SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน                         ชั้น ม.4               ภาคเรียนที่ 1                ปีการศึกษา 2555
แผนการเรียนรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ                                               เวลา               3             คาบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551)
          มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
          ตัวชี้วัด
          1.1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
          มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
          ตัวชี้วัด
          ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ
จากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
          ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลองหรือสร้าง
รูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ
          ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น
ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ
          ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง
ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
          ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน
เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล
          ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มี ระดับความถูกต้องและนาเสนอ
ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม
          ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ
สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
          ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ
คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ
          ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่
นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง
          ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น
และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง
          ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ
ค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การ
ยอมรับเป็นความรู้ใหม่
ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

2. สาระสาคัญ
       นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างแบบจาลองอะตอมเพื่ออธิบายลักษณะและสมบัติของอะตอม ซึ่งอะตอมประกอบด้วย
อนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
       ธาตุที่เป็ น กลางทางไฟฟ้าจะมีจ านวนโปรตอนและอิเล็ กตรอนเท่ากัน โดยธาตุช นิดเดียวกันจะมีจานวน
โปรตอนเท่ากัน และจานวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมของธาตุนั้นแสดงได้ด้วยสัญลักษณ์นิวเคลียร์ โดยเลขมวลคือ
จานวนรวมของโปรตอนกับนิวตรอน และเลขอะตอมคือจานวนของโปรตอน

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
   3.1 ความรู้
        1. อธิบายสมบัติของอนุภาคมูลฐานของอะตอมได้
        2. เขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้
   3.2 ทักษะกระบวนการ
        นักเรียนสามารถเขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้
       3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา
        2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และแสดงความคิดเห็น
    อย่างมีเหตุผล
        3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม
        4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม

4. สาระการเรียนรู้
       เมื่อการศึกษาโครงสร้างอะตอมกระจ่างชัดขึ้นจึงทาให้ทราบว่า อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด
คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน สาหรับอนุภาคทั้ง 3 นี้ พบว่านิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและ
นิวตรอน โดยนิวตรอนเป็นอนุภาคที่เป็นกลางมีมวลใกล้เคียงกับโปรตอน อิเล็กตรอนเป็นอนุภาคที่มีประจุลบและมี
มวลน้อยมากเมื่อเทียบกับอะตอม โปรตอนเป็นอนุภาคที่มีประจุบวกและมีมวลใกล้เคียงกับนิวตรอน นิวเคลียสของ
อะตอมมีประจุเป็นบวก และถือว่ามวลทั้งหมดของอะตอมที่อยู่นิวเคลียสนั้น
       สัญลักษณ์นิวเคลียร์ หมายถึง การเขียนสัญลักษณ์ของธาตุ ซึ่งแสดงให้ทราบทั้งเลขมวล และเลขอะตอม
หลักการเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ให้เขียนเลขอะตอมไว้มุมล่างซ้าย และให้เขียนเลขมวลไว้มุมบนซ้าย ดังนี้




      เลขอะตอม                                                    หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงจานวนโปรตอน
ในอะตอมของธาตุ ซึ่งมีค่าเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ใช้สัญลักษณ์ Z
      เลขมวล หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมของจานวนโปรตอนกับนิวตรอน ใช้สัญลักษณ์ A
      ไอโซโทป หมายถึง อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเท่ากันแต่มีเลขมวลต่างกัน หรือกล่าวได้ว่ามี
โปรตอนเท่ากัน แต่มีนิวตรอนต่างกัน เช่น      ,      ,      เป็นต้น
ไอโซบาร์ หมายถึง อะตอมของธาตุที่มีเลขมวลเท่ากันแต่เลขอะตอมต่างกัน หรือกล่าวได้ว่า อะตอมของ
ธาตุที่มีผลรวมของโปรตอนกับนิวตรอนเท่ากัน เช่น                เป็นต้น
          ไอโซโทน หมายถึง อะตอมของธาตุที่มีผลต่างของเลขมวลกับเลขอะตอมเท่ากัน หรือกล่าวได้ว่า อะตอม
ของธาตุที่มีจานวนนิวตรอนเท่ากัน เช่น             เป็นต้น

5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล
   5.1 ความรู้
        ภาระงาน/
                         วิธีการวัด           เครื่องมือ       เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน         ผู้ประเมิน
         ชิ้นงาน
   ทาแบบทดสอบ ตรวจสอบความถูก             - แบบทดสอบ        มีความถูกต้อง 80 % ขึ้น            ครู
   เรื่อง สัญลักษณ์ ต้อง                 เรื่อง สัญลักษณ์
   นิวเคลียร์ของ                         นิวเคลียร์ของธาตุ
   ธาตุ



   ตอบคาถามใน       ตรวจสอบความถูก        ชุดกิจกรรม        มีความถูกต้อง 80 % ขึ้น      เพื่อนนักเรียน
   กิจกรรม Stop     ต้อง                  Stop and Go                                          ครู
   and Go


      ภาระงาน/
                         วิธีการวัด          เครื่องมือ         เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน        ผู้ประเมิน
       ชิ้นงาน
   แผนผังความคิด วัดเมื่อจบบทเรียน        - Concept map ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน              ครู
   (Graphic      ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้     - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด
   Organize)     1. การกาหนดและ           แผนผังความคิด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
                 เชื่อมโยงแนวความคิด                    = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
                 หลัก แนวความคิดรอง                     ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
                 แนวความคิดย่อย                          = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย
                 2. การเชื่อมโยงความรู้                 ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
                 3. การเชื่อมโยง                        1 คะแนน
                 ประเด็นต่างๆอย่าง                      = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก
                 สมเหตุสมผล มี                          หรือไม่ถูกต้องเลย
                 คาเชื่อมถูกต้อง
                 ชัดเจน
   ตอบคาถาม      ตรวจคาตอบของ             - Exit ticket     ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน          ครู
   สะท้อนความคิด คาถามสะท้อน              - แบบประเมิน      = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด     นักเรียน
                 ความคิด ตามตัวชี้วัด     การตอบคาถาม       ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
                 ต่อไปนี้                 สะท้อนความคิด     = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
1. ความถูกต้อง                              ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
                  ครอบคลุมสิ่งที่ได้                           = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย
                  เรียนรู้                                    ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
                  2. ความสมเหตุสมผล                           1 คะแนน
                  ชัดเจน ของคาตอบ                             = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก
                  3. การตั้งคาถามที่                          หรือไม่ถูกต้องเลย
                  อยากรู้

5.2 ทักษะกระบวนการ
    ภาระงาน/
                       วิธีการวัด             เครื่องมือ           เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน    ผู้ประเมิน
     ชิ้นงาน
ทาใบงาน เรื่อง ตรวจสอบจากการทา            - ใบงาน เรื่อง    ทาได้ถูกต้องอย่างน้อย            ครู
สัญลักษณ์         ใบงาน                   สัญลักษณ์         80 %
นิวเคลียร์ของธาตุ                         นิวเคลียร์ของธาตุ


5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะ       ภาระงาน/
                                                                           เกณฑ์ที่ใช้
   อันพึง        ชิ้นงาน/              วิธีการวัด          เครื่องมือ                    ผู้ประเมิน
                                                                            ประเมิน
  ประสงค์       พฤติกรรม
ตรงต่อเวลา เข้าเรียน              - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน       ต้องได้ไม่ต่ากว่า       ครู
            ปฏิบัติกิจกรรม        การเข้าเรียน การ คุณลักษณะ        ระดับคุณภาพ
            ส่งงานตรงเวลา         ปฏิบัติกิจกรรม   อันพึงประสงค์    3 คือ ดี
                                  และการส่งงานของ                   จากระดับ
                                  นักเรียน                          คุณภาพ 4 คือ
                                                                    ดีมาก
  ใฝ่เรียนรู้   ร่วมมือในการ       - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า            ครู
                เรียน แสวงหา       ความร่วมมือใน      คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ
                ความรู้ ตอบ        การเรียน การ       อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี
                คาถาม ยอมรับ แสวงหาความรู้                          จากระดับ
                ความคิดเห็นผู้อื่น การตอบคาถาม                      คุณภาพ 4
                และแสดงความ การยอมรับความ                           คือ ดีมาก
                คิดเห็นอย่างมี     คิดเห็นผู้อื่น และ
                เหตุผล             การแสดงความ
                                   คิดเห็นอย่างมี
                                   เหตุผล
   ซื่อสัตย์    บันทึกข้อมูลจาก - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า               ครู
                การปฏิบัติ         การบันทึกข้อมูล คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ
                กิจกรรม ทา         จากการปฏิบัติ      อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี
                แบบฝึกหัด ทา กิจกรรม การทา                          จากระดับ
แบบทดสอบ            แบบฝึกหัดและการ                       คุณภาพ 4 คือ
                    ด้วยความซื่อสัตย์   ทาแบบทดสอบ                            ดีมาก
     รักสะอาด       รักษาความ           - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน           ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู
                    สะอาดผลงาน          การรักษาความ     คุณลักษณะ            ระดับคุณภาพ เพื่อนนักเรียน
                    ห้องเรียนและ        สะอาดผลงาน การ อันพึงประสงค์          3 คือ ดี
                    สถานที่ปฏิบัติ      ทาความสะอาด                           จากระดับ
                    กิจกรรม             ห้องเรียน และ                         คุณภาพ 4 คือ
                                        สถานที่ปฏิบัติ                        ดีมาก
                                        กิจกรรม

6. คาถามสาคัญ
      1. อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานใดบ้าง แต่ละอนุภาคมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ ลักษณะใด
      2. สัญลักษณ์นิวเคลียร์คืออะไร และเป็นสัญลักษณ์แสดงค่าใด
      3. สัญลักษณ์นิวเคลียร์มีประโยชน์ลักษณะใด

7. การจัดกระบวนการเรียนรู้
       ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
            1. ครูนาอภิปรายอภิปรายรายละเอียดของแบบจาลองอะตอมของทอมสันและแบบจาลองอะตอมของ
   รัทเทอร์ฟอร์ด เพื่อทบทวนความรู้เดิม ซึ่งสรุปได้ว่า อะตอมเป็นรูปทรงกลมประกอบด้วยเนื้ออะตอมซึ่งมีประจุ
   บวก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยู่ทั่วไป (ทบทวน เชื่อมโยง ตรวจสอบความรู้เดิม และเปิดโอกาสให้
   ซักถามเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นความสนใจ) หลังจากนั้นให้นักเรียนเขียนในสิ่งที่รู้ และสิ่งที่อยากรู้เกี่ยวกับ แบบจาลอง
   อะตอมต่าง ๆ ลงในกระดาษที่แจกให้ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน
   (KWL)

          ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration)
               1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน
               2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
               3. ครูนาอภิปรายและให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด ซึ่งสรุปแบบจาลอง
     อะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดได้ว่า อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสขนาดเล็กอยู่ตรงกลางและมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก
     โดยมีอิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบๆ
               4. ครูให้นักเรียนคิดเดี่ยว คิดคู่ หรือคิดกลุ่ม (Think Pair Share) ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบแนวคิด
     เกี่ยวกับแบบจาลองอะตอมของ ดอลตัน ทอมสัน และรัทเทอร์ฟอร์ดตามที่ได้ศึกษามาแล้ว
               5. ครูสอนโดยใช้สื่อ Power Point (PPT) เรื่องสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เพื่ออภิปรายในรายข้อที่
     เป็นประเด็นสงสัย (โดยเว้นให้นักเรียนซักถามและเขียนตอบลงในใบความรู้ฉบับนักเรียนเป็นระยะ) โดยครู
     ทบทวนความรู้เกี่ยวกับอนุภาคภายในอะตอมที่ค้นพบแล้วคือ โปรตอนกับอิเล็กตรอน แล้วให้ความรู้เกี่ยวกับ
     การค้นพบนิวตรอน
               6. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่มของตน (สร้างผลสัมฤทธิ์ของทีม: Student Teams
     Achievement Division STAD) เกี่ยวกับสมบัติที่คล้ายคลึงกันของอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน (ซึ่งควร
ได้ข้อสรุปว่าอิเล็กตรอนกับโปรตอนมีประจุไฟฟ้าเท่ากันแต่เป็นประจุตรงข้ามกัน ส่วนนิวตรอนไม่มีประจุไฟฟ้า
 นิวตรอนและโปรตอนมีมวลใกล้เคียงกัน สาหรับอิเล็กตรอนมีมวลน้อยมากเมื่อเทียบกับมวลของโปรตอนและ
 นิวตรอน มวลของอะตอมจึงขึ้นอยู่กับมวลของโปรตอนและนิวตรอน)
           7. ครูทบทวนการค้นพบอนุภาคนิวตรอนในนิวเคลียสของเซอร์เจมส์ แซดวิก กับทอมสัน แล้วจึงอธิบาย
 ความหมายของเลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุตามรายละเอียดในใบความรู้
 เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
           8. ครูให้นักเรียนฝึกเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ รวมทั้งการหาจานวนอนุภาคมูลฐานในอะตอม
 เมื่อทราบสัญลักษณ์นิวเคลียร์ มีตัวอย่าง ดังนี้
      ตัวอย่าง จงคานวณจานวนอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน ของธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์
                          23       235         12
 นิวเคลียร์ดังต่อไปนี้    11 Na,    92 U,       6C
                               Z
 วิธีทา จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ A X            A คือ เลขมวล Z คือ เลขอะตอม
                  A      = Z + n
                  n      = A - Z
                  23
    สาหรับ        11 Na     มี A = 23 , Z = 11
           เพราะฉะนั้น       n = 23 - 11 = 12
           มีอิเล็กตรอน      = โปรตอน = 11 นิวตรอน  = 12
                 235
    สาหรับ        92 U       มี A = 235 , Z = 92
           เพราะฉะนั้น       n = 235 - 92 = 143
           มีอิเล็กตรอน      = โปรตอน = 92 นิวตรอน  = 143
                 12
    สาหรับ        6 C มี    A = 12 , Z = 6
           เพราะฉะนั้น       n = 12 - 6 = 6
           มีอิเล็กตรอน      = โปรตอน = 6 นิวตรอน  = 6

      ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
      1. ครูแจกใบงานเรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและทาแบบฝึกหัดในใบงาน
เพื่อเตรียมตัวทดสอบย่อยเป็นรายบุคคล
      2. ครูแจ้งเกณฑ์การผ่านกิจกรรมว่านักเรียนจะได้คะแนนเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของสมาชิกในกลุ่ม ดังนั้นทุก
คนต้องช่วยเหลือกัน เพื่อให้ได้ความรู้เท่าเทียมกัน และสามารถตอบคาถามได้ด้วยตนเอง

  ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
      1. ครูนาอภิปรายและเฉลยคาตอบลงในแบบฝึกหัดในใบงาน
      2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เป็นแบบแผนผังความคิด
(Concept map)
      ขั้นประเมิน (Evaluation)
1. ในการประเมินผลการเรียนรู้ ครูใช้กิจกรรม “Stop and Go” โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจากที่ได้แบ่ง
นักเรียนเป็นกลุ่มแล้ว กลุ่มละ 3 คน ได้รับคาถามกลุ่มละ 1 ชุด (ตัวอย่างคาถาม 1 ชุด มี 3 คาถาม)
      2. กาหนดลาดับการตอบคาถามของกลุ่ม คนที่ 1-3 โดยคนที่ 1 เริ่มต้นตอบคาถามและคนที่ 3 ตรวจสอบ
คาตอบและแก้ไขคาตอบให้ถูกต้อง
      3. ในการทากิจกรรม เมื่อได้ยินสัญญาณ ทุกกลุ่มลงมือตอบคาถามข้อที่ 1 ในแผ่นคาถาม เริ่มจากคนที่ 1
ตอบคาถาม เมื่อมีสัญญาณให้หยุด (Stop) ให้ส่งต่อแผ่นคาถาม (Go) ให้คนที่ 2 และ 3 ตอบคาถามเพิ่มเติมให้
สมบูรณ์ตามลาดับ เมื่อได้ยินสัญญาณหมดเวลาแต่ละข้อ ทุกกลุ่มหยุดเขียน (Stop) (ประมาณข้อละ 3-5 นาที)
คนสุดท้ายนาคาตอบไปติดที่บอร์ดหน้าชั้นเรียน
      4. อภิปรายสรุปคาตอบแต่ละข้อร่วมกัน
      5. ประเมินคาตอบกลุ่มเพื่อน (ยกเว้นกลุ่มตนเอง) เขียนลงในบอร์ดของกลุ่มเพื่อน แล้วยกบอร์ดแสดง
คะแนน (Response Board) ของกลุ่มเพื่อนเมื่อมีการประเมินคาตอบแต่ละกลุ่ม
      6. ครูแจ้งผลการทากิจกรรม และให้รางวัลสาหรับกลุ่มที่ทาคะแนนได้สูงสุด และคะแนนเกินความคาดหมาย
      7. ครูให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้ลงในสมุด บันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) และ
  ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket)

8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้
         1. ใบความรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
         2. Power Point (PPT) เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
         3. ใบงาน เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
         4. ชุดกิจกรรม stop and go เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
         5. แผ่น Response Board
         6. แบบประเมินแผนผังความคิด
         7. แบบประเมินการตอบคาถามสะท้อนความคิด
        8. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
บันทึกหลังสอน
รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน                ชั้น ม.4                                กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แผนการเรียนรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ                                    โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

           ประเด็นการบันทึก                                                  ผลการใช้แผนการสอน
1. เนื้อหาที่สอน                      ....................................................................................................................
(สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่)         ....................................................................................................................
2. เวลา                               ....................................................................................................................
(เหมาะสมหรือไม่)                      ....................................................................................................................
3. กิจกรรมที่ใช้สอน                   ....................................................................................................................
(ตามแผนหรือไม่)                       ....................................................................................................................
4. ปัญหาและอุปสรรค                    ....................................................................................................................
                                      ....................................................................................................................

ผลการเรียนของนักเรียน
            ชั้น                             เข้าเรียน (คน)                                                        ขาด (คน)
           ม.4/1
           ม.4/2
           ม.4/3
           ม.4/4
           ม.4/5
           ม.4/6
   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน         ผ่าน                                                      ไม่ผ่าน
                                 เกณฑ์…………………………………….                                      เกณฑ์…………………………………..

การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บรรยากาศในการเรียน………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………

                                                                                ลงชื่อ
                                                                                                   (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 

Viewers also liked

การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2Wichai Likitponrak
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
การจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมการจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมwebsite22556
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)Coco Tan
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมwebsite22556
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 

Viewers also liked (20)

การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม.4 เทอม 2
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
การจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมการจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสม
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 

Similar to 02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552wongsrida
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155wongsrida
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศpummath
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationtadpinijsawitree
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัดnuaof
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 

Similar to 02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ (20)

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Plan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศPlan30 สำหรับนิเทศ
Plan30 สำหรับนิเทศ
 
Focus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluationFocus on measurement and evaluation
Focus on measurement and evaluation
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 

02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 แผนการเรียนรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เวลา 3 คาบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551) มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1.1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ จากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลองหรือสร้าง รูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มี ระดับความถูกต้องและนาเสนอ ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ ค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การ ยอมรับเป็นความรู้ใหม่
  • 2. ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ 2. สาระสาคัญ นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างแบบจาลองอะตอมเพื่ออธิบายลักษณะและสมบัติของอะตอม ซึ่งอะตอมประกอบด้วย อนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ธาตุที่เป็ น กลางทางไฟฟ้าจะมีจ านวนโปรตอนและอิเล็ กตรอนเท่ากัน โดยธาตุช นิดเดียวกันจะมีจานวน โปรตอนเท่ากัน และจานวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมของธาตุนั้นแสดงได้ด้วยสัญลักษณ์นิวเคลียร์ โดยเลขมวลคือ จานวนรวมของโปรตอนกับนิวตรอน และเลขอะตอมคือจานวนของโปรตอน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. อธิบายสมบัติของอนุภาคมูลฐานของอะตอมได้ 2. เขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้ 3.2 ทักษะกระบวนการ นักเรียนสามารถเขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้ 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา 2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล 3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม 4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม 4. สาระการเรียนรู้ เมื่อการศึกษาโครงสร้างอะตอมกระจ่างชัดขึ้นจึงทาให้ทราบว่า อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน สาหรับอนุภาคทั้ง 3 นี้ พบว่านิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและ นิวตรอน โดยนิวตรอนเป็นอนุภาคที่เป็นกลางมีมวลใกล้เคียงกับโปรตอน อิเล็กตรอนเป็นอนุภาคที่มีประจุลบและมี มวลน้อยมากเมื่อเทียบกับอะตอม โปรตอนเป็นอนุภาคที่มีประจุบวกและมีมวลใกล้เคียงกับนิวตรอน นิวเคลียสของ อะตอมมีประจุเป็นบวก และถือว่ามวลทั้งหมดของอะตอมที่อยู่นิวเคลียสนั้น สัญลักษณ์นิวเคลียร์ หมายถึง การเขียนสัญลักษณ์ของธาตุ ซึ่งแสดงให้ทราบทั้งเลขมวล และเลขอะตอม หลักการเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ให้เขียนเลขอะตอมไว้มุมล่างซ้าย และให้เขียนเลขมวลไว้มุมบนซ้าย ดังนี้ เลขอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงจานวนโปรตอน ในอะตอมของธาตุ ซึ่งมีค่าเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ใช้สัญลักษณ์ Z เลขมวล หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมของจานวนโปรตอนกับนิวตรอน ใช้สัญลักษณ์ A ไอโซโทป หมายถึง อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเท่ากันแต่มีเลขมวลต่างกัน หรือกล่าวได้ว่ามี โปรตอนเท่ากัน แต่มีนิวตรอนต่างกัน เช่น , , เป็นต้น
  • 3. ไอโซบาร์ หมายถึง อะตอมของธาตุที่มีเลขมวลเท่ากันแต่เลขอะตอมต่างกัน หรือกล่าวได้ว่า อะตอมของ ธาตุที่มีผลรวมของโปรตอนกับนิวตรอนเท่ากัน เช่น เป็นต้น ไอโซโทน หมายถึง อะตอมของธาตุที่มีผลต่างของเลขมวลกับเลขอะตอมเท่ากัน หรือกล่าวได้ว่า อะตอม ของธาตุที่มีจานวนนิวตรอนเท่ากัน เช่น เป็นต้น 5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล 5.1 ความรู้ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน ทาแบบทดสอบ ตรวจสอบความถูก - แบบทดสอบ มีความถูกต้อง 80 % ขึ้น ครู เรื่อง สัญลักษณ์ ต้อง เรื่อง สัญลักษณ์ นิวเคลียร์ของ นิวเคลียร์ของธาตุ ธาตุ ตอบคาถามใน ตรวจสอบความถูก ชุดกิจกรรม มีความถูกต้อง 80 % ขึ้น เพื่อนนักเรียน กิจกรรม Stop ต้อง Stop and Go ครู and Go ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน แผนผังความคิด วัดเมื่อจบบทเรียน - Concept map ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน ครู (Graphic ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้ - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด Organize) 1. การกาหนดและ แผนผังความคิด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน เชื่อมโยงแนวความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก หลัก แนวความคิดรอง ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน แนวความคิดย่อย = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย 2. การเชื่อมโยงความรู้ ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 3. การเชื่อมโยง 1 คะแนน ประเด็นต่างๆอย่าง = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก สมเหตุสมผล มี หรือไม่ถูกต้องเลย คาเชื่อมถูกต้อง ชัดเจน ตอบคาถาม ตรวจคาตอบของ - Exit ticket ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน ครู สะท้อนความคิด คาถามสะท้อน - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด นักเรียน ความคิด ตามตัวชี้วัด การตอบคาถาม ระดับ 3 ดี 3 คะแนน ต่อไปนี้ สะท้อนความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
  • 4. 1. ความถูกต้อง ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน ครอบคลุมสิ่งที่ได้ = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย เรียนรู้ ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 2. ความสมเหตุสมผล 1 คะแนน ชัดเจน ของคาตอบ = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก 3. การตั้งคาถามที่ หรือไม่ถูกต้องเลย อยากรู้ 5.2 ทักษะกระบวนการ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน ทาใบงาน เรื่อง ตรวจสอบจากการทา - ใบงาน เรื่อง ทาได้ถูกต้องอย่างน้อย ครู สัญลักษณ์ ใบงาน สัญลักษณ์ 80 % นิวเคลียร์ของธาตุ นิวเคลียร์ของธาตุ 5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะ ภาระงาน/ เกณฑ์ที่ใช้ อันพึง ชิ้นงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ ผู้ประเมิน ประเมิน ประสงค์ พฤติกรรม ตรงต่อเวลา เข้าเรียน - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู ปฏิบัติกิจกรรม การเข้าเรียน การ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ส่งงานตรงเวลา ปฏิบัติกิจกรรม อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี และการส่งงานของ จากระดับ นักเรียน คุณภาพ 4 คือ ดีมาก ใฝ่เรียนรู้ ร่วมมือในการ - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู เรียน แสวงหา ความร่วมมือใน คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ความรู้ ตอบ การเรียน การ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี คาถาม ยอมรับ แสวงหาความรู้ จากระดับ ความคิดเห็นผู้อื่น การตอบคาถาม คุณภาพ 4 และแสดงความ การยอมรับความ คือ ดีมาก คิดเห็นอย่างมี คิดเห็นผู้อื่น และ เหตุผล การแสดงความ คิดเห็นอย่างมี เหตุผล ซื่อสัตย์ บันทึกข้อมูลจาก - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู การปฏิบัติ การบันทึกข้อมูล คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ กิจกรรม ทา จากการปฏิบัติ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี แบบฝึกหัด ทา กิจกรรม การทา จากระดับ
  • 5. แบบทดสอบ แบบฝึกหัดและการ คุณภาพ 4 คือ ด้วยความซื่อสัตย์ ทาแบบทดสอบ ดีมาก รักสะอาด รักษาความ - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู สะอาดผลงาน การรักษาความ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ เพื่อนนักเรียน ห้องเรียนและ สะอาดผลงาน การ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี สถานที่ปฏิบัติ ทาความสะอาด จากระดับ กิจกรรม ห้องเรียน และ คุณภาพ 4 คือ สถานที่ปฏิบัติ ดีมาก กิจกรรม 6. คาถามสาคัญ 1. อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานใดบ้าง แต่ละอนุภาคมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ ลักษณะใด 2. สัญลักษณ์นิวเคลียร์คืออะไร และเป็นสัญลักษณ์แสดงค่าใด 3. สัญลักษณ์นิวเคลียร์มีประโยชน์ลักษณะใด 7. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูนาอภิปรายอภิปรายรายละเอียดของแบบจาลองอะตอมของทอมสันและแบบจาลองอะตอมของ รัทเทอร์ฟอร์ด เพื่อทบทวนความรู้เดิม ซึ่งสรุปได้ว่า อะตอมเป็นรูปทรงกลมประกอบด้วยเนื้ออะตอมซึ่งมีประจุ บวก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยู่ทั่วไป (ทบทวน เชื่อมโยง ตรวจสอบความรู้เดิม และเปิดโอกาสให้ ซักถามเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นความสนใจ) หลังจากนั้นให้นักเรียนเขียนในสิ่งที่รู้ และสิ่งที่อยากรู้เกี่ยวกับ แบบจาลอง อะตอมต่าง ๆ ลงในกระดาษที่แจกให้ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน (KWL) ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน 2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 3. ครูนาอภิปรายและให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด ซึ่งสรุปแบบจาลอง อะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดได้ว่า อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสขนาดเล็กอยู่ตรงกลางและมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก โดยมีอิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบๆ 4. ครูให้นักเรียนคิดเดี่ยว คิดคู่ หรือคิดกลุ่ม (Think Pair Share) ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบแนวคิด เกี่ยวกับแบบจาลองอะตอมของ ดอลตัน ทอมสัน และรัทเทอร์ฟอร์ดตามที่ได้ศึกษามาแล้ว 5. ครูสอนโดยใช้สื่อ Power Point (PPT) เรื่องสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เพื่ออภิปรายในรายข้อที่ เป็นประเด็นสงสัย (โดยเว้นให้นักเรียนซักถามและเขียนตอบลงในใบความรู้ฉบับนักเรียนเป็นระยะ) โดยครู ทบทวนความรู้เกี่ยวกับอนุภาคภายในอะตอมที่ค้นพบแล้วคือ โปรตอนกับอิเล็กตรอน แล้วให้ความรู้เกี่ยวกับ การค้นพบนิวตรอน 6. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่มของตน (สร้างผลสัมฤทธิ์ของทีม: Student Teams Achievement Division STAD) เกี่ยวกับสมบัติที่คล้ายคลึงกันของอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน (ซึ่งควร
  • 6. ได้ข้อสรุปว่าอิเล็กตรอนกับโปรตอนมีประจุไฟฟ้าเท่ากันแต่เป็นประจุตรงข้ามกัน ส่วนนิวตรอนไม่มีประจุไฟฟ้า นิวตรอนและโปรตอนมีมวลใกล้เคียงกัน สาหรับอิเล็กตรอนมีมวลน้อยมากเมื่อเทียบกับมวลของโปรตอนและ นิวตรอน มวลของอะตอมจึงขึ้นอยู่กับมวลของโปรตอนและนิวตรอน) 7. ครูทบทวนการค้นพบอนุภาคนิวตรอนในนิวเคลียสของเซอร์เจมส์ แซดวิก กับทอมสัน แล้วจึงอธิบาย ความหมายของเลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุตามรายละเอียดในใบความรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 8. ครูให้นักเรียนฝึกเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ รวมทั้งการหาจานวนอนุภาคมูลฐานในอะตอม เมื่อทราบสัญลักษณ์นิวเคลียร์ มีตัวอย่าง ดังนี้ ตัวอย่าง จงคานวณจานวนอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน ของธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์ 23 235 12 นิวเคลียร์ดังต่อไปนี้ 11 Na, 92 U, 6C Z วิธีทา จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ A X A คือ เลขมวล Z คือ เลขอะตอม A = Z + n n = A - Z 23 สาหรับ 11 Na มี A = 23 , Z = 11 เพราะฉะนั้น n = 23 - 11 = 12 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 11 นิวตรอน = 12 235 สาหรับ 92 U มี A = 235 , Z = 92 เพราะฉะนั้น n = 235 - 92 = 143 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 92 นิวตรอน = 143 12 สาหรับ 6 C มี A = 12 , Z = 6 เพราะฉะนั้น n = 12 - 6 = 6 มีอิเล็กตรอน = โปรตอน = 6 นิวตรอน = 6 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 1. ครูแจกใบงานเรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและทาแบบฝึกหัดในใบงาน เพื่อเตรียมตัวทดสอบย่อยเป็นรายบุคคล 2. ครูแจ้งเกณฑ์การผ่านกิจกรรมว่านักเรียนจะได้คะแนนเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของสมาชิกในกลุ่ม ดังนั้นทุก คนต้องช่วยเหลือกัน เพื่อให้ได้ความรู้เท่าเทียมกัน และสามารถตอบคาถามได้ด้วยตนเอง ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูนาอภิปรายและเฉลยคาตอบลงในแบบฝึกหัดในใบงาน 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เป็นแบบแผนผังความคิด (Concept map) ขั้นประเมิน (Evaluation)
  • 7. 1. ในการประเมินผลการเรียนรู้ ครูใช้กิจกรรม “Stop and Go” โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจากที่ได้แบ่ง นักเรียนเป็นกลุ่มแล้ว กลุ่มละ 3 คน ได้รับคาถามกลุ่มละ 1 ชุด (ตัวอย่างคาถาม 1 ชุด มี 3 คาถาม) 2. กาหนดลาดับการตอบคาถามของกลุ่ม คนที่ 1-3 โดยคนที่ 1 เริ่มต้นตอบคาถามและคนที่ 3 ตรวจสอบ คาตอบและแก้ไขคาตอบให้ถูกต้อง 3. ในการทากิจกรรม เมื่อได้ยินสัญญาณ ทุกกลุ่มลงมือตอบคาถามข้อที่ 1 ในแผ่นคาถาม เริ่มจากคนที่ 1 ตอบคาถาม เมื่อมีสัญญาณให้หยุด (Stop) ให้ส่งต่อแผ่นคาถาม (Go) ให้คนที่ 2 และ 3 ตอบคาถามเพิ่มเติมให้ สมบูรณ์ตามลาดับ เมื่อได้ยินสัญญาณหมดเวลาแต่ละข้อ ทุกกลุ่มหยุดเขียน (Stop) (ประมาณข้อละ 3-5 นาที) คนสุดท้ายนาคาตอบไปติดที่บอร์ดหน้าชั้นเรียน 4. อภิปรายสรุปคาตอบแต่ละข้อร่วมกัน 5. ประเมินคาตอบกลุ่มเพื่อน (ยกเว้นกลุ่มตนเอง) เขียนลงในบอร์ดของกลุ่มเพื่อน แล้วยกบอร์ดแสดง คะแนน (Response Board) ของกลุ่มเพื่อนเมื่อมีการประเมินคาตอบแต่ละกลุ่ม 6. ครูแจ้งผลการทากิจกรรม และให้รางวัลสาหรับกลุ่มที่ทาคะแนนได้สูงสุด และคะแนนเกินความคาดหมาย 7. ครูให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้ลงในสมุด บันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) และ ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket) 8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 2. Power Point (PPT) เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 3. ใบงาน เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 4. ชุดกิจกรรม stop and go เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 5. แผ่น Response Board 6. แบบประเมินแผนผังความคิด 7. แบบประเมินการตอบคาถามสะท้อนความคิด 8. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 8. บันทึกหลังสอน รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แผนการเรียนรู้ เรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ประเด็นการบันทึก ผลการใช้แผนการสอน 1. เนื้อหาที่สอน .................................................................................................................... (สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่) .................................................................................................................... 2. เวลา .................................................................................................................... (เหมาะสมหรือไม่) .................................................................................................................... 3. กิจกรรมที่ใช้สอน .................................................................................................................... (ตามแผนหรือไม่) .................................................................................................................... 4. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................... .................................................................................................................... ผลการเรียนของนักเรียน ชั้น เข้าเรียน (คน) ขาด (คน) ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์……………………………………. เกณฑ์………………………………….. การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บรรยากาศในการเรียน………………………………………………………….……………………………………………………………………… ………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………… ลงชื่อ (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)