียมเปอร์แมงกาเนตจางลงหรือหายไป เทสารละลายกรดไฮโดรคลอริกลงในสารละลาย
โซเดียมไฮดรอกไซด์ พบว่า สีของสารละลายไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
เทสารละลายเลด (II) ไนเตรตลงในสารละลายโพแทชเซียมไอโอไดด์ เกิดตะกอนสีเหลืองเข้ม
เทกรดซิตริกลงในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต เกิดฟองแก๊ส อุณหภูมิของปฏิกิริยาลดลง
นาแมกนีเซียมหย่อนลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เกิดฟองแก๊สมากและเร็ว และนาสังกะสี
หย่อนลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เกิดฟองแก๊สน้อยและช้า การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้
จากกิจกรรมทดลอง 1.1 มีเกิดตะกอนหรือฟองแก๊สเกิดขึ้น สีของสารละลายหรืออุณหภูมิเปลี่ยน
หรืออาจสังเกตเห็นหลายๆ สิ่งเหล่านี้เกิดร่วมกันหรือบางปฏิกิริยาอาจไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
จากการสังเกต ต้องใช้การตรวจสอบด้วยวิธีอื่น เช่น การสัมผัส การใช้เครื่องมือช่วย เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทาให้เกิดสารใหม่ซึ่งมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม เรียกว่า
การเกิดปฏิกิริยาเคมี ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี สารที่เข้าทาปฏิกิริยากัน เรียกสารนี้ว่า สารตั้งต้น
(reactant) ส่วนสารที่เกิดใหม่ เรียกว่า สารผลิตภัณฑ์ (product) โดยสารใหม่จะมีสมบัติแตกต่าง
ไปจากสารตั้งต้น การเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างที่เกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเกิดน้า
การเกิดน้า จะมีแก๊สไฮโดรเจน และแก๊สออกซิเจน เป็นสารตั้งต้น
เมื่อเกิดปฏิกิริยา โมเลกุลของ แก๊สไฮโดรเจน และแก๊สออกซิเจนต่างก็แตกสลายเป็นอะตอม
แล้วรวมกันใหม่เป็นโมเลกุลของน้าซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ ดังภาพที่ 16
สารตั้งต้น (H2) สารตั้งต้น (O2) สารผลิตภัณฑ์ (H2O)
แทนอะตอมของไฮโดรเจน แทนอะตอมของออกซิเจน
ภาพที่ 16 ปฏิกิริยาการเกิดน้า
ที่มา : หนังสือเรียนวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ สารและสมบัติของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 -6 น.47
หน้า :: 23
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) กับสารละลาย
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือน้าปูนใส (Ca(OH)2)
ผสมสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) กับสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือน้า
ปูนใส (Ca(OH)2) ได้สารละลายใสไม่มีสีของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และตะกอนสี
ขาวของแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)
ภาพที่ 17 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) กับสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือน้าปูนใส (Ca(OH)2)
ปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl)
ใส่แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ได้สารละลายใส
ไม่มีสีของสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) น้า (H2O) และฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ดังภาพที่ 18
ภาพที่ 18 ปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl)
สารละลาย (Na2CO3) สารละลาย Ca(OH)2
สารละลาย NaOH
ตะกอน CaCO3
CaCO3
สารละลาย HCl
CaCO3 CaCO3
สารละลาย CaCl2
แก๊ส CO2
หน้า :: 24
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
(NaOH)
ผสมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ที่มีสมบัติเป็นกรดกับสารละลายโซเดียมไฮดรอก-
ไซด์ (NaOH) ที่มีสมบัติเป็นเบส ได้สารละลายใสไม่มีสีของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ที่มี
สมบัติเป็นกลาง และน้า (H2O) การเกิดปฏิกิริยานี้ไม่สามารถสังเกตได้ จึงจะต้องใช้กระดาษลิตมัส
ทดสอบความเป็นกรด – เบส พบว่ากระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและสีน้าเงินไม่เปลี่ยนแปลง (แสดงว่าการ
ผสมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ทาปฏิกิริยา
กัน ดังภาพที่ 19
ภาพที่ 19 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)
สารละลาย NaOH
กระดาษลิตมัสสีแดง
เปลี่ยนเป็นสีน้าเงิน
สารละลาย HCl
กระดาษลิตมัสสีน้าเงิน
เปลี่ยนเป็นสีแดง
สารละลาย NaCl
และ H2O
กระดาษลิตมัสสีแดง
และสีน้าเงินไม่เปลี่ยนสี
หน้า :: 25
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ว่าข้อความใดเกิดปฏิกิริยาเคมี และข้อความใดไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี
โดยทาเครื่องกากบาท (X) หน้าข้อความที่ไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี และเครื่องหมายถูก (√ ) หน้าข้อความ
ที่เกิดปฏิกิริยาเคมี ( 15 คะแนน)
คาตอบ ข้อที่ การทดลอง
1. นาน้าตาลละลายน้าได้น้าเชื่อม
2. นาปูนขาวไปละลายน้า ได้สารละลายน้าปูนใส
3. ผสมสารละลายแบเรียนไฮดรอกไซด์กับสารละลายกรดซัลฟิวริกได้ตะกอนสีขาว
4. ผสมโซเดียมไฮดรอกไซด์กับน้าได้สารละลายใสไม่มีสี
5. ให้ความร้อนแก่โลหะทองแดงกับโลหะสังกะสี จนหลอมเข้าด้วยกันได้ทองเหลือง
6. ผสมเอทานอลกับน้า
7. บ่มมะม่วงด้วยถ่านแก๊สแคลเซียมคาร์ไบด์พบว่ามะม่วงสุกเร็วขึ้น
8. หยดกรดไฮโดรคลอริกลงในแคลเซียมคาร์บอเนตเกิดแก๊สไม่มีสี
9. นาขยะไปเผาในเตาเผา
10. นาน้าแข็งใส่แก้วแล้วเกิดหยดน้าบริเวณผิวแก้วด้านนอก
11. ทานาเกลือโดยนาน้าทะเลมาขังไว้ในนาและทิ้งไว้ 10 – 15 วันเพื่อให้น้าระเหย
ออก
12. ตั้งอาหารทั้งไว้ 2 วันแล้วเกิดกลิ่นบูด
13. ผสมแคลเซียมไฮดรอกไซด์กับผงแอมโมเนียมคลอไรด์ แล้วใช้แท่งแก้วคนให้ทั่ว
จะเกิดกลิ่นฉุน
14. โปรยผงโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตลงฝนเปลวไฟแล้วไฟดับ
15. วางตะปูเหล็กไว้ในสนามหญ้า 2 วัน ตะปูเหล็กเปลี่ยนสีเป็นสีน้าตาลแดงอิฐ
ใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 26
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรมทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี และใบงาน 1.1
การเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยการเขียนผังความคิด (Mind mapping) ลงในใบงาน 1.2 ลงข้อสรุป “ การเกิดปฏิกิริยา
เคมี” ( 5 คะแนน )
ใบงาน 1.2 ลงข้อสรุป “การเกิดปฏิกิริยาเคมี”
การเกิด
ปฏิกิริยาเคมี
ความหมาย
สังเกตได้จาก
หน้า :: 27
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 1.2 สมการเคมี และใบความรู้ 1.3 ปฏิกิริยาเคมี
ในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แล้วทาใบงาน 1.3 ขยายความรู้
ปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแสดงได้ด้วยสมการเคมี โดยเขียนสูตรเคมีของสารตั้งต้นไว้ทาง
ซ้ายมือและเขียนสูตรเคมีของผลิตภัณฑ์ไว้ด้านขวามือ มีลูกศรอยู่ตรงกลางเชื่อมระหว่างสารตั้งต้น
และผลิตภัณฑ์ หัวลูกศรชี้ไปทางผลิตภัณฑ์ และเขียนอักษรย่อเพื่อบอกสถานะหรือภาวะของแต่ละ
สารในสมการ ดังนี้
(s) แทนของแข็ง (g) แทนแก๊ส
(l) แทนของเหลว (aq) แทนสารละลายในน้า
สมการเคมีเป็นการอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีตามผลการทดลอง และต้องดุลสมการให้
จานวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิดของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์เท่ากัน โดยเติมเลขจานวนเต็มที่น้อย
ที่สุดข้างหน้าสารบางชนิดในสมการ เพื่อปรับให้จานวนอะตอมของธาตุทางซ้ายเท่ากับจานวนอะตอม
ของธาตุทางขวาของสมการ เช่น
2H2(g) + O2(g) 2H2O(l)
แก๊สไฮโดรเจน แก๊สออกซิเจน น้า
HCl(aq) + NaOH (aq) NaCl(aq) + H2O(l)
สารละลาย สารละลาย สารละลาย น้า
กรดไฮโดรคลอริก โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมคลอไรด์
CH4(g) + 2O2(g) CO2(g) + 2H2O(g)
แก๊สมีเทน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ ( Elaborate )
ใบความรู้ 1.2 สมการเคมี
หน้า :: 28
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ในชีวิตประจาวันมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งบางปฏิกิริยานามาใช้ประโยชน์ได้ แต่อาจ
ให้โทษและมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แสงของพืชสีเขียว
ภาพที่ 20 การสังเคราะห์ด้วยแสง
ที่มา : http://science-01.wikispaces.com/การสังเคราะห์ด้วยแสง
พืชเป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของโลก สามารถสร้างอาหารได้เอง ด้วยกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงโดยมีคลอโรฟิลล์และแสงช่วยให้น้าเกิดปฏิกิริยากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ได้กลูโคส และแก๊สออกซิเจน ดังสมการ
6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O
ใบความรู้ 1.3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
หน้า :: 29
หน้า :: 27
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2)
ภาพที่ 21 การย้อมสีผมที่มีไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็นส่วนประกอบ
http://www.bucciime.com/hair-review-ash-green-pink-color-tob1-hairstation/
สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) เป็นส่วนประกอบหนึ่งของสารที่ใช้ในการฟอกสีผม
นอกจากนั้นสามารถนามาใช้ฟอกสีในอาหาร ทาความสะอาด ฆ่าเชื้อโรค ทาน้ายาบ้านปาก เป็นต้น
ในภาวะปกติไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สลายได้เองอย่างช้า ๆ ให้แก๊สออกซิเจนและน้า แต่ถ้าได้รับแสง
สว่างและความร้อน จะช่วยให้การสลายตัวเกิดเร็วขึ้นได้ ปฏิกิริยาการสลายตัวของ
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ดังสมการ
2H2O2(l) 2H2O(ll) + O2(g)
หน้า :: 30
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือผงฟู (NaHCO3)
ภาพที่ 22 ขนมตาลใส่ผงฟุเป็นส่วนผสม
ที่มา : https://sites.google.com/site/phrsudathxngyxd/khnm-tal
ขนมถ้วยฟู ขนมสาลี่ ขนมไข่ ขนมตาล และขนมเค้ก เนื้อขนมมีลักษณะพรุนและฟู
เนื่องจากมีการผสมผงฟู หรือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) ลงไปเมื่อนาขนมไปนึ่งหรือ
อบ ความร้อนจะทาให้ NaHCO3 สลายตัวให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซึ่งสามารถขยายตัว
ดันและแทรกผ่านเนื้อขนม ทาให้เกิดโพรงอากาศกระจายทั่วทั้งก้อนขนม การสลายตัวของ
NaHCO3 ดังสมการ
2 NaHCO3(s) Na2CO3(s) + H2O(g) + CO2(g)
การสลายตัวของ NaHCO3 สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการดับไฟป่าได้ โดยการโปรยผง
NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการสลายตัวของ
NaHCO3 เป็นแก๊สที่หนักกว่าอากาศจึงลอยตัวในระดับต่า ปกคลุมพื้นที่ไม่ให้เชื้อเพลิงรวมตัวกับ
ออกซิเจนในอากาศ เป็นการบรรเทาหรือหยุดการไหม้ลงได้ระดับหนึ่ง
ภาพที่ 23 โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตช่วยดับไฟป่า
ที่มา : http://fanthai.com/?p=59064
หน้า :: 31
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ปฏิกิริยาการเผาไหม้เชื้อเพลิง
ภาพที่ 24 การเผาไหม้ของแก๊สหุงต้ม
ที่มา : http://www.homegasstove.com/blog/ที่มา - แก๊สหุงต้ม
แก๊สหุงต้ม น้ามันเบนซิน น้ามันดีเซล น้ามันก๊าด น้ามันเตา เป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ส่วนใหญ่ประกอบด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีธาตุคาร์บอนกับไฮโดรเจนเป็น
องค์ประกอบ เชื้อเพลิงเหล่านี้เมื่อติดไฟและเผาไหม้สมบูรณ์จะให้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และไอน้า (H2O) รวมทั้งพลังงานความร้อนที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์
ในกิจกรรมต่าง ๆ
แก๊สหุงต้ม ประกอบด้วยแก๊สโพรเพน (C3H8) และแก๊สบิวเทน (C4H10) เมื่อเกิด
การเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นดังสมการ
C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g) + พลังงาน
โพรเพน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า
2C4H10(g) + 13O2(g) 8CO2(g) + 10H2O(g) + พลังงาน
บิวเทน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า
ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก
ภาพที่ 25 โลหะเป็นสนิม
ที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/estimate/2009/11/26/entry-1
หน้า :: 32
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
เหล็กเป็นโลหะที่นามาใช้งานหลายด้าน เช่น เป็นวัสดุในการก่อสร้าง ผลิตเป็นเครื่องมือ
เครื่องใช้ เครื่องจักรในอุตสาหกรรม ชิ้นส่วนในรถยนต์ เป็นต้น เมื่ออายุการใช้งานเพิ่มขึ้น เหล็ก
มักเกิดการผุกร่อน และเป็นสนิมเนื่องจากเหล็กทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนและความชื้นในอากาศ
คาสั่ง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 15 คะแนน )
1. จากการทดลองต่อไปนี้ สมการเคมีของปฏิกิริยาเคมีเป็นอย่างไร
1.1 ผ่านแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ลงในน้าปูนใสหรือสารละลายแคลเซียมไฮดรอก -
ไซด์ (Ca(OH)2) เกิดตะกอนแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) และน้า (H2O) ( 1คะแนน )
……………………………………………………………………………………………………………………………
1.2 เมื่อเผาผงฟูหรือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) จะสลายตัวเป็นโซเดียม-
คาร์บอเนต (NaCO3) น้า (H2O) และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ( 1คะแนน )
……………………………………………………………………………………………………………………………
1.3 โลหะโซเดียม (Na) ทาปฏิกิริยากับน้า (H2O) เกิดสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
(NaOH) และแก๊สไฮโดรเจน (H2) ( 1คะแนน )
……………………………………………………………………………………………………………………………
2. ถ้าพืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร ( 2คะแนน )
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. เพราะเหตุใดจึงต้องเก็บไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในภาชนะสีน้าตาลเข้มและเก็บในที่
อุณหภูมิต่า ( 2คะแนน )
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
4. การสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ สารใดเป็นสารตั้งต้น สารใดเป็นผลิตภัณฑ์
(1คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………
5. แก๊สอะเซทิลีน (C2H2) เป็นแก๊สที่ติดไฟได้ สมการแสดงการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแก๊สนี้
เป็นอย่างไร (1คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………
ใบงาน 1.3 ขยายความรู้ ( Elaborate )
หน้า :: 33
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
6. ถ้าแก๊สหุงต้มติดไฟไม่สมบูรณ์เกิดผลิตภัณฑ์ชนิดใดบ้าง (1คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………
7. ในการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง นอกจากจะให้พลังงานสาหรับใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ
แล้ว อาจก่อให้ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง ( เขียนผังมโนทัศน์หรือวาดภาพ)
(5 คะแนน)
หน้า :: 34
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาสั่ง : ให้นักเรียนบันทึกการเรียนรู้ จากสิ่งที่ได้เรียนรู้และทากิจกรรม เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตามประเด็นที่กาหนดให้ ตอบด้วยความเป็นจริงและชัดเจนตามความเห็นของตนเอง
ขั้นที่ 5 ประเมินผล ( Evaluate )
เรียนรู้อะไรบ้าง
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
มีความรู้ความเข้าใจอย่างไรในแต่ละเรื่อง
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
……………………………………………………………
สิ่งที่ยังไม่รู้/ไม่เข้าใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกการเรียนรู้
หน้า :: 35
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
คาชี้แจง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ
5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน
กระดาษคาตอบ
1. การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นไปได้ทุกข้อ ยกเว้น ข้อใด
ก. มีตะกอนเกิดขึ้น
ข. มีฟองแก๊สเกิดขึ้น
ค. มีค่าความเป็นกรด – เบส เปลี่ยนไป
ง. มีการละลายของสารเป็นเนื้อเดียวกัน
จ. มีความร้อนหรือมีสีของสารเปลี่ยนไป
2. การเปลี่ยนแปลงข้อใด ที่แสดงให้เห็นว่า ไม่มี การเกิดปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. นาเกลือป่นละลายน้ากลั่นได้น้าเกลือ
ข. นาน้าบาดาลมาต้มเกิดตะกอนสีขาวขึ้น
ค. จอดรถจักรยานทิ้งไว้แล้ววงล้อเกิดสนิม
ง. นาน้ายาล้างห้องน้าราดพื้นแล้วเกิดฟองแก๊สขึ้น
จ. นาสารละลายกรดกับเบสผสมกันอุณหภูมิสูงขึ้นแต่สีไม่มีการเปลี่ยนแปลง
3. ข้อใดมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
ก. การต้มน้า
ข. การจุดธูป
ค. การทาน้าเชื่อม
ง. การละลายของน้าแข็ง
จ. การระเหิดของลูกเหม็น
4. ข้อใด ไม่ใช่ ข้อสังเกตในการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. สีเปลี่ยนไป
ข. อุณหภูมิลดลง
ค. สถานะเปลี่ยนไป
ง. มีฟองแก๊สเกิดขึ้น
จ. ค่าความเป็นกรด – เบสเปลี่ยนไป
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน้า :: 36
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
5. ข้อใด ไม่ เกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. เหล็กเกิดสนิม
ข. น้าตาละลายน้า
ค. การเผาไหม้ของแก๊สหุงต้ม
ง. การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร
จ. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสีเขียว
6. การเปลี่ยนแปลงใดเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. การทาสี
ข. เกลือละลายน้า
ค. การบูดของอาหาร
ง. การเกิดผลึกของน้าปลา
จ. ไม่มีข้อถูก
7. การสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สามารถนาไปใช้ประโยชน์อย่างไร
ก. การดับไฟป่า ข. การทาขนมเค้ก
ค. การเกิดฝนกรด ง. การผลิตปูนซีเมนต์
จ. ฟอกสีผมและฆ่าเชื้อโรค
8. สัญลักษณ์ในข้อใดแสดงสารที่ละลายน้าได้
ก. (aq) ข. (l)
ค. (g) ง. (s)
จ. ไม่มีข้อถูก
9. ข้อใดเขียนสมการเคมีแสดงการสลายตัวของ NaHCO3 ได้ถูกต้อง
ก. NaHCO3(aq) → Na2CO3(aq) + CO2(g)
ข. NaHCO3(aq) → Na2O(aq) + CO2(g) + H2O(l)
ค. 2NaHCO3(aq) → 2Na2CO3(aq) + 2CO2(g) + 2H2O(l)
ง. NaHCO3(aq) → Na2CO3(aq) + CO2(g) + H2O(l)
จ. ไม่มีข้อถูก
10. เมื่อผสมสารละลาย HCl กับ NaHCO3 ทาให้เกิดสารใด
ก. NaCl
ข. CO2 และ H2O
ค. NaCl และ CO2
ง. NaCl และ H2O
จ. NaCl CO2 และ H2O
หน้า :: 37
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
ชื่อ..........................................................................ชั้น....................................เลขที่.....................
ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ
1 6
2 7
3 8
4 9
5 10
รายการประเมิน คะแนนที่ได้ ผลการประเมิน
ผ่าน ไม่ผ่าน
ทดสอบก่อนเรียน ( 10 คะแนน )
กิจกรรมทดลอง 1.1 ( 20 คะแนน)
ใบงานที่ 1.1 ( 15 คะแนน )
ใบงานที่ 1.2 ( 5 คะแนน )
ใบงานที่ 1.3 ( 15 คะแนน )
ทดสอบหลังเรียน ( 10 คะแนน)
กระดาษคาตอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
บันทึกคะแนน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เพื่อน ๆ เก่งมากเลยจร้า
ทาทุกกิจกรรมผ่านเกณฑ์
ทุกกิจกรรม
หน้า :: 38
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 

Similar to การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1

เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...Ketsarin Prommajun
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
03 บทคัดย่อ
03 บทคัดย่อ03 บทคัดย่อ
03 บทคัดย่อkondontree
 
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...Kruthai Kidsdee
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยMayko Chan
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
เกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfเกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfssuser1c4d65
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9tum17082519
 
กลุ่มภาคใต้ เขต 1 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (26)
กลุ่มภาคใต้ เขต 1 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (26)กลุ่มภาคใต้ เขต 1 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (26)
กลุ่มภาคใต้ เขต 1 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (26)ประพันธ์ เวารัมย์
 
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...Ko Kung
 
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...Ko Kung
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3Kruthai Kidsdee
 

Similar to การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1 (20)

ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7 ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
03 บทคัดย่อ
03 บทคัดย่อ03 บทคัดย่อ
03 บทคัดย่อ
 
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัย
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
เกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfเกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdf
 
P56363401135 (3)
P56363401135 (3)P56363401135 (3)
P56363401135 (3)
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
กลุ่มภาคใต้ เขต 1 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (26)
กลุ่มภาคใต้ เขต 1 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (26)กลุ่มภาคใต้ เขต 1 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (26)
กลุ่มภาคใต้ เขต 1 ตำแหน่งครูผู้ช่วย และครูผู้ดูแลเด็ก (26)
 
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
 
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประ...
 
เผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงานเผยแพร่ผลงาน
เผยแพร่ผลงาน
 
3บทคัดย่อ
3บทคัดย่อ3บทคัดย่อ
3บทคัดย่อ
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3
 

การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม1

  • 1. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5
  • 2. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี โดย นางสาวธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนซาสูงพิทยาคม สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
  • 3. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นนวัตกรรม ทางการศึกษาที่จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามความสามารถและความสนใจ มีอิสระในการคิด ทุกคนมีโอกาสใช้ความคิดอย่างเต็มที่ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งชุดกิจกรรมนี้ จะช่วยให้ใช้เวลาน้อยลงในการนาเสนอข้อมูลต่างๆ สามารถประกอบกิจกรรมการ เรียนด้วยตนเองมากกว่าที่จะให้ครูบอกหรือกาหนดให้ โดยครูเป็นผู้สร้างโอกาสทางการเรียนการสอน มีกิจกรรมให้กับนักเรียนเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ซึ่งผู้เรียนจะดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ จากคาแนะนาที่ปรากฏอยู่ในชุดกิจกรรมเป็นไปตามลาดับขั้นด้วยตนเอง สอดคล้องกับธรรมชาติ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และตอบสนองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวน การสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจาวันตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรมและค่านิยมที่ถูกต้องเหมาะสม ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es วิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งหมดจานวน 7 เล่ม เล่มนี้เป็น เล่มที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ใช้เวลา 2 ชั่วโมง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นส่วนสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ขอขอบพระคุณ นายมงคล อติอนุวรรตน์ ผู้อานวยการโรงเรียนซาสูงพิทยาคม คณะผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ตรวจสอบให้ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุงเพื่อการแก้ไขชุดกิจกรรมกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ให้มีความ สมบูรณ์อันส่งผลให้ชุดกิจกรรมนี้มีประสิทธิภาพ และสาเร็จลุล่วงได้ด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้ ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง คานา
  • 4. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 หน้า คานา……………………………………………………………………………………………………………….… ก สารบัญ............................................................................................................................. ข คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้.............................................................................. 1 คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้............................................................................ 2 บทบาทของนักเรียน......................................................................................................... 3 ลาดับขั้นตอนการศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............................ 4 ส่วนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es............ 5 ผังมโนทัศน์การเรียนรู้...................................................................................................... 6 สาระสาคัญ / สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้.................................................... 7 ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้............................................................................. 8 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี........................................................ 9 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี............................... 11 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engage) - กิจกรรม 1.1 จาแนกการเปลี่ยนแปลงของสาร........................................ 11 ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Explore) - กิจกรรมทดลองที่ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี............................................ 15 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain) - ใบความรู้ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี......................................................... - ใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี............................................................. - ใบงาน 1.2 ลงข้อสรุป “การเกิดปฏิกิริยาเคมี”...................................... 20 24 25 ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaborate) - ใบความรู้ 1.2 สมการเคมี ......................................................................... - ใบความรู้ 1.3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม.......................................................................................... - ใบงาน 1.3 ขยายความรู้ (Elaborate)....................................................... 26 27 31 สารบัญ
  • 5. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 หน้า ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน - บันทึกการเรียนรู้.................................................................................. ..... 34 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี..................................................................... 35 กระดาษคาตอบหลังเรียน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี................................................................ 37 บันทึกคะแนน เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี.................................................................................. 37 บรรณานุกรม................................................................................................................... 38 สารบัญ ค
  • 6. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 1. ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี 2. ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้วย  คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับนักเรียน  บทบาทนักเรียน  แผนผังขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  กระบวนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้  สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ / สาระสาคัญ  แบบทดสอบก่อนเรียน ( Pre – test )  กระดาษคาตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน  กิจกรรมการเรียนรู้  แบบทดสอบหลังเรียน ( Post – test )  กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน  แบบบันทึกคะแนนการเรียนรู้  บรรณานุกรม 3. ผู้ใช้ควรศึกษาคาแนะนาก่อนใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน้า :: 1
  • 7. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 การเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es รายวิชาเคมี 3 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี นักเรียนจะต้อง ปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาบทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es 2. การเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 3. อ่านคาชี้แจง คาแนะนา และขั้นตอนการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ให้เข้าใจก่อนทากิจกรรม 4. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และสาระสาคัญ 5. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อประเมินความรู้ พื้นฐานของนักเรียน 6. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engage) ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (Explore) ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explain) ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (Elaborate) และขั้นที่ 5 ประเมินผล (Evaluate) เมื่อปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ตรวจคาตอบจากเฉลย แล้วบันทึก คะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนของนักเรียน นักเรียนจะต้องได้คะแนนทุกกิจกรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ให้กลับไปอ่านทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาอีกครั้งแล้ว ตอบใหม่ 7. เมื่อศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมครบทุกกิจกรรมแล้วและได้คะแนนแต่ละกิจกรรมผ่าน เกณฑ์ที่กาหนด ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที เพื่อเปรียบเทียบ ความก้าวหน้าของนักเรียน 8. ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน พร้อมทั้งบันทึกคะแนนที่ได้ เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียน ซึ่งนักเรียนต้องทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80 จึงจะผ่านเกณฑ์ ถ้านักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดให้ทบทวนเนื้อหาแล้วให้ทา แบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง หากผ่านเกณฑ์ให้ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่ม 2 ต่อไป ข้อควรปฏิบัติ นักเรียนควรศึกษาด้วยความตั้งใจ เอาใจใส่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ไม่ควรดูเฉลยก่อน จะทากิจกรรม ซึ่งจะทาให้นักเรียนเข้าใจ และได้รับประโยชน์จากการศึกษาชุดกิจกรรมเล่มนี้มาก ที่สุด คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน้า :: 2
  • 8. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5  กรณีไม่มีการแบ่งกลุ่ม o นักเรียนทุกคนปฏิบัติกิจกรรม ด้วยความตั้งใจ และไม่ชวนเพื่อนคุยหรือเล่นกัน o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรมให้เสร็จทันเวลาที่กาหนด o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรมด้วยตนเองอย่างเต็มความสามารถ ไม่ลอกเลียนแบบ คนอื่น o ตั้งใจตอบคาถามและยกมือซักถามเมื่อพบปัญหาหรือข้อสงสัย o เก็บวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน จัดโต๊ะ เก้าอี้ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยและทาความ สะอาดก่อนออกจากห้องเรียน  กรณีมีการแบ่งกลุ่ม 1. บทบาทของผู้นากลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้ o ควบคุมการดาเนินกิจกรรมภายในกลุ่มให้เป็นระเบียบเรียบร้อย o เป็นผู้ติดต่อกับครู เมื่อพบปัญหาหรือข้อสงสัย o เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จ ให้รายงานหรือแจ้งผลการปฏิบัติกิจกรรมให้ครูทราบ o หลักจากสมาชิกปฏิบัติกิจกรรมภายในกลุ่มเสร็จแล้ว ให้เก็บวัสดุหรืออุปกรณ์ส่งครูตาม เวลาที่กาหนด 2. บทบาทของสมาชิกภายในกลุ่ม มีหน้าที่ ดังนี้ o ตอบคาถามด้วยความตั้งใจให้ทันเวลา โดยไม่ชวนเพื่อนคุยหรือเล่นกัน o ควรปรึกษากันด้วยเสียงเบาๆ ไม่ควรปรึกษากันเสียงดังเกินไป จนรบกวนกลุ่มอื่น o ปฏิบัติตามขั้นตอนในการทากิจกรรม ตั้งใจตอบคาถามอย่างเต็มความสามารถ o เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องช่วยกันเก็บวัสดุ อุปกรณ์ สื่อการเรียนต่าง ๆ จัดโต๊ะ และเก้าอี้ให้อยู่ในสภาพ เรียบร้อย และทาความสะอาดก่อนออกจากห้องเรียน บทบาทของนักเรียน หน้า :: 3
  • 9. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 1. ศึกษาคาชี้แจง คาแนะนาการใช้ชุด กิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es 6. ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ 10 นาที ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่ม 2 ต่อไป ผ่านเกณฑ์ไม่ผ่านเกณฑ์ ลาดับขั้นตอนการศึกษา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es 2. ศึกษามาตรฐาน / สาระสาคัญ /ผลการ เรียนรู้ /จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10 ข้อ 10 นาที 4. ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอน ประกอบด้วย  ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ  ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา  ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป  ขั้นที่ 4 ขยายความรู้  ขั้นที่ 5 ประเมินผล 5. ตรวจสอบคาตอบของใบงานและ กิจกรรมแต่ละขั้น เพื่อตรวจสอบความ เข้าใจ โดยจะต้องผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์จะต้องกลับไปศึกษา เนื้อหาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ อีกครั้งจนกว่า ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด 7. ตรวจคาตอบ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 หน้า :: 4
  • 10. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5  แบบทดสอบก่อนเรียน  ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ( Engage )  กิจกรรมจาแนกการเปลี่ยนแปลงของสาร  ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา ( Explore )  การทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี  ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ( Explain )  ใบความรู้ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี  ใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี  ใบงานที่ 1.2 อธิบายและลงข้อสรุป  ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ ( Elaborate )  ใบความรู้ 1.2 สมการเคมี  ใบความรู้ 1.3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม  ใบความรู้ 1.3 ขยายความรู้  ขั้นที่ 5 ประเมิน ( Evaluate )  บันทึกการเรียนรู้  แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es หน้า :: 5
  • 11. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 การ เกิดปฏิกิริยา เคมี การเปลี่ยนแปลง ทางเคมีที่ทาให้เกิด สารใหม่ซึ่งมีสมบัติ แตกต่างไปจาก สารเดิม เกิดฟองแก๊ส สีเปลี่ยน เกิดตะกอน ค่าความเป็น กรด - เบส เปลี่ยนไป อุณหภูมิ เปลี่ยนแปลง ผังมโนทัศน์การเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Inquiry Cycle 5Es เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี หน้า :: 6
  • 12. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 การเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นกับสาร แล้วส่งผลให้ได้สารใหม่ที่มีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม ซึ่งเกิดจากสารตั้งต้น (reactant) ทาปฏิกิริยากัน แล้วเกิดเป็นสารใหม่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ (product) ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่าง จากสารตั้งต้น สังเกตได้จาก เกิดฟองแก๊ส สีเปลี่ยน เกิดตะกอน ค่าความเป็นกรด – เบสเปลี่ยน หรืออุณหภูมิเปลี่ยน หรือเกิดขึ้นหลายอย่างพร้อมกัน  การเกิดปฏิกิริยาเคมี  สมการเคมี  ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ หน้า :: 7
  • 13. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ทดลอง อธิบาย และเขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจาวัน รวมทั้งอธิบายผลของสารเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 1. ด้านความรู้ (Knowledge : K ) 1.1 นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีเคมีของสารได้ 1.2 นักเรียนสามารถบอกวิธีการสังเกตการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารบางชนิดได้ 1.3 นักเรียนสามารถบอกปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ (Process : P ) นักเรียนสามารถทาการทดลอง รวบรวมข้อมูล แปลความหมายข้อมูล สรุปผล และอภิปรายผลการทดลอง เพื่อศึกษาการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ 3. ด้านคุณลักษณะ (Attitude : A ) นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความรับผิดชอบ มีความตั้งใจในการทางานมีการแสดงความ คิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ หน้า :: 8
  • 14. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาชี้แจง : แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที คาสั่ง : จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. การเปลี่ยนแปลงข้อใด ที่แสดงให้เห็นว่า ไม่มี เกิดปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น ก. นาเกลือป่นละลายน้ากลั่นได้น้าเกลือ ข. นาน้าบาดาลมาต้มเกิดตะกอนสีขาวขึ้น ค. จอดรถจักรยานทิ้งไว้แล้ววงล้อเกิดสนิม ง. นาน้ายาล้างห้องน้าราดพื้นแล้วเกิดฟองแก๊สขึ้น จ. นาสารละลายกรดกับเบสผสมกันมีอุณหภูมิสูงขึ้นแต่สีไม่มีการเปลี่ยนแปลง 2. ข้อใดไม่ใช่ข้อสังเกตในการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. สีเปลี่ยนไป ข. อุณหภูมิลดลง ค. สถานะเปลี่ยน ง. มีฟองแก๊สเกิดขึ้น จ. ค่าความเป็นกรด – เบสเปลี่ยนไป 3. ข้อใดมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น ก. การต้มน้า ข. การจุดธูป ค. การทาน้าเชื่อม ง. การละลายของน้าแข็ง จ. การระเหิดของลูกเหม็น 4. การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นไปได้ทุกข้อยกเว้นข้อใด ก. มีตะกอนเกิดขึ้น ข. มีฟองแก๊สเกิดขึ้น ค. มีค่าความเป็นกรด – เบส เปลี่ยนไป ง. มีการละลายของสารเป็นเนื้อเดียวกัน จ. มีความร้อนหรือมีสีของสารเปลี่ยนไป แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี หน้า :: 9
  • 15. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 5. การเปลี่ยนแปลงข้อใดเป็นผลมาปฏิกิริยาเคมี ก. การทาสี ข. เกลือละลายน้า ค. การบูดของอาหาร ง. การเกิดผลึกของน้าปลา จ. ไม่มีข้อถูก 6. การสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สามารถนาไปใช้ประโยชน์กับสิ่งใด ก. การดับไฟป่า ข. การทาขนมเค้ก ค. การเกิดฝนกรด ง. การผลิตปูนซีเมนต์ จ. ฟอกสีผมและฆ่าเชื้อโรค 7. สัญลักษณ์ในข้อใดแสดงสารที่ละลายน้าได้ ก. (aq) ข. (l) ค. (g) ง. (s) จ. ไม่มีข้อถูก 8. ข้อใดไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี ก. เหล็กเกิดสนิม ข. น้าตาลละลายน้า ค. การเผาไหม้ของแก๊สหุงต้ม ง. การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร จ. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสีเขียว 9. เมื่อผสมสารละลาย HCl กับ NaHCO3 ทาให้เกิดสารใด ก. NaCl ข. CO2 และ H2O ค. NaCl และ CO2 ง. NaCl และ H2O จ. NaCl CO2 และ H2O 10. ข้อใดเขียนสมการเคมีแสดงการสลายตัวของ NaHCO3 ได้ถูกต้อง ก. NaHCO3(aq) → Na2CO3(aq) + CO2(g) ข. NaHCO3(aq) → Na2O(aq) + CO2(g) + H2O(l) ค. 2NaHCO3(aq) → 2Na2CO3(aq) + 2CO2(g) + 2H2O(l) ง. NaHCO3(aq) → Na2CO3(aq) + CO2(g) + H2O(l) จ. ไม่มีข้อถูก หน้า :: 10
  • 16. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ชื่อ..........................................................................ชั้น....................................เลขที่..................... ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ 1 6 2 7 3 8 4 9 5 10 คาสั่ง : จงเติมข้อความ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี หรือ ทางกายภาพ ให้สอดคล้องกับภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 1 การระเบิดของดอกไม้ไฟ ที่มา : https://touchzy-sci.blogspot.com/2016/12/blog-post_20.html ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ ( Engage ) ภาพที่ 1 การเปลี่ยนแปลง..................................... กิจกรรม 1.1 จาแนกการเปลี่ยนแปลงของสาร กระดาษคาตอบก่อนเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี หน้า :: 11
  • 17. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ภาพที่ 2 น้าแข็งขั้วโลกละลาย ที่มา : http://www.unigang.com/Article/6003 ภาพที่ 3 ผลไม้สุก ที่มา : http://fic.nfi.or.th/technologyandinnovation-detail.php?smid=1333 ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลง..................................... ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลง..................................... หน้า :: 12
  • 18. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ภาพที่ 4 สนิมเหล็ก ที่มา : https://pixabay.com/th/วิธีการ-ห่วงโซ่-ออกไซด์-ออกซิไดซ์-1481562/ ภาพที่ 5 การระเหิดของลูกเหม็น ที่มา : http://www. siamchemi.com/ลูกเหม็น/ ภาพที่ 4 การเปลี่ยนแปลง..................................... ภาพที่ 5 การเปลี่ยนแปลง..................................... หน้า :: 13
  • 19. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ภาพที่ 6 ขนมปังขึ้นรา ที่มา : http://terrabkk.com/news/30-สิ่งประดิษฐ์มหัศจรรย์/ จากกิจกรรม 1.1 จาแนกการเปลี่ยนแปลงของสาร นักเรียนรู้อะไรบ้างจาก กิจกรรมนี้ …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ภาพที่ 6 การเปลี่ยนแปลง..................................... หน้า :: 14
  • 20. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษากิจกรรมทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี  จุดประสงค์ของกิจกรรม ทาการทดลองเพื่อศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาบางชนิด รวมทั้งเกณฑ์ ทั่วไปที่ใช้ตัดสินว่ามีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้  เวลาที่ใช้ในการทดลอง 35 นาที  คะแนน 20 คะแนน  ข้อควรระวังระหว่างทาการทดลอง ควรระวังไม่ให้สารเคมีบางประเภท โดยเฉพาะกรดและเบสเข้าตาหรือถูกมือและ เสื้อผ้า ถ้าบังเอิญถูกให้ล้างด้วยน้าสะอาดมาก ๆ ไม่ควรทิ้งสารเคมีทุกชนิดลงในสิ่งแวดล้อม โดยตรง เช่น ท่อน้า ดิน และแม่น้าลาคลอง ถ้าจาเป็นต้องทิ้งควรทาให้เจือจางมาก ๆ ก่อน ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา ( Explore ) กิจกรรมทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี หน้า :: 15
  • 21. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5  สารเคมีและอุปกรณ์ ที่ รายการ ต่อกลุ่ม สารเคมี 1. แผ่นแมกนีเซียม (Mg) ขนาด 0.3 x 2.0 cm2 1 แผ่น 2. แผ่นสังกะสี (Zn) ขนาด 0.3 x 2.0 cm2 1 แผ่น 3. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 2.0 mol/dm3 15 cm3 4. สารละลายโพแทชเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) เจือจาง 5 cm3 5. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 2.0 mol/dm3 5 cm3 6. สารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) 0.1 mol/dm3 5 cm3 7. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) 0.1 mol/dm3 5 cm3 8. กรดซิตริก 1 g 9. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) 2.0 mol/dm3 5 cm3 อุปกรณ์ 1. หลอดทดลองขนาดกลาง 6 หลอด 2. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 6 ใบ  วิธีการทดลอง ผสมสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ตั้งทิ้งไว้สักครู่ สังเกตการเปลี่ยนแปลง และบันทึกผล ภาพที่ 7 ผสมสารละลาย KMnO4 กับ HCl สารละลาย KMnO4 สารละลาย HCl 1 หน้า :: 16
  • 22. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ผสมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เขย่าแล้วใช้มือจับหลอดทดลอง ตรงบริเวณที่มีสารละลาย สังเกตการ เปลี่ยนแปลงและบันทึกผล ภาพที่ 8 ผสมสารละลาย NaOH กับ HCl ผสมสารละลายโพแทสเซียม ไอโอไดด์ (KI) กับสารละลาย เลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2)สังเกตการณ์ เปลี่ยนแปลงและ บันทึกผล ภาพที่ 9 ผสมสารละลาย KI กับ Pb(NO3)2 สารละลาย NaOH 1 mol/dm3 5 cm3 สารละลาย HCl 1 mol/dm3 5 cm3 2 สารละลาย KI 0.1 mol/dm3 5 cm3 สารละลาย Pb(NO3)2 0.1 mol/dm3 5 cm3 3 หน้า :: 17
  • 23. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ผสมกรดซิตริก (C6H10O8) กับสารละลาย โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอนเนต (NaHCO3) เขย่าให้เข้ากัน ใช้มือจับหลอดทดลองบริเวณ ที่มีสารละลาย สังเกตการเปลี่ยนแปลง และบันทึกผล ภาพที่ 10 ผสมสารละลาย NaHCO3 กับ กรด C6H10O8 หย่อนลวดแมกนีเซียม (Mg) และ แผ่นสังกะสี (Zn) ลงในหลอดทดลอง ที่มีสารละลายกรดไฮโดรคลอริก สังเกตการเปลี่ยนแปลง และบันทึกผลการทดลอง ภาพที่ 11 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลาย HCl กับ ลวด Mg และ Zn สารละลาย NaHCO3 2.0 mol/dm3 5 cm3 กรด C6H10O8 1 g4 5 ลวด Mg แผ่น Zn สารละลาย HCl 2.0 mol/dm3 5 cm3 หน้า :: 18
  • 24. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 1. ในหลอดทดลองใดมีฟองแก๊สเกิดขึ้น ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. ในหลอดทดลองใดมีตะกอนเกิดขึ้น ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. ในหลอดทดลองใดมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….. ที่ ปฏิกิริยา การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. สารลายกรดไฮโดรคลอริก + สารละลาย โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต 2. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก +สารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ 3. สารละลายเลด (II) ไนเตรต + สารละลาย โพแทสเซียมไอโอไดด์ 4. กรดซิตริก + สารละลายโซเดียมไฮโดรเจน คาร์บอเนต 5. แมกนีเซียม + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก สังกะสี + สารละลายกรดไฮโดรคลอริก บันทึกผลการทดลอง คาถามเพื่อวิเคราะห์ผลการทดลอง หน้า :: 19
  • 25. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปและอภิปรายผลการทดลอง หน้า :: 21
  • 26. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี แล้วทาใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน เช่น การเกิดน้าค้าง ฝน เมฆ หมอก การละลายของเกลือ หรือน้าตาลทรายในน้า การเกิดภาวะโลกร้อนที่ทาให้น้าแข็งขั้วโลกหลอมเหลว มากกว่าปกติ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่สารหลังการเปลี่ยนแปลงมีสมบัติเหมือนกับสารก่อน การเปลี่ยนแปลง ส่วนการติดไฟของเชื้อเพลิงต่าง ๆ การเกิดสนิมของเหล็ก การสุกของผลไม้ การ ย่อยอาหาร การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสีเขียว การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงนี้ สารหลังเกิดการเปลี่ยนแปลงมีสมบัติต่างจากสารก่อนการเปลี่ยนแปลง ภาพที่ 12 ผลไม้สุก ภาพที่ 13 การเกิดสนิมเหล็ก ที่มา : https://health.kapook.com/view13336.html ที่มา : http://km.saard.ac.th/external_newsblog.php?links=709 ภาพที่ 14 การเกิดน้าค้าง ภาพที่ 15 การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสีเขียว ที่มา : https://rainweather.blogspot.com/2015/02/blog-post_27.html ที่มา : http://science-01.wikispaces.com/การสังเคราะห์ด้วยแสง ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป ( Explain ) ใบความรู้ 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี หน้า :: 22
  • 27. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 จากกิจกรรมการทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี เมื่อเทสารละลาย กรดไฮโดรคลอริกลงในสารละลายโพแทชเซียมเปอร์แมงกาเนต พบว่า สีของสารละลาย โพแทชเซียมเปอร์แมงกาเนตจางลงหรือหายไป เทสารละลายกรดไฮโดรคลอริกลงในสารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ พบว่า สีของสารละลายไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เทสารละลายเลด (II) ไนเตรตลงในสารละลายโพแทชเซียมไอโอไดด์ เกิดตะกอนสีเหลืองเข้ม เทกรดซิตริกลงในสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต เกิดฟองแก๊ส อุณหภูมิของปฏิกิริยาลดลง นาแมกนีเซียมหย่อนลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เกิดฟองแก๊สมากและเร็ว และนาสังกะสี หย่อนลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เกิดฟองแก๊สน้อยและช้า การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้ จากกิจกรรมทดลอง 1.1 มีเกิดตะกอนหรือฟองแก๊สเกิดขึ้น สีของสารละลายหรืออุณหภูมิเปลี่ยน หรืออาจสังเกตเห็นหลายๆ สิ่งเหล่านี้เกิดร่วมกันหรือบางปฏิกิริยาอาจไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง จากการสังเกต ต้องใช้การตรวจสอบด้วยวิธีอื่น เช่น การสัมผัส การใช้เครื่องมือช่วย เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทาให้เกิดสารใหม่ซึ่งมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม เรียกว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมี ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี สารที่เข้าทาปฏิกิริยากัน เรียกสารนี้ว่า สารตั้งต้น (reactant) ส่วนสารที่เกิดใหม่ เรียกว่า สารผลิตภัณฑ์ (product) โดยสารใหม่จะมีสมบัติแตกต่าง ไปจากสารตั้งต้น การเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างที่เกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดน้า การเกิดน้า จะมีแก๊สไฮโดรเจน และแก๊สออกซิเจน เป็นสารตั้งต้น เมื่อเกิดปฏิกิริยา โมเลกุลของ แก๊สไฮโดรเจน และแก๊สออกซิเจนต่างก็แตกสลายเป็นอะตอม แล้วรวมกันใหม่เป็นโมเลกุลของน้าซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ ดังภาพที่ 16 สารตั้งต้น (H2) สารตั้งต้น (O2) สารผลิตภัณฑ์ (H2O) แทนอะตอมของไฮโดรเจน แทนอะตอมของออกซิเจน ภาพที่ 16 ปฏิกิริยาการเกิดน้า ที่มา : หนังสือเรียนวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ สารและสมบัติของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 -6 น.47 หน้า :: 23
  • 28. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) กับสารละลาย แคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือน้าปูนใส (Ca(OH)2) ผสมสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) กับสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือน้า ปูนใส (Ca(OH)2) ได้สารละลายใสไม่มีสีของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และตะกอนสี ขาวของแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ภาพที่ 17 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) กับสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือน้าปูนใส (Ca(OH)2) ปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ใส่แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ได้สารละลายใส ไม่มีสีของสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) น้า (H2O) และฟองแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ดังภาพที่ 18 ภาพที่ 18 ปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) สารละลาย (Na2CO3) สารละลาย Ca(OH)2 สารละลาย NaOH ตะกอน CaCO3 CaCO3 สารละลาย HCl CaCO3 CaCO3 สารละลาย CaCl2 แก๊ส CO2 หน้า :: 24
  • 29. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ผสมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ที่มีสมบัติเป็นกรดกับสารละลายโซเดียมไฮดรอก- ไซด์ (NaOH) ที่มีสมบัติเป็นเบส ได้สารละลายใสไม่มีสีของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ที่มี สมบัติเป็นกลาง และน้า (H2O) การเกิดปฏิกิริยานี้ไม่สามารถสังเกตได้ จึงจะต้องใช้กระดาษลิตมัส ทดสอบความเป็นกรด – เบส พบว่ากระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและสีน้าเงินไม่เปลี่ยนแปลง (แสดงว่าการ ผสมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ทาปฏิกิริยา กัน ดังภาพที่ 19 ภาพที่ 19 ปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) สารละลาย NaOH กระดาษลิตมัสสีแดง เปลี่ยนเป็นสีน้าเงิน สารละลาย HCl กระดาษลิตมัสสีน้าเงิน เปลี่ยนเป็นสีแดง สารละลาย NaCl และ H2O กระดาษลิตมัสสีแดง และสีน้าเงินไม่เปลี่ยนสี หน้า :: 25
  • 30. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ว่าข้อความใดเกิดปฏิกิริยาเคมี และข้อความใดไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี โดยทาเครื่องกากบาท (X) หน้าข้อความที่ไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี และเครื่องหมายถูก (√ ) หน้าข้อความ ที่เกิดปฏิกิริยาเคมี ( 15 คะแนน) คาตอบ ข้อที่ การทดลอง 1. นาน้าตาลละลายน้าได้น้าเชื่อม 2. นาปูนขาวไปละลายน้า ได้สารละลายน้าปูนใส 3. ผสมสารละลายแบเรียนไฮดรอกไซด์กับสารละลายกรดซัลฟิวริกได้ตะกอนสีขาว 4. ผสมโซเดียมไฮดรอกไซด์กับน้าได้สารละลายใสไม่มีสี 5. ให้ความร้อนแก่โลหะทองแดงกับโลหะสังกะสี จนหลอมเข้าด้วยกันได้ทองเหลือง 6. ผสมเอทานอลกับน้า 7. บ่มมะม่วงด้วยถ่านแก๊สแคลเซียมคาร์ไบด์พบว่ามะม่วงสุกเร็วขึ้น 8. หยดกรดไฮโดรคลอริกลงในแคลเซียมคาร์บอเนตเกิดแก๊สไม่มีสี 9. นาขยะไปเผาในเตาเผา 10. นาน้าแข็งใส่แก้วแล้วเกิดหยดน้าบริเวณผิวแก้วด้านนอก 11. ทานาเกลือโดยนาน้าทะเลมาขังไว้ในนาและทิ้งไว้ 10 – 15 วันเพื่อให้น้าระเหย ออก 12. ตั้งอาหารทั้งไว้ 2 วันแล้วเกิดกลิ่นบูด 13. ผสมแคลเซียมไฮดรอกไซด์กับผงแอมโมเนียมคลอไรด์ แล้วใช้แท่งแก้วคนให้ทั่ว จะเกิดกลิ่นฉุน 14. โปรยผงโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตลงฝนเปลวไฟแล้วไฟดับ 15. วางตะปูเหล็กไว้ในสนามหญ้า 2 วัน ตะปูเหล็กเปลี่ยนสีเป็นสีน้าตาลแดงอิฐ ใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี หน้า :: 26
  • 31. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรมทดลอง 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี และใบงาน 1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยการเขียนผังความคิด (Mind mapping) ลงในใบงาน 1.2 ลงข้อสรุป “ การเกิดปฏิกิริยา เคมี” ( 5 คะแนน ) ใบงาน 1.2 ลงข้อสรุป “การเกิดปฏิกิริยาเคมี” การเกิด ปฏิกิริยาเคมี ความหมาย สังเกตได้จาก หน้า :: 27
  • 32. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ 1.2 สมการเคมี และใบความรู้ 1.3 ปฏิกิริยาเคมี ในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม แล้วทาใบงาน 1.3 ขยายความรู้ ปฏิกิริยาเคมีสามารถเขียนแสดงได้ด้วยสมการเคมี โดยเขียนสูตรเคมีของสารตั้งต้นไว้ทาง ซ้ายมือและเขียนสูตรเคมีของผลิตภัณฑ์ไว้ด้านขวามือ มีลูกศรอยู่ตรงกลางเชื่อมระหว่างสารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ หัวลูกศรชี้ไปทางผลิตภัณฑ์ และเขียนอักษรย่อเพื่อบอกสถานะหรือภาวะของแต่ละ สารในสมการ ดังนี้ (s) แทนของแข็ง (g) แทนแก๊ส (l) แทนของเหลว (aq) แทนสารละลายในน้า สมการเคมีเป็นการอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีตามผลการทดลอง และต้องดุลสมการให้ จานวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิดของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์เท่ากัน โดยเติมเลขจานวนเต็มที่น้อย ที่สุดข้างหน้าสารบางชนิดในสมการ เพื่อปรับให้จานวนอะตอมของธาตุทางซ้ายเท่ากับจานวนอะตอม ของธาตุทางขวาของสมการ เช่น 2H2(g) + O2(g) 2H2O(l) แก๊สไฮโดรเจน แก๊สออกซิเจน น้า HCl(aq) + NaOH (aq) NaCl(aq) + H2O(l) สารละลาย สารละลาย สารละลาย น้า กรดไฮโดรคลอริก โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมคลอไรด์ CH4(g) + 2O2(g) CO2(g) + 2H2O(g) แก๊สมีเทน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ ( Elaborate ) ใบความรู้ 1.2 สมการเคมี หน้า :: 28
  • 33. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ในชีวิตประจาวันมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งบางปฏิกิริยานามาใช้ประโยชน์ได้ แต่อาจ ให้โทษและมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แสงของพืชสีเขียว ภาพที่ 20 การสังเคราะห์ด้วยแสง ที่มา : http://science-01.wikispaces.com/การสังเคราะห์ด้วยแสง พืชเป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของโลก สามารถสร้างอาหารได้เอง ด้วยกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงโดยมีคลอโรฟิลล์และแสงช่วยให้น้าเกิดปฏิกิริยากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้กลูโคส และแก๊สออกซิเจน ดังสมการ 6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง → C6H12O6 + 6O2 + 6H2O ใบความรู้ 1.3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันและผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม หน้า :: 29 หน้า :: 27
  • 34. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ภาพที่ 21 การย้อมสีผมที่มีไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็นส่วนประกอบ http://www.bucciime.com/hair-review-ash-green-pink-color-tob1-hairstation/ สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) เป็นส่วนประกอบหนึ่งของสารที่ใช้ในการฟอกสีผม นอกจากนั้นสามารถนามาใช้ฟอกสีในอาหาร ทาความสะอาด ฆ่าเชื้อโรค ทาน้ายาบ้านปาก เป็นต้น ในภาวะปกติไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สลายได้เองอย่างช้า ๆ ให้แก๊สออกซิเจนและน้า แต่ถ้าได้รับแสง สว่างและความร้อน จะช่วยให้การสลายตัวเกิดเร็วขึ้นได้ ปฏิกิริยาการสลายตัวของ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ดังสมการ 2H2O2(l) 2H2O(ll) + O2(g) หน้า :: 30
  • 35. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือผงฟู (NaHCO3) ภาพที่ 22 ขนมตาลใส่ผงฟุเป็นส่วนผสม ที่มา : https://sites.google.com/site/phrsudathxngyxd/khnm-tal ขนมถ้วยฟู ขนมสาลี่ ขนมไข่ ขนมตาล และขนมเค้ก เนื้อขนมมีลักษณะพรุนและฟู เนื่องจากมีการผสมผงฟู หรือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) ลงไปเมื่อนาขนมไปนึ่งหรือ อบ ความร้อนจะทาให้ NaHCO3 สลายตัวให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซึ่งสามารถขยายตัว ดันและแทรกผ่านเนื้อขนม ทาให้เกิดโพรงอากาศกระจายทั่วทั้งก้อนขนม การสลายตัวของ NaHCO3 ดังสมการ 2 NaHCO3(s) Na2CO3(s) + H2O(g) + CO2(g) การสลายตัวของ NaHCO3 สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการดับไฟป่าได้ โดยการโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการสลายตัวของ NaHCO3 เป็นแก๊สที่หนักกว่าอากาศจึงลอยตัวในระดับต่า ปกคลุมพื้นที่ไม่ให้เชื้อเพลิงรวมตัวกับ ออกซิเจนในอากาศ เป็นการบรรเทาหรือหยุดการไหม้ลงได้ระดับหนึ่ง ภาพที่ 23 โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตช่วยดับไฟป่า ที่มา : http://fanthai.com/?p=59064 หน้า :: 31
  • 36. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ปฏิกิริยาการเผาไหม้เชื้อเพลิง ภาพที่ 24 การเผาไหม้ของแก๊สหุงต้ม ที่มา : http://www.homegasstove.com/blog/ที่มา - แก๊สหุงต้ม แก๊สหุงต้ม น้ามันเบนซิน น้ามันดีเซล น้ามันก๊าด น้ามันเตา เป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ใน ชีวิตประจาวัน ส่วนใหญ่ประกอบด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีธาตุคาร์บอนกับไฮโดรเจนเป็น องค์ประกอบ เชื้อเพลิงเหล่านี้เมื่อติดไฟและเผาไหม้สมบูรณ์จะให้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และไอน้า (H2O) รวมทั้งพลังงานความร้อนที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในกิจกรรมต่าง ๆ แก๊สหุงต้ม ประกอบด้วยแก๊สโพรเพน (C3H8) และแก๊สบิวเทน (C4H10) เมื่อเกิด การเผาไหม้ที่สมบูรณ์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นดังสมการ C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g) + พลังงาน โพรเพน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า 2C4H10(g) + 13O2(g) 8CO2(g) + 10H2O(g) + พลังงาน บิวเทน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ภาพที่ 25 โลหะเป็นสนิม ที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/estimate/2009/11/26/entry-1 หน้า :: 32
  • 37. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 เหล็กเป็นโลหะที่นามาใช้งานหลายด้าน เช่น เป็นวัสดุในการก่อสร้าง ผลิตเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องจักรในอุตสาหกรรม ชิ้นส่วนในรถยนต์ เป็นต้น เมื่ออายุการใช้งานเพิ่มขึ้น เหล็ก มักเกิดการผุกร่อน และเป็นสนิมเนื่องจากเหล็กทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนและความชื้นในอากาศ คาสั่ง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 15 คะแนน ) 1. จากการทดลองต่อไปนี้ สมการเคมีของปฏิกิริยาเคมีเป็นอย่างไร 1.1 ผ่านแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ลงในน้าปูนใสหรือสารละลายแคลเซียมไฮดรอก - ไซด์ (Ca(OH)2) เกิดตะกอนแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) และน้า (H2O) ( 1คะแนน ) …………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 เมื่อเผาผงฟูหรือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3) จะสลายตัวเป็นโซเดียม- คาร์บอเนต (NaCO3) น้า (H2O) และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ( 1คะแนน ) …………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 โลหะโซเดียม (Na) ทาปฏิกิริยากับน้า (H2O) เกิดสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และแก๊สไฮโดรเจน (H2) ( 1คะแนน ) …………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ถ้าพืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร ( 2คะแนน ) ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. เพราะเหตุใดจึงต้องเก็บไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในภาชนะสีน้าตาลเข้มและเก็บในที่ อุณหภูมิต่า ( 2คะแนน ) ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ สารใดเป็นสารตั้งต้น สารใดเป็นผลิตภัณฑ์ (1คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………… 5. แก๊สอะเซทิลีน (C2H2) เป็นแก๊สที่ติดไฟได้ สมการแสดงการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของแก๊สนี้ เป็นอย่างไร (1คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………… ใบงาน 1.3 ขยายความรู้ ( Elaborate ) หน้า :: 33
  • 38. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 6. ถ้าแก๊สหุงต้มติดไฟไม่สมบูรณ์เกิดผลิตภัณฑ์ชนิดใดบ้าง (1คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ในการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง นอกจากจะให้พลังงานสาหรับใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว อาจก่อให้ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง ( เขียนผังมโนทัศน์หรือวาดภาพ) (5 คะแนน) หน้า :: 34
  • 39. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาสั่ง : ให้นักเรียนบันทึกการเรียนรู้ จากสิ่งที่ได้เรียนรู้และทากิจกรรม เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี ตามประเด็นที่กาหนดให้ ตอบด้วยความเป็นจริงและชัดเจนตามความเห็นของตนเอง ขั้นที่ 5 ประเมินผล ( Evaluate ) เรียนรู้อะไรบ้าง …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… มีความรู้ความเข้าใจอย่างไรในแต่ละเรื่อง …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… สิ่งที่ยังไม่รู้/ไม่เข้าใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกการเรียนรู้ หน้า :: 35
  • 40. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 คาชี้แจง แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน กระดาษคาตอบ 1. การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นไปได้ทุกข้อ ยกเว้น ข้อใด ก. มีตะกอนเกิดขึ้น ข. มีฟองแก๊สเกิดขึ้น ค. มีค่าความเป็นกรด – เบส เปลี่ยนไป ง. มีการละลายของสารเป็นเนื้อเดียวกัน จ. มีความร้อนหรือมีสีของสารเปลี่ยนไป 2. การเปลี่ยนแปลงข้อใด ที่แสดงให้เห็นว่า ไม่มี การเกิดปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น ก. นาเกลือป่นละลายน้ากลั่นได้น้าเกลือ ข. นาน้าบาดาลมาต้มเกิดตะกอนสีขาวขึ้น ค. จอดรถจักรยานทิ้งไว้แล้ววงล้อเกิดสนิม ง. นาน้ายาล้างห้องน้าราดพื้นแล้วเกิดฟองแก๊สขึ้น จ. นาสารละลายกรดกับเบสผสมกันอุณหภูมิสูงขึ้นแต่สีไม่มีการเปลี่ยนแปลง 3. ข้อใดมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น ก. การต้มน้า ข. การจุดธูป ค. การทาน้าเชื่อม ง. การละลายของน้าแข็ง จ. การระเหิดของลูกเหม็น 4. ข้อใด ไม่ใช่ ข้อสังเกตในการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. สีเปลี่ยนไป ข. อุณหภูมิลดลง ค. สถานะเปลี่ยนไป ง. มีฟองแก๊สเกิดขึ้น จ. ค่าความเป็นกรด – เบสเปลี่ยนไป แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี หน้า :: 36
  • 41. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 5. ข้อใด ไม่ เกิดปฏิกิริยาเคมี ก. เหล็กเกิดสนิม ข. น้าตาละลายน้า ค. การเผาไหม้ของแก๊สหุงต้ม ง. การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร จ. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสีเขียว 6. การเปลี่ยนแปลงใดเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. การทาสี ข. เกลือละลายน้า ค. การบูดของอาหาร ง. การเกิดผลึกของน้าปลา จ. ไม่มีข้อถูก 7. การสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์สามารถนาไปใช้ประโยชน์อย่างไร ก. การดับไฟป่า ข. การทาขนมเค้ก ค. การเกิดฝนกรด ง. การผลิตปูนซีเมนต์ จ. ฟอกสีผมและฆ่าเชื้อโรค 8. สัญลักษณ์ในข้อใดแสดงสารที่ละลายน้าได้ ก. (aq) ข. (l) ค. (g) ง. (s) จ. ไม่มีข้อถูก 9. ข้อใดเขียนสมการเคมีแสดงการสลายตัวของ NaHCO3 ได้ถูกต้อง ก. NaHCO3(aq) → Na2CO3(aq) + CO2(g) ข. NaHCO3(aq) → Na2O(aq) + CO2(g) + H2O(l) ค. 2NaHCO3(aq) → 2Na2CO3(aq) + 2CO2(g) + 2H2O(l) ง. NaHCO3(aq) → Na2CO3(aq) + CO2(g) + H2O(l) จ. ไม่มีข้อถูก 10. เมื่อผสมสารละลาย HCl กับ NaHCO3 ทาให้เกิดสารใด ก. NaCl ข. CO2 และ H2O ค. NaCl และ CO2 ง. NaCl และ H2O จ. NaCl CO2 และ H2O หน้า :: 37
  • 42. เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีทีที่ 5 ชื่อ..........................................................................ชั้น....................................เลขที่..................... ข้อ ก ข ค ง จ ข้อ ก ข ค ง จ 1 6 2 7 3 8 4 9 5 10 รายการประเมิน คะแนนที่ได้ ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ทดสอบก่อนเรียน ( 10 คะแนน ) กิจกรรมทดลอง 1.1 ( 20 คะแนน) ใบงานที่ 1.1 ( 15 คะแนน ) ใบงานที่ 1.2 ( 5 คะแนน ) ใบงานที่ 1.3 ( 15 คะแนน ) ทดสอบหลังเรียน ( 10 คะแนน) กระดาษคาตอบหลังเรียน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี บันทึกคะแนน เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เพื่อน ๆ เก่งมากเลยจร้า ทาทุกกิจกรรมผ่านเกณฑ์ ทุกกิจกรรม หน้า :: 38