SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โรงเรียนช่องแมววิทยาคม อาเภอลาทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา
สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา
ว่าที่ร้อยตรีอานาจ ก่ายแก้ว
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1
ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้
ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้และพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ทักษะ
การสังเกต การสารวจ การสืบค้น การทดลอง และสรุปลงความคิดเห็นข้อมูลได้เป็นอย่างดี
การจัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ได้แบ่งเนื้อหาออกเป็นเรื่องย่อย ๆ มีทั้งหมด 6 เล่ม
ดังนี้
เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 2 กระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 3 ความเข้มข้นของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 4 พื้นที่ผิวของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 5 อุณหภูมิกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 6 ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมีโดยใช้กระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและช่วยให้ครูสามารถใช้พัฒนาการเรียนการสอน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อานาจ ก่ายแก้ว
คำนำ
เรื่อง หน้ำ
คาชี้แจง 1
ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 3
มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ 7
จุดประสงค์การเรียนรู้ 8
สาระสาคัญ 9
กระบวนการจัดการเรียนรู้ 10
1. ขั้นสร้างความสนใจ 10
2. ขั้นสารวจและค้นหาความรู้ 11
3. ขั้นขยายความรู้หรือทากิจกรรม 19
4. ขั้นสรุป 28
5. ขั้นประเมินผล 29
แบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ 30
แนวคาตอบแบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ 32
แบบทดสอบหลังเรียน 34
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 38
บรรณานุกรม 39
สำรบัญ
1
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมีโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียน
ใช้ประกอบการเรียนรู้ในวิชาเคมี ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง
2. ในแต่ละหน้าของแต่ละชุดกิจกรรมการเรียนรู้จะมีเนื้อหาสาระ คาแนะนา
หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งคาถาม ให้นักเรียนได้ศึกษาและฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนทักษะในการนาไปใช้แก้ปัญหา
3. ให้นักเรียนอ่านคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจ
4. ก่อนศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพื่อวัดความรู้พื้นฐาน
5. ศึกษาจุดประสงค์ สาระสาคัญ เนื้อหาในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี
6. ในแบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะให้นักเรียนตอบคาถามอย่างซื่อสัตย์และมีวินัย
ในตนเอง ไม่ควรเปิดดูคาตอบก่อนที่จะศึกษาให้เข้าใจ เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกกิจกรรม
เสริมทักษะเสร็จแล้วจึงตรวจคาตอบจากเฉลยเพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการทางด้านการเรียน
ของตนเอง
7. เรียนรู้ตามกิจกรรมที่ครูผู้สอนจัดให้ในชุดกิจกรรม มีสื่ออุปกรณ์ในการปฏิบัติ
ให้นักเรียนปฏิบัติให้เรียบร้อยและครบถ้วน
8. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
9. ตรวจคาตอบจากเฉลย เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเรียนของตนเอง
และจะได้ทราบถึงพัฒนาการทางด้านความคิด ความรู้ความเข้าใจจากเรื่องที่ศึกษา
คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี
2
ไม่ผ่านผ่าน
2. แบบทดสอบก่อนเรียน
4. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
5. ศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้
6. สรุป
8. แบบทดสอบหลังเรียน
พบครู
3. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้
7. แบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ
1. คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี
ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี
เสริม ซ่อม
3
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบชุดนี้เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
ใช้เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน
2. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดจากตัวเลือก ก – ง เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X
ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดหมายถึงอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. ปริมาตรของสารใน 1 หน่วยเวลา
ข. มวลของสารใน 1 หน่วยเวลา
ค. ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงใน 1 หน่วยเวลา
ง. ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงต่อเวลาทั้งหมด
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาของแต่ละช่วงเวลามีค่าเท่ากัน
หรือไม่อย่างไร
ก. เท่ากันเพราะวัดจากข้อมูลเดียวกัน
ข. เท่ากันเพราะเป็นปฏิกิริยาของสารชนิดเดียวกัน
ค. ไม่เท่ากันเพราะใช้เวลาต่างกัน
ง. ไม่เท่ากันเพราะปริมาณสารและเวลาต่างกัน
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4
3. จากปฏิกิริยา A (s) + B (aq)  C (aq) + D (g) ถ้าต้องการวัดอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมีควรเลือกสารใด
ก. สาร A
ข. สาร B
ค. สาร C
ง. สาร D
4. จากปฏิกิริยา 2H+
(aq) + S2O3
2-
(aq)  S (s) + SO2 (g) + H2O (l) ถ้าจะวัด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาสารใดที่ไม่ควรวัด
ก. H+
ข. S
ค. S2O3
2-
ง. SO2
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 5 - 7
จากรูปเป็นการทดลองวัดอัตราการเกิดก๊าซ H2 จากการเกิดปฏิกิริยาของลวด Mg
กับสารละลายกรด HCl ได้ผลดังตาราง
5. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด
ก. 0.08 cm3
/s
ข. 0.06 cm3
/s
ค. 0.04 cm3
/s
ง. 0.02 cm3
/s
ปริมาตร H2
(cm3
)
เวลา
(s)
ปริมาตร H2
(cm3
)
เวลา
(s)
1
2
3
6
15
20
4
6
8
30
60
100
5
6. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงวินาทีที่ 60 - 100 มีค่าเท่าใด
ก. 0.04 cm3
/s
ข. 0.05 cm3
/s
ค. 0.06 cm3
/s
ง. 0.07 cm3
/s
7. จากปฏิกิริยานี้ สารใดที่ไม่ควรนามาวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. Mg
ข. HCl
ค. MgCl2
ง. ทั้ง Mg และ MgCl2
8. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซ H2 กับเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ที่วินาทีที่ 50 มีค่าเท่าใด
ปริมาตร H2 (cm3
)
เวลา (s)
ก. 0.012 cm3
/s
ข. 0.034 cm3
/s
ค. 0.068 cm3
/s
ง. 0.084 cm3
/s
6
9. จากปฏิกิริยา 2Al (s) + 2NaOH (aq) + 6H2O (l)  2NaAl(OH)4 (aq) + 3H2 (g)
สารใดไม่เหมาะที่จะนามาวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. NaAl(OH)4
ข. H2
ค. NaOH
ง. Al
10. จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
ทาการทดลองในระบบเปิด จึงทาให้ก๊าซ CO2 แพร่ออกจากระบบซึ่งหาปริมาณก๊าซ CO2
ที่เกิดขึ้นจากมวลของระบบที่หายไป และได้ผลการทดลองดังนี้
เวลา (นาที)
มวล (g)
ขวดรูปกรวย + บีกเกอร์บรรจุสาร ก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้น
0.0
1.0
2.0
3.0
142.080
142.075
142.067
142.065
0.000
0.005
0.013
0.015
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย มีค่าเท่าใด
ก. 0.002 กรัม/นาที
ข. 0.003 กรัม/นาที
ค. 0.005 กรัม/นาที
ง. 0.007 กรัม/นาที
7
มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร
การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ทดลองและคานวณเกี่ยวกับ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี
เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้
8
จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ความรู้
1) อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพร้อมทั้งยกตัวอย่างได้
2.2 ทักษะ/กระบวนการ
1) ทาการทดลองเพื่อหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างแมกนีเซียมกับ
กรดไฮโดรคลอริกและอะลูมิเนียมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ได้
2) คานวณหาอัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนได้
3) เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซกับเวลา และใช้กราฟ
เป็นข้อมูลแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลาต่าง ๆ ได้
2.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) มีความสนใจใฝุเรียนรู้
2) มีความรอบคอบ
3) มีเหตุผลยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
4) มีความมุ่งมั่นในการทางาน
5) มีความสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
9
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นค่าตัวเลขที่เกิดจากปริมาณของผลิตภัณฑ์
ที่เกิดขึ้นหรือปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงจากปฏิกิริยาหารด้วยระยะเวลาที่สาร
เกิดการเปลี่ยนแปลง และวิธีการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้นต้องพิจารณาว่าสารใด
สามารถวัดได้ง่ายและสะดวกที่สุด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยและอัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่ง
สามารถคานวณได้จากข้อมูลในตารางบันทึกผลการทดลอง ส่วนอัตราการการเกิดปฏิกิริยา
ณ ขณะหนึ่งต้องคานวณจากค่าความชันของกราฟ (Slope)
สาระสาคัญ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี
เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
10
ครูนารูปการเกิดปฏิกิริยาเคมีมาให้นักเรียนดู แล้วถามคาถาม
เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ในธรรมชาติและในชีวิตประจาวัน เช่น การเกิดสนิมเหล็ก และการระเบิด
ของดินปืนอันไหนเกิดปฏิกิริยาได้ช้าเร็วกว่ากัน”
“ถูกต้องครับ เดี๋ยวเราไปศึกษา
รายละเอียดความหมายและวิธีวัดอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมีกันเลยนะครับ”
“ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็กจะเกิดช้า
ส่วนปฏิกิริยาการระเบิดของดินปืน
จะเกิดได้เร็วกว่า คะคุณครู”
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ขั้นสร้างความสนใจ
รูปที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ที่มา : https://www.sites.google.com, 21 พฤษภาคม 2561
การเกิดสนิมเหล็ก การระเบิดของดินปืน
11
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหรือ
ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงจากปฏิกิริยาใน 1 หน่วยเวลา เขียนเป็นความสัมพันธ์ดังนี้
เวลา หมายถึง ระยะเวลาที่เกิดปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น
เวลา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง
เวลา
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี
“ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เนื้อหารายละเอียดเป็นอย่างไรนั้น ให้นักเรียนศึกษา
หาความรู้เนื้อหาต่อไปนี้ กันนะครับ”
2. ขั้นสารวจและค้นหาความรู้
1.
12
ประเภทของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจาก
การเปลี่ยนแปลงปริมาณของผลิตภัณฑ์ หรือสารตั้งต้น ทั้งหมดใน 1 หน่วยเวลา
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่ง หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจาก
การเปลี่ยนแปลงปริมาณของผลิตภัณฑ์ หรือสารตั้งต้นของช่วงเวลาหนึ่งใน 1 หน่วยเวลา
เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
V = ปริมาณของสาร t = เวลา
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะหนึ่ง หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลาใด
เวลาหนึ่ง ซึ่งเป็นค่าความชัน (Slope) ของกราฟระหว่างปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลง
กับเวลาซึ่งคานวณได้จาก
V = ปริมาณของสาร t = เวลา
ในปฏิกิริยาทั่ว ๆ ไป ช่วงแรกของการเกิดปฏิกิริยาจะค่อนข้างเร็วและค่อย ๆ ช้าลง
ตามลาดับ ทาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่งมีค่าไม่เท่ากัน
อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่ง =
∆V
=
V2 - V1
∆t t2 - t1
อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะหนึ่ง =
∆V
=
V2 - V1
∆t t2 - t1
13
ตัวอย่างที่ 1 จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่าง Mg กับ HCl ตามสมการ
Mg (s) + 2HCl (aq)  MgCl2 (aq) + H2 (g)
โดยการเก็บก๊าซ H2 จากการแทนที่สารละลายดังในรูป
ผลการทดลองเป็นดังนี้
ก. จงคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยของการเกิดก๊าซ H2
ข. จงคานวณอัตราการเกิดก๊าซ H2 ระหว่างเวลา 23 - 32 วินาที
ค. จงคานวณอัตราการเกิดก๊าซ H2 ณ วินาทีที่ 50
ปริมาตร H2 (cm3
) เวลา (s)
1
2
3
4
6
8
7
15
23
32
60
105
14
วิธีทา
ก. คานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย
ข. คานวณอัตราการเกิด H2 ในช่วง 23 - 32 วินาที
ค. คานวณอัตราการเกิด H2 ที่ วินาทีที่ 50
ถ้าเขียนกราฟระหว่างปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้นกับเวลาที่ใช้ โดยให้แกนตั้ง
แทนปริมาตร และแกนนอนแทนเวลา ค่า t
V


ก็คือความชัน (Slope) ของกราฟนั่นเอง
ดังนั้นเมื่อต้องการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่งจะทาได้โดยการหา
ความชันจากกราฟ ณ จุดหนึ่ง ๆ จากข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ เขียนเป็นกราฟได้ดังนี้
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย =
ปริมาตร H2 ทั้งหมด
เวลาทั้งหมด
=
8
105
= 0.076 cm3
/s
อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วง 23 - 32 วินาที =
∆V
∆t
=
V2 - V1
t2 - t1
=
4 - 3
32 - 23
= 0.11 cm3
/s
15
เมื่อต้องการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลา 50 วินาที ก็ทาได้โดยลากเส้นขนาน
กับแกนตั้งจากจุด 50 วินาที ขึ้นไปตัดกราฟที่จุด A หลังจากนั้นลากเส้นสัมผัสให้ผ่านจุด A
แล้วหาค่าความชัน (Slope) ที่จุด A ค่าความชันก็คือค่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลานั้น
เพราะฉะนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลา 50 วินาที = 0.0575 cm3
/s
นอกจากจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้นแล้ว
ยังสามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากปริมาณของ Mg และ HCl ที่ลดลงได้
จากกราฟ ความชัน =
∆V
∆t
=
V2 - V1
t2 - t1
=
8 – 3.4
100 - 20
= 0.0575 cm3
/s
16
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา จะพิจารณาจากการวัดปริมาณของสารตั้งต้นหรือ
สารผลิตภัณฑ์ก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสะดวกของการทดลอง ขึ้นอยู่กับลักษณะและสมบัติ
ของสารที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น
1. ถ้าในปฏิกิริยาเกี่ยวข้องเป็นก๊าซ อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากปริมาณของก๊าซ
ที่เกิดขึ้น หรือวัดจากความดันของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป
2. ถ้าในปฏิกิริยาเกี่ยวข้องกับสารที่มีสี อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากความเข้มข้น
ของสีที่ลดลงของสารตั้งต้น หรือความเข้มของสีที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์
3. ถ้าในปฏิกิริยาเกี่ยวข้องกับสารละลาย จะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากความเข้มข้น
ของสารละลายที่เปลี่ยนไป
นอกจากนี้ก็ยังสามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาด้วยวิธีการอย่างอื่น เช่น
- ถ้าเป็นของแข็ง จะใช้วิธีการชั่งมวล
- ถ้าเป็นสารละลายที่เกี่ยวข้องกับกรด - เบส ใช้วิธีวัด pH เป็นต้น
หน่วยของเวลา ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยา ถ้าปฏิกิริยาเกิดเร็วก็อาจจะวัดเป็นนาที
หรือวินาที ถ้าเกิดช้าอาจจะวัดเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน
หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยา ขึ้นอยู่กับหน่วยปริมาณของสารและเวลา เช่น
- ก๊าซใช้ลูกบาศก์เซนติเมตร/วินาที หรือ มิลลิเมตร/วินาที
- ของแข็งใช้เป็น กรัม/วินาที
- สารละลายใช้เป็น โมล/ลิตร – วินาที
ใบความรู้ที่ 2 วิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี
17
พิจารณาตัวอย่างการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้
1. ปฏิกิริยา Mg (s) + 2HCl (aq)  MgCl2 (aq) + H2 (g)
ปฏิกิริยานี้อาจวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสารต่าง ๆ ได้ดังนี้
I วัดจากปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น
II วัดจากความดันของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น
III วัดจากความเข้มข้นของ HCl ที่เกิดขึ้น
IV วัดจาก pH ของสารละลายที่เพิ่มขึ้น
V วัดจากมวลของ Mg ที่ลดลง
VI วัดจากความเข้มข้นของ MgCl2 ที่เพิ่มขึ้น
ทุกวิธีสามารถนาไปหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ทั้งสิ้น แต่วิธีที่สะดวกที่สุดสาหรับ
ปฏิกิริยาดังกล่าว คือวัดจากปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น
2. ปฏิกิริยา
2MnO4
-
(aq) + 5C2O4
2-
(aq) + 16H+
(aq)  2Mn2+
(aq) + 8H2O (l) + 10CO2 (g)
อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสีของ MnO4
-
ที่หายไป หรือจาก pH ที่เพิ่มขึ้น
3. ปฏิกิริยา 2H+
(aq) + S2O3
2-
(aq)  S (s) + SO2 (g) + H2O (l)
อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากปริมาณของตะกอน (ของแข็ง) ของกามะถัน
ที่เกิดขึ้น หรือจากความเข้มข้นของสารละลาย (H+
) ที่ลดลง
18
4. เมื่อนาก๊าซ N2O5 ไปละลายในตัวทาละลายอินทรีย์ชนิดหนึ่ง N2O5 จะสลายตัว
ดังสมการ
2N2O5 (g)  4NO2 (g) + O2 (g)
ถ้า NO2 ละลายในตัวทาละลายอินทรีย์นั้น และ O2 ไม่ละลาย วิธีการวัดอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้ วิธีใดบ้างใช้ได้
ก. วัดปริมาตรของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น
ข. วัดความดันของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น
ค. วัดการนาไฟฟูาของสารละลาย
ง. วัดมวลของสารละลายที่ลดลง
วิธีทา
ก. ใช้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับก๊าซ จึงสามารถวัดอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาจากปริมาตรของก๊าซ O2 ที่เพิ่มขึ้นได้
ข. ใช้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาของระบบที่มีก๊าซ
นอกจากจะวัดจากปริมาตรของก๊าซที่เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถวัดความดันของระบบที่เพิ่มขึ้น
หรือลดลงได้อีกด้วย
ค. ใช้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ได้ เนื่องจากเป็นการละลายในตัวทาละลายอินทรีย์
จึงไม่มีการแตกตัวเป็นไอออน ดังนั้นสารละลายจึงไม่นาไฟฟูา ทาให้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา
จากการนาไฟฟูาไม่ได้
ง. ใช้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ เนื่องจากในขณะที่เกิดปฏิกิริยา จะได้ก๊าซ O2
ซึ่งไม่ละลายในตัวทาละลายสามารถแยกออกไปได้ ทาให้มวลของระบบลดลง จึงสามารถ
วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากมวลที่ลดลงได้
19
1) ……………………………….……….………… 2) ……………………………….……….…………
3) ……………………………….……….………… 4) ……………………………….……….…………
5) ……………………………….……….………… 6) ……………………………….……….…………
1. ทาการทดลองเพื่อหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับ
สารละลายกรดไฮโดรคลอริกได้
2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนกับเวลา
และแปลผลจากกราฟได้
3. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ในช่วงเวลาต่าง ๆ ได้
4. คานวณหาอัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนได้
ชื่อสมาชิก
จุดประสงค์
3. ขั้นขยายความรู้หรือทากิจกรรม
กิจกรรม เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียม
กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
20
รายการ ต่อกลุ่ม
สารเคมี
1. ลวดแมกนีเซียมขนาด 0.5 cm x 10 cm
2. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 mol/dm3
3. น้า
1 ชิ้น
50 cm3
50 cm3
อุปกรณ์
1. กระบอกตวงขนาด 50 cm3
2. บีกเกอร์ขนาด 100 cm3
3. จุกยางชนิดที่มีรูตรงกลางสาหรับปิดกระบอกตวง
4. นาฬิกาที่มีเข็มวินาทีหรือนาฬิกาจับเวลา
5. กระดาษทรายขนาด 3 cm x 3 cm
1 อัน
2 ใบ
1 อัน
1 เรือน
1 แผ่น
1. ขณะทดลองต้องใช้ความละเอียดรอบคอบเป็นพิเศษ เพื่อจะให้ได้ข้อมูล
ที่คลาดเคลื่อนน้อยที่สุด โดยเฉพาะตอนจับเวลาและอ่านปริมาตรของก๊าซในช่วงเวลาต่าง ๆ
2. ขัดลวดแมกนีเซียมด้วยกระดาษทรายเพื่อกาจัดสารประกอบออกไซด์
ที่เคลือบผิวนอก
3. การอ่านปริมาตรของก๊าซต้องให้สายตาผู้อ่านอยู่ในระดับเดียวกับขีดที่อ่านและ
ให้จับเวลาต่อเนื่องกันไปจนถึงขีดก่อนที่แมกนีเซียมจะโผล่พ้นสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในการสังเกตและบันทึกข้อมูล
5. ในกรณีที่ทาการทดลองครั้งแรกไม่ได้ผล ให้ทาการทดลองซ้าแต่ต้องล้าง
กระบอกตวงด้วยสารละลายกรดชนิดเดียวกับที่ใช้ทดลองประมาณ 3 - 5 cm3
เพื่อกาจัดน้า
ที่เกาะอยู่ในกระบอกตวง ความเข้มข้นของกรดที่ใช้จะได้ไม่เปลี่ยนแปลง
สารเคมีและอุปกรณ์
คาแนะนาก่อนทากิจกรรม
21
1. นาลวด Mg มาขัดด้วยกระดาษทรายให้มันวาวแล้วนามาม้วนเป็นเกลียว
จากนั้นนามาเสียบที่รูของจุกยาง
2. นาจุกยางที่เสียบลวด Mg มาปิดปากกระบอกตวงที่เติมสารละลาย HCl 50 cm3
ไว้แล้ว
วิธีการทากิจกรรม
22
3. คว่ากระบอกตวงลงในบีกเกอร์ที่เติมน้า 50 cm3
4. จับเวลาขณะที่เกิดก๊าซปริมาตร 1 cm3
จนกระทั่งสารละลาย HCl ลดต่ากว่า
ระดับของลวด Mg แล้วบันทึกผลการทดลอง
23
กิจกรรมเรื่อง ..................................................................................................................................
สมมติฐานการทดลอง
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
ตัวแปรต้น ......................................................................................................................................
ตัวแปรตาม ....................................................................................................................................
ตัวแปรควบคุม ...............................................................................................................................
ปริมาตรก๊าซไฮโดรเจน (cm3
) เวลา (s)
ตารางบันทึกผลการทากิจกรรม
แบบบันทึกผลการทากิจกรรม
24
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
อภิปรายผลการทากิจกรรม
สรุปผลการทากิจกรรม
25
กิจกรรมเรื่อง .........ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก...................
สมมติฐานการทดลอง .................โลหะแมกนีเซียมทาปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก
ได้แมกนีเซียมคลอไรด์และก๊าซไฮโดรเจนเป็นผลิตภัณฑ์...................................................................
ตัวแปรต้น ................................โลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก...........................
ตัวแปรตาม .............................ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจน...............................................................
ตัวแปรควบคุม .......................ความยาวของโลหะแมกนีเซียมและความเข้มข้นของ
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก.............................................................................................................
ปริมาตรก๊าซไฮโดรเจน (cm3
) เวลา (s)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
20
42
65
86
109
134
164
204
256
-
ตัวอย่างตารางบันทึกผลการทากิจกรรม
ตัวอย่างแบบบันทึกผลการทากิจกรรม
26
ก๊าซที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก คือ
ก๊าซไฮโดรเจน ซึ่งเกิดขึ้นดังสมการ
Mg (s) + 2HCl (aq)  MgCl2 (aq) + H2 (g)
แมกนีเซียมคลอไรด์ที่เกิดขึ้นจะอยู่ในรูปของสารละลายสามารถตรวจสอบได้
โดยการระเหยให้แห้ง ซึ่งจะพบในรูปของเกลือสีขาว
ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นระหว่างขีด 0 - 1 ใช้เวลา 20 วินาที
ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นระหว่างขีด 5 - 6 ใช้เวลา 25 วินาที
ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นระหว่างขีด 8 - 9 ใช้เวลา 52 วินาที
ถ้าต้องการคานวณหาอัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนจะได้ดังนี้
อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนระหว่างขีด 0 – 1 =
1
= 0.050 cm3
/s
20
อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนระหว่างขีด 5 – 6 =
1
= 0.040 cm3
/s
25
อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนระหว่างขีด 8 – 9 =
1
= 0.019 cm3
/s
52
อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนเฉลี่ย =
9
= 0.035 cm3
/s
256
เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรก๊าซไฮโดรเจนกับเวลา
ลักษณะของกราฟเป็นดังนี้
ตัวอย่างอภิปรายผลการทากิจกรรม
27
จากกราฟ สามารถหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 50 ได้โดยลากเส้นจากจุด
วินาทีที่ 50 ตั้งฉากกับแกนเวลาขึ้นไปตัดกับเส้นกราฟที่จุด A ลากเส้นสัมผัส XY ผ่านจุด A
แล้วหาค่าความชัน (Slope) ของเส้นสัมผัสนั้น ซึ่งก็คืออัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 50
นั่นเอง
ในที่นี้อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 50 =
a
cm3
/s =
3 – 1.2
= 0.019 cm3
/s
b 50 -20
ส่วนอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 100 และ 150 ก็หาได้ในทานองเดียวกัน
1. ก๊าซที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก คือ
ก๊าซไฮโดรเจน เขียนสมการได้ดังนี้
Mg (s) + 2HCl (aq)  MgCl2 (aq) + H2 (g)
2. การเกิดก๊าซไฮโดรเจนแต่ละช่วงปริมาตรใช้เวลาไม่เท่ากัน ในช่วงแรกใช้เวลาน้อยและ
ในช่วงถัดไปใช้เวลามากขึ้นตามลาดับ
3. ลักษณะของกราฟในตอนเริ่มต้นมีความชันมากแสดงว่าปฏิกิริยาเกิดได้เร็ว เมื่อเวลา
ผ่านไปปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง ความชันของกราฟจึงลดลง
4. อาจวัดปริมาณสารผลิตภัณฑ์อื่น คือ แมกนีเซียมไอออนที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา
หรือวัดจากปริมาณสารตั้งต้นคือโลหะแมกนีเซียมหรือไฮโดรเจนไอออนที่ลดลงในหนึ่งหน่วยเวลา
ตัวอย่างสรุปผลการทากิจกรรม
28
4. ขั้นสรุป
2.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นค่าตัวเลขที่เกิดจากปริมาณของผลิตภัณฑ์
ที่เกิดขึ้นหรือปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงจากปฏิกิริยาหารด้วยระยะเวลาที่สาร
เกิดการเปลี่ยนแปลง และวิธีการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้นต้องพิจารณาว่า
สารใดสามารถวัดได้ง่ายและสะดวกที่สุด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยและอัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่งสามารถ
คานวณได้จากข้อมูลในตารางบันทึกผลการทดลอง ส่วนอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ณ ขณะหนึ่งต้องคานวณจากค่าความชันของกราฟ (Slope)
“จากการศึกษาและทากิจกรรม ความหมาย
และวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
นักเรียนสามารถสรุปความรู้ได้อย่างไร”
29
การประเมินผลในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี มีดังนี้
5. ขั้นประเมินผล
3.
1. ประเมินผลโดยใช้แบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ เรื่อง ความหมาย
และวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จานวน 5 ข้อ
ข้อละ 2 คะแนน รวม 10 คะแนน
2. ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบหลังเรียน เป็นข้อสอบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ รวม 10 คะแนน
30
ชื่อ - สกุล …………………………………………. ชั้น …………… เลขที่ ……….
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามในข้อที่ 1 - 3
จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
ทาการทดลองในระบบเปิด จึงทาให้ก๊าซ CO2 แพร่ออกจากระบบซึ่งหาปริมาณก๊าซ CO2
ที่เกิดขึ้นจากมวลของระบบที่หายไป และได้ผลการทดลองดังนี้
เวลา (นาที)
มวล(g)
ขวดรูปกรวย + บีกเกอร์บรรจุสาร ก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้น
0.0
1.0
2.0
3.0
4.0
5.0
6.0
142.080
142.075
142.067
142.065
142.063
142.061
142.059
0.000
0.005
0.013
0.015
0.017
0.019
0.021
แบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ
เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
31
1. จงคานวณหาอัตราการเกิดก๊าซ CO2 ที่ช่วง 5 – 6 นาที
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
2. จงคานวณหาอัตราการเกิด CO2 เฉลี่ย
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
3. จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
นอกจากจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากมวลของ CO2 ที่เปลี่ยนแปลงแล้วยังสามารถวัดได้
จากการเปลี่ยนแปลงของสารใด อย่างไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
4. จงอธิบายว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง
แตกต่างกันอย่างไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
5. สาร X ทาปฏิกิริยากับสาร Y เกิดเป็นสาร Z จากการทดลองพบว่าอัตราการลดลง
ของ X เท่ากับ 1/3 ของอัตราการลดลงของสาร Y และเท่ากับ 1/2 ของอัตราการเพิ่มขึ้น
ของสาร Z จงเขียนสมการแสดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
32
ชื่อ - สกุล …………………………………………. ชั้น …………… เลขที่ ……….
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)
1. จงคานวณหาอัตราการเกิดก๊าซ CO2 ที่ช่วง 5 – 6 นาที
แนวคาตอบ
อัตราการเกิดก๊าซ CO2 ระหว่าง 5 - 6 =
0.021 – 0.019
= 0.002 กรัม/นาที
1
2. จงคานวณหาอัตราการเกิด CO2 เฉลี่ย
แนวคาตอบ
อัตราการเกิดก๊าซ CO2 เฉลี่ย =
0.021
= 0.035 กรัม/นาที
6
3. จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
นอกจากจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากมวลของ CO2 ที่เปลี่ยนแปลงแล้วยังสามารถวัดได้
จากการเปลี่ยนแปลงของสารใด อย่างไร
แนวคาตอบ วัดปริมาตรก๊าซ CO2 โดยการแทนที่น้าเช่นเดียวกับการทดลอง
เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก หรือวัดปริมาณของ H+
ที่ลดลง โดยสังเกตจากค่า pH ที่เพิ่มขึ้น
แนวคาตอบแบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ
เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
33
4. จงอธิบายว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง
แตกต่างกันอย่างไร
แนวคาตอบ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย เป็นค่าที่แสดงถึงความเข้มข้นของสารตั้งต้น
ที่ลดลงหรือความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดปฏิกิริยาต่อระยะเวลา
ที่เกิดปฏิกิริยา แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง เป็นค่าที่แสดงถึงความเข้มข้น
ของสารตั้งต้นที่ลดลงหรือความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ณ จุดใดจุดหนึ่งหรือเวลาใด
เวลาหนึ่งขณะที่ปฏิกิริยากาลังดาเนินอยู่
5. สาร X ทาปฏิกิริยากับสาร Y เกิดเป็นสาร Z จากการทดลองพบว่าอัตราการลดลง
ของ X เท่ากับ 1/3 ของอัตราการลดลงของสาร Y และเท่ากับ 1/2 ของอัตราการเพิ่มขึ้น
ของสาร Z จงเขียนสมการแสดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
แนวคาตอบ สมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้
X + 3Y  2Z
34
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบชุดนี้เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
ใช้เวลา 10 นาที 10 คะแนน
2. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดจากตัวเลือก ก – ง เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X
ลงในกระดาษคาตอบ
1. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซ H2 กับเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ที่วินาทีที่ 50 มีค่าเท่าใด
ปริมาตร H2 (cm3
)
เวลา (s)
ก. 0.012 cm3
/s
ข. 0.034 cm3
/s
ค. 0.068 cm3
/s
ง. 0.084 cm3
/s
แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
35
คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 2 - 4
จากรูปเป็นการทดลองวัดอัตราการเกิดก๊าซ H2 จากการเกิดปฏิกิริยาของลวด Mg
กับสารละลายกรด HCl ได้ผลดังตาราง
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด
ก. 0.08 cm3
/s
ข. 0.06 cm3
/s
ค. 0.04 cm3
/s
ง. 0.02 cm3
/s
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงวินาทีที่ 60 - 100 มีค่าเท่าใด
ก. 0.04 cm3
/s
ข. 0.05 cm3
/s
ค. 0.06 cm3
/s
ง. 0.07 cm3
/s
4. จากปฏิกิริยานี้ สารใดที่ไม่ควรนามาวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. Mg
ข. HCl
ค. MgCl2
ง. ทั้ง Mg และ MgCl2
ปริมาตร H2
(cm3
)
เวลา
(s)
ปริมาตร H2
(cm3
)
เวลา
(s)
1
2
3
6
15
20
4
6
8
30
60
100
36
5. จากปฏิกิริยา 2Al (s) + 2NaOH (aq) + 6H2O (l)  2NaAl(OH)4 (aq) + 3H2 (g)
สารใดไม่เหมาะที่จะนามาวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. NaAl(OH)4
ข. H2
ค. NaOH
ง. Al
6. จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
ทาการทดลองในระบบเปิด จึงทาให้ก๊าซ CO2 แพร่ออกจากระบบซึ่งหาปริมาณก๊าซ CO2
ที่เกิดขึ้นจากมวลของระบบที่หายไป และได้ผลการทดลองดังนี้
เวลา (นาที)
มวล (g)
ขวดรูปกรวย + บีกเกอร์บรรจุสาร ก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้น
0.0
1.0
2.0
3.0
142.080
142.075
142.067
142.065
0.000
0.005
0.013
0.015
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย มีค่าเท่าใด
ก. 0.002 กรัม/นาที
ข. 0.003 กรัม/นาที
ค. 0.005 กรัม/นาที
ง. 0.007 กรัม/นาที
7. ข้อใดหมายถึงอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ก. ปริมาตรของสารใน 1 หน่วยเวลา
ข. มวลของสารใน 1 หน่วยเวลา
ค. ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงใน 1 หน่วยเวลา
ง. ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงต่อเวลาทั้งหมด
37
8. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาของแต่ละช่วงเวลามีค่าเท่ากัน
หรือไม่อย่างไร
ก. เท่ากันเพราะวัดจากข้อมูลเดียวกัน
ข. เท่ากันเพราะเป็นปฏิกิริยาของสารชนิดเดียวกัน
ค. ไม่เท่ากันเพราะใช้เวลาต่างกัน
ง. ไม่เท่ากันเพราะปริมาณสารและเวลาต่างกัน
9. จากปฏิกิริยา A (s) + B (aq)  C (aq) + D (g) ถ้าต้องการวัดอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมีควรเลือกสารใด
ก. สาร A
ข. สาร B
ค. สาร C
ง. สาร D
10. จากปฏิกิริยา 2H+
(aq) + S2O3
2-
(aq)  S (s) + SO2 (g) + H2O (l) ถ้าจะวัด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาสารใดที่ไม่ควรวัด
ก. H+
ข. S
ค. S2O3
2-
ง. SO2
38
ก่อนเรียน หลังเรียน
ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ
1. ค 1. ข
2. ง 2. ก
3. ง 3. ข
4. ค 4. ง
5. ก 5. ก
6. ข 6. ค
7. ง 7. ค
8. ข 8. ง
9. ก 9. ง
10. ค 10. ค
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
39
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมเคมี เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
. (2549). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เล่ม 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กฤษณา ชุติมา. (2549). หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี. (2540). เคมี เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 10.
กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
นิพนธ์ กชทองรัศมี. (2550). ติวเข้มเคมี ม.ปลาย ม.4 - ม.5 - ม.6. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์.
ประภาณี เกษมศรี ณ อยุธยาและคณะ. (2550). เคมีทั่วไปเล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พินิติ รตะนานุกูล และคณะ. (2549). เคมี เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธิการพิมพ์.
ลัดดา มีศุข. (2549). เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วีรชาติ สวนไพรินทร์. (2553). รายวิชาเคมีเพิ่มเติม เล่ม 3. กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิต.
https://www.sites.google.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2561

More Related Content

What's hot

บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
 

What's hot (20)

บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
พื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบสพื้นฐานกรดเบส
พื้นฐานกรดเบส
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดอัตราปฏิกิริยาเคมี เล่ม4
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959mamka
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีpoomarin
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีshanesha
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีkchwjrak
 
ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 Manatsawin Kongthong
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
Course Syllabus
Course SyllabusCourse Syllabus
Course SyllabusKusonwan
 
เคมีสอวน
เคมีสอวนเคมีสอวน
เคมีสอวนmemmosrp
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (20)

P57176810959
P57176810959P57176810959
P57176810959
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมี
 
s
ss
s
 
06 chem2554
06 chem255406 chem2554
06 chem2554
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54 ข้อสอบเคมี มข. 54
ข้อสอบเคมี มข. 54
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
Course Syllabus
Course SyllabusCourse Syllabus
Course Syllabus
 
เคมีสอวน
เคมีสอวนเคมีสอวน
เคมีสอวน
 
เคมีโอ
เคมีโอเคมีโอ
เคมีโอ
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

  • 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โรงเรียนช่องแมววิทยาคม อาเภอลาทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ว่าที่ร้อยตรีอานาจ ก่ายแก้ว ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
  • 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้และพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ทักษะ การสังเกต การสารวจ การสืบค้น การทดลอง และสรุปลงความคิดเห็นข้อมูลได้เป็นอย่างดี การจัดทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ได้แบ่งเนื้อหาออกเป็นเรื่องย่อย ๆ มีทั้งหมด 6 เล่ม ดังนี้ เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 2 กระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 3 ความเข้มข้นของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 4 พื้นที่ผิวของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 5 อุณหภูมิกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 6 ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมีโดยใช้กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและช่วยให้ครูสามารถใช้พัฒนาการเรียนการสอน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อานาจ ก่ายแก้ว คำนำ
  • 3. เรื่อง หน้ำ คาชี้แจง 1 ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี 2 แบบทดสอบก่อนเรียน 3 มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ 7 จุดประสงค์การเรียนรู้ 8 สาระสาคัญ 9 กระบวนการจัดการเรียนรู้ 10 1. ขั้นสร้างความสนใจ 10 2. ขั้นสารวจและค้นหาความรู้ 11 3. ขั้นขยายความรู้หรือทากิจกรรม 19 4. ขั้นสรุป 28 5. ขั้นประเมินผล 29 แบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ 30 แนวคาตอบแบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ 32 แบบทดสอบหลังเรียน 34 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 38 บรรณานุกรม 39 สำรบัญ
  • 4. 1 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมีโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียน ใช้ประกอบการเรียนรู้ในวิชาเคมี ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง 2. ในแต่ละหน้าของแต่ละชุดกิจกรรมการเรียนรู้จะมีเนื้อหาสาระ คาแนะนา หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งคาถาม ให้นักเรียนได้ศึกษาและฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนทักษะในการนาไปใช้แก้ปัญหา 3. ให้นักเรียนอ่านคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจ 4. ก่อนศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพื่อวัดความรู้พื้นฐาน 5. ศึกษาจุดประสงค์ สาระสาคัญ เนื้อหาในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี 6. ในแบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะให้นักเรียนตอบคาถามอย่างซื่อสัตย์และมีวินัย ในตนเอง ไม่ควรเปิดดูคาตอบก่อนที่จะศึกษาให้เข้าใจ เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกกิจกรรม เสริมทักษะเสร็จแล้วจึงตรวจคาตอบจากเฉลยเพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการทางด้านการเรียน ของตนเอง 7. เรียนรู้ตามกิจกรรมที่ครูผู้สอนจัดให้ในชุดกิจกรรม มีสื่ออุปกรณ์ในการปฏิบัติ ให้นักเรียนปฏิบัติให้เรียบร้อยและครบถ้วน 8. ทาแบบทดสอบหลังเรียน 9. ตรวจคาตอบจากเฉลย เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเรียนของตนเอง และจะได้ทราบถึงพัฒนาการทางด้านความคิด ความรู้ความเข้าใจจากเรื่องที่ศึกษา คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี
  • 5. 2 ไม่ผ่านผ่าน 2. แบบทดสอบก่อนเรียน 4. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ 5. ศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ 6. สรุป 8. แบบทดสอบหลังเรียน พบครู 3. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ 7. แบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ 1. คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เสริม ซ่อม
  • 6. 3 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบชุดนี้เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดจากตัวเลือก ก – ง เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดหมายถึงอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. ปริมาตรของสารใน 1 หน่วยเวลา ข. มวลของสารใน 1 หน่วยเวลา ค. ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงใน 1 หน่วยเวลา ง. ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงต่อเวลาทั้งหมด 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาของแต่ละช่วงเวลามีค่าเท่ากัน หรือไม่อย่างไร ก. เท่ากันเพราะวัดจากข้อมูลเดียวกัน ข. เท่ากันเพราะเป็นปฏิกิริยาของสารชนิดเดียวกัน ค. ไม่เท่ากันเพราะใช้เวลาต่างกัน ง. ไม่เท่ากันเพราะปริมาณสารและเวลาต่างกัน แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 7. 4 3. จากปฏิกิริยา A (s) + B (aq)  C (aq) + D (g) ถ้าต้องการวัดอัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมีควรเลือกสารใด ก. สาร A ข. สาร B ค. สาร C ง. สาร D 4. จากปฏิกิริยา 2H+ (aq) + S2O3 2- (aq)  S (s) + SO2 (g) + H2O (l) ถ้าจะวัด อัตราการเกิดปฏิกิริยาสารใดที่ไม่ควรวัด ก. H+ ข. S ค. S2O3 2- ง. SO2 คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 5 - 7 จากรูปเป็นการทดลองวัดอัตราการเกิดก๊าซ H2 จากการเกิดปฏิกิริยาของลวด Mg กับสารละลายกรด HCl ได้ผลดังตาราง 5. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด ก. 0.08 cm3 /s ข. 0.06 cm3 /s ค. 0.04 cm3 /s ง. 0.02 cm3 /s ปริมาตร H2 (cm3 ) เวลา (s) ปริมาตร H2 (cm3 ) เวลา (s) 1 2 3 6 15 20 4 6 8 30 60 100
  • 8. 5 6. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงวินาทีที่ 60 - 100 มีค่าเท่าใด ก. 0.04 cm3 /s ข. 0.05 cm3 /s ค. 0.06 cm3 /s ง. 0.07 cm3 /s 7. จากปฏิกิริยานี้ สารใดที่ไม่ควรนามาวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. Mg ข. HCl ค. MgCl2 ง. ทั้ง Mg และ MgCl2 8. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซ H2 กับเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยา ที่วินาทีที่ 50 มีค่าเท่าใด ปริมาตร H2 (cm3 ) เวลา (s) ก. 0.012 cm3 /s ข. 0.034 cm3 /s ค. 0.068 cm3 /s ง. 0.084 cm3 /s
  • 9. 6 9. จากปฏิกิริยา 2Al (s) + 2NaOH (aq) + 6H2O (l)  2NaAl(OH)4 (aq) + 3H2 (g) สารใดไม่เหมาะที่จะนามาวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. NaAl(OH)4 ข. H2 ค. NaOH ง. Al 10. จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l) ทาการทดลองในระบบเปิด จึงทาให้ก๊าซ CO2 แพร่ออกจากระบบซึ่งหาปริมาณก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้นจากมวลของระบบที่หายไป และได้ผลการทดลองดังนี้ เวลา (นาที) มวล (g) ขวดรูปกรวย + บีกเกอร์บรรจุสาร ก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้น 0.0 1.0 2.0 3.0 142.080 142.075 142.067 142.065 0.000 0.005 0.013 0.015 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย มีค่าเท่าใด ก. 0.002 กรัม/นาที ข. 0.003 กรัม/นาที ค. 0.005 กรัม/นาที ง. 0.007 กรัม/นาที
  • 10. 7 มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ทดลองและคานวณเกี่ยวกับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้
  • 11. 8 จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ความรู้ 1) อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพร้อมทั้งยกตัวอย่างได้ 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทาการทดลองเพื่อหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างแมกนีเซียมกับ กรดไฮโดรคลอริกและอะลูมิเนียมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ได้ 2) คานวณหาอัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนได้ 3) เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซกับเวลา และใช้กราฟ เป็นข้อมูลแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลาต่าง ๆ ได้ 2.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) มีความสนใจใฝุเรียนรู้ 2) มีความรอบคอบ 3) มีเหตุผลยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น 4) มีความมุ่งมั่นในการทางาน 5) มีความสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 12. 9 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นค่าตัวเลขที่เกิดจากปริมาณของผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึ้นหรือปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงจากปฏิกิริยาหารด้วยระยะเวลาที่สาร เกิดการเปลี่ยนแปลง และวิธีการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้นต้องพิจารณาว่าสารใด สามารถวัดได้ง่ายและสะดวกที่สุด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยและอัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่ง สามารถคานวณได้จากข้อมูลในตารางบันทึกผลการทดลอง ส่วนอัตราการการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะหนึ่งต้องคานวณจากค่าความชันของกราฟ (Slope) สาระสาคัญ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เล่มที่ 1 ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 13. 10 ครูนารูปการเกิดปฏิกิริยาเคมีมาให้นักเรียนดู แล้วถามคาถาม เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ในธรรมชาติและในชีวิตประจาวัน เช่น การเกิดสนิมเหล็ก และการระเบิด ของดินปืนอันไหนเกิดปฏิกิริยาได้ช้าเร็วกว่ากัน” “ถูกต้องครับ เดี๋ยวเราไปศึกษา รายละเอียดความหมายและวิธีวัดอัตรา การเกิดปฏิกิริยาเคมีกันเลยนะครับ” “ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็กจะเกิดช้า ส่วนปฏิกิริยาการระเบิดของดินปืน จะเกิดได้เร็วกว่า คะคุณครู” กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นสร้างความสนใจ รูปที่ 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี ที่มา : https://www.sites.google.com, 21 พฤษภาคม 2561 การเกิดสนิมเหล็ก การระเบิดของดินปืน
  • 14. 11 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหรือ ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงจากปฏิกิริยาใน 1 หน่วยเวลา เขียนเป็นความสัมพันธ์ดังนี้ เวลา หมายถึง ระยะเวลาที่เกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น เวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง เวลา ใบความรู้ที่ 1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี “ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เนื้อหารายละเอียดเป็นอย่างไรนั้น ให้นักเรียนศึกษา หาความรู้เนื้อหาต่อไปนี้ กันนะครับ” 2. ขั้นสารวจและค้นหาความรู้ 1.
  • 15. 12 ประเภทของอัตราการเกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจาก การเปลี่ยนแปลงปริมาณของผลิตภัณฑ์ หรือสารตั้งต้น ทั้งหมดใน 1 หน่วยเวลา 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่ง หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจาก การเปลี่ยนแปลงปริมาณของผลิตภัณฑ์ หรือสารตั้งต้นของช่วงเวลาหนึ่งใน 1 หน่วยเวลา เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ V = ปริมาณของสาร t = เวลา 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะหนึ่ง หมายถึง อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลาใด เวลาหนึ่ง ซึ่งเป็นค่าความชัน (Slope) ของกราฟระหว่างปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลง กับเวลาซึ่งคานวณได้จาก V = ปริมาณของสาร t = เวลา ในปฏิกิริยาทั่ว ๆ ไป ช่วงแรกของการเกิดปฏิกิริยาจะค่อนข้างเร็วและค่อย ๆ ช้าลง ตามลาดับ ทาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่งมีค่าไม่เท่ากัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่ง = ∆V = V2 - V1 ∆t t2 - t1 อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะหนึ่ง = ∆V = V2 - V1 ∆t t2 - t1
  • 16. 13 ตัวอย่างที่ 1 จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่าง Mg กับ HCl ตามสมการ Mg (s) + 2HCl (aq)  MgCl2 (aq) + H2 (g) โดยการเก็บก๊าซ H2 จากการแทนที่สารละลายดังในรูป ผลการทดลองเป็นดังนี้ ก. จงคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยของการเกิดก๊าซ H2 ข. จงคานวณอัตราการเกิดก๊าซ H2 ระหว่างเวลา 23 - 32 วินาที ค. จงคานวณอัตราการเกิดก๊าซ H2 ณ วินาทีที่ 50 ปริมาตร H2 (cm3 ) เวลา (s) 1 2 3 4 6 8 7 15 23 32 60 105
  • 17. 14 วิธีทา ก. คานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย ข. คานวณอัตราการเกิด H2 ในช่วง 23 - 32 วินาที ค. คานวณอัตราการเกิด H2 ที่ วินาทีที่ 50 ถ้าเขียนกราฟระหว่างปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้นกับเวลาที่ใช้ โดยให้แกนตั้ง แทนปริมาตร และแกนนอนแทนเวลา ค่า t V   ก็คือความชัน (Slope) ของกราฟนั่นเอง ดังนั้นเมื่อต้องการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่งจะทาได้โดยการหา ความชันจากกราฟ ณ จุดหนึ่ง ๆ จากข้อมูลที่โจทย์กาหนดให้ เขียนเป็นกราฟได้ดังนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย = ปริมาตร H2 ทั้งหมด เวลาทั้งหมด = 8 105 = 0.076 cm3 /s อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วง 23 - 32 วินาที = ∆V ∆t = V2 - V1 t2 - t1 = 4 - 3 32 - 23 = 0.11 cm3 /s
  • 18. 15 เมื่อต้องการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลา 50 วินาที ก็ทาได้โดยลากเส้นขนาน กับแกนตั้งจากจุด 50 วินาที ขึ้นไปตัดกราฟที่จุด A หลังจากนั้นลากเส้นสัมผัสให้ผ่านจุด A แล้วหาค่าความชัน (Slope) ที่จุด A ค่าความชันก็คือค่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลานั้น เพราะฉะนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลา 50 วินาที = 0.0575 cm3 /s นอกจากจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้นแล้ว ยังสามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากปริมาณของ Mg และ HCl ที่ลดลงได้ จากกราฟ ความชัน = ∆V ∆t = V2 - V1 t2 - t1 = 8 – 3.4 100 - 20 = 0.0575 cm3 /s
  • 19. 16 การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา จะพิจารณาจากการวัดปริมาณของสารตั้งต้นหรือ สารผลิตภัณฑ์ก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสะดวกของการทดลอง ขึ้นอยู่กับลักษณะและสมบัติ ของสารที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างเช่น 1. ถ้าในปฏิกิริยาเกี่ยวข้องเป็นก๊าซ อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากปริมาณของก๊าซ ที่เกิดขึ้น หรือวัดจากความดันของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป 2. ถ้าในปฏิกิริยาเกี่ยวข้องกับสารที่มีสี อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากความเข้มข้น ของสีที่ลดลงของสารตั้งต้น หรือความเข้มของสีที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์ 3. ถ้าในปฏิกิริยาเกี่ยวข้องกับสารละลาย จะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากความเข้มข้น ของสารละลายที่เปลี่ยนไป นอกจากนี้ก็ยังสามารถวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาด้วยวิธีการอย่างอื่น เช่น - ถ้าเป็นของแข็ง จะใช้วิธีการชั่งมวล - ถ้าเป็นสารละลายที่เกี่ยวข้องกับกรด - เบส ใช้วิธีวัด pH เป็นต้น หน่วยของเวลา ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยา ถ้าปฏิกิริยาเกิดเร็วก็อาจจะวัดเป็นนาที หรือวินาที ถ้าเกิดช้าอาจจะวัดเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยา ขึ้นอยู่กับหน่วยปริมาณของสารและเวลา เช่น - ก๊าซใช้ลูกบาศก์เซนติเมตร/วินาที หรือ มิลลิเมตร/วินาที - ของแข็งใช้เป็น กรัม/วินาที - สารละลายใช้เป็น โมล/ลิตร – วินาที ใบความรู้ที่ 2 วิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี
  • 20. 17 พิจารณาตัวอย่างการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้ 1. ปฏิกิริยา Mg (s) + 2HCl (aq)  MgCl2 (aq) + H2 (g) ปฏิกิริยานี้อาจวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสารต่าง ๆ ได้ดังนี้ I วัดจากปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น II วัดจากความดันของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น III วัดจากความเข้มข้นของ HCl ที่เกิดขึ้น IV วัดจาก pH ของสารละลายที่เพิ่มขึ้น V วัดจากมวลของ Mg ที่ลดลง VI วัดจากความเข้มข้นของ MgCl2 ที่เพิ่มขึ้น ทุกวิธีสามารถนาไปหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ทั้งสิ้น แต่วิธีที่สะดวกที่สุดสาหรับ ปฏิกิริยาดังกล่าว คือวัดจากปริมาตรของก๊าซ H2 ที่เกิดขึ้น 2. ปฏิกิริยา 2MnO4 - (aq) + 5C2O4 2- (aq) + 16H+ (aq)  2Mn2+ (aq) + 8H2O (l) + 10CO2 (g) อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากสีของ MnO4 - ที่หายไป หรือจาก pH ที่เพิ่มขึ้น 3. ปฏิกิริยา 2H+ (aq) + S2O3 2- (aq)  S (s) + SO2 (g) + H2O (l) อาจจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากปริมาณของตะกอน (ของแข็ง) ของกามะถัน ที่เกิดขึ้น หรือจากความเข้มข้นของสารละลาย (H+ ) ที่ลดลง
  • 21. 18 4. เมื่อนาก๊าซ N2O5 ไปละลายในตัวทาละลายอินทรีย์ชนิดหนึ่ง N2O5 จะสลายตัว ดังสมการ 2N2O5 (g)  4NO2 (g) + O2 (g) ถ้า NO2 ละลายในตัวทาละลายอินทรีย์นั้น และ O2 ไม่ละลาย วิธีการวัดอัตรา การเกิดปฏิกิริยาต่อไปนี้ วิธีใดบ้างใช้ได้ ก. วัดปริมาตรของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น ข. วัดความดันของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น ค. วัดการนาไฟฟูาของสารละลาย ง. วัดมวลของสารละลายที่ลดลง วิธีทา ก. ใช้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับก๊าซ จึงสามารถวัดอัตรา การเกิดปฏิกิริยาจากปริมาตรของก๊าซ O2 ที่เพิ่มขึ้นได้ ข. ใช้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาของระบบที่มีก๊าซ นอกจากจะวัดจากปริมาตรของก๊าซที่เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถวัดความดันของระบบที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงได้อีกด้วย ค. ใช้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ได้ เนื่องจากเป็นการละลายในตัวทาละลายอินทรีย์ จึงไม่มีการแตกตัวเป็นไอออน ดังนั้นสารละลายจึงไม่นาไฟฟูา ทาให้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา จากการนาไฟฟูาไม่ได้ ง. ใช้วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาได้ เนื่องจากในขณะที่เกิดปฏิกิริยา จะได้ก๊าซ O2 ซึ่งไม่ละลายในตัวทาละลายสามารถแยกออกไปได้ ทาให้มวลของระบบลดลง จึงสามารถ วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากมวลที่ลดลงได้
  • 22. 19 1) ……………………………….……….………… 2) ……………………………….……….………… 3) ……………………………….……….………… 4) ……………………………….……….………… 5) ……………………………….……….………… 6) ……………………………….……….………… 1. ทาการทดลองเพื่อหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับ สารละลายกรดไฮโดรคลอริกได้ 2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนกับเวลา และแปลผลจากกราฟได้ 3. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ในช่วงเวลาต่าง ๆ ได้ 4. คานวณหาอัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนได้ ชื่อสมาชิก จุดประสงค์ 3. ขั้นขยายความรู้หรือทากิจกรรม กิจกรรม เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียม กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
  • 23. 20 รายการ ต่อกลุ่ม สารเคมี 1. ลวดแมกนีเซียมขนาด 0.5 cm x 10 cm 2. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.2 mol/dm3 3. น้า 1 ชิ้น 50 cm3 50 cm3 อุปกรณ์ 1. กระบอกตวงขนาด 50 cm3 2. บีกเกอร์ขนาด 100 cm3 3. จุกยางชนิดที่มีรูตรงกลางสาหรับปิดกระบอกตวง 4. นาฬิกาที่มีเข็มวินาทีหรือนาฬิกาจับเวลา 5. กระดาษทรายขนาด 3 cm x 3 cm 1 อัน 2 ใบ 1 อัน 1 เรือน 1 แผ่น 1. ขณะทดลองต้องใช้ความละเอียดรอบคอบเป็นพิเศษ เพื่อจะให้ได้ข้อมูล ที่คลาดเคลื่อนน้อยที่สุด โดยเฉพาะตอนจับเวลาและอ่านปริมาตรของก๊าซในช่วงเวลาต่าง ๆ 2. ขัดลวดแมกนีเซียมด้วยกระดาษทรายเพื่อกาจัดสารประกอบออกไซด์ ที่เคลือบผิวนอก 3. การอ่านปริมาตรของก๊าซต้องให้สายตาผู้อ่านอยู่ในระดับเดียวกับขีดที่อ่านและ ให้จับเวลาต่อเนื่องกันไปจนถึงขีดก่อนที่แมกนีเซียมจะโผล่พ้นสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในการสังเกตและบันทึกข้อมูล 5. ในกรณีที่ทาการทดลองครั้งแรกไม่ได้ผล ให้ทาการทดลองซ้าแต่ต้องล้าง กระบอกตวงด้วยสารละลายกรดชนิดเดียวกับที่ใช้ทดลองประมาณ 3 - 5 cm3 เพื่อกาจัดน้า ที่เกาะอยู่ในกระบอกตวง ความเข้มข้นของกรดที่ใช้จะได้ไม่เปลี่ยนแปลง สารเคมีและอุปกรณ์ คาแนะนาก่อนทากิจกรรม
  • 24. 21 1. นาลวด Mg มาขัดด้วยกระดาษทรายให้มันวาวแล้วนามาม้วนเป็นเกลียว จากนั้นนามาเสียบที่รูของจุกยาง 2. นาจุกยางที่เสียบลวด Mg มาปิดปากกระบอกตวงที่เติมสารละลาย HCl 50 cm3 ไว้แล้ว วิธีการทากิจกรรม
  • 25. 22 3. คว่ากระบอกตวงลงในบีกเกอร์ที่เติมน้า 50 cm3 4. จับเวลาขณะที่เกิดก๊าซปริมาตร 1 cm3 จนกระทั่งสารละลาย HCl ลดต่ากว่า ระดับของลวด Mg แล้วบันทึกผลการทดลอง
  • 26. 23 กิจกรรมเรื่อง .................................................................................................................................. สมมติฐานการทดลอง ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ตัวแปรต้น ...................................................................................................................................... ตัวแปรตาม .................................................................................................................................... ตัวแปรควบคุม ............................................................................................................................... ปริมาตรก๊าซไฮโดรเจน (cm3 ) เวลา (s) ตารางบันทึกผลการทากิจกรรม แบบบันทึกผลการทากิจกรรม
  • 27. 24 ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ อภิปรายผลการทากิจกรรม สรุปผลการทากิจกรรม
  • 28. 25 กิจกรรมเรื่อง .........ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก................... สมมติฐานการทดลอง .................โลหะแมกนีเซียมทาปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก ได้แมกนีเซียมคลอไรด์และก๊าซไฮโดรเจนเป็นผลิตภัณฑ์................................................................... ตัวแปรต้น ................................โลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก........................... ตัวแปรตาม .............................ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจน............................................................... ตัวแปรควบคุม .......................ความยาวของโลหะแมกนีเซียมและความเข้มข้นของ สารละลายกรดไฮโดรคลอริก............................................................................................................. ปริมาตรก๊าซไฮโดรเจน (cm3 ) เวลา (s) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 20 42 65 86 109 134 164 204 256 - ตัวอย่างตารางบันทึกผลการทากิจกรรม ตัวอย่างแบบบันทึกผลการทากิจกรรม
  • 29. 26 ก๊าซที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก คือ ก๊าซไฮโดรเจน ซึ่งเกิดขึ้นดังสมการ Mg (s) + 2HCl (aq)  MgCl2 (aq) + H2 (g) แมกนีเซียมคลอไรด์ที่เกิดขึ้นจะอยู่ในรูปของสารละลายสามารถตรวจสอบได้ โดยการระเหยให้แห้ง ซึ่งจะพบในรูปของเกลือสีขาว ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นระหว่างขีด 0 - 1 ใช้เวลา 20 วินาที ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นระหว่างขีด 5 - 6 ใช้เวลา 25 วินาที ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นระหว่างขีด 8 - 9 ใช้เวลา 52 วินาที ถ้าต้องการคานวณหาอัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนจะได้ดังนี้ อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนระหว่างขีด 0 – 1 = 1 = 0.050 cm3 /s 20 อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนระหว่างขีด 5 – 6 = 1 = 0.040 cm3 /s 25 อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนระหว่างขีด 8 – 9 = 1 = 0.019 cm3 /s 52 อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนเฉลี่ย = 9 = 0.035 cm3 /s 256 เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรก๊าซไฮโดรเจนกับเวลา ลักษณะของกราฟเป็นดังนี้ ตัวอย่างอภิปรายผลการทากิจกรรม
  • 30. 27 จากกราฟ สามารถหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 50 ได้โดยลากเส้นจากจุด วินาทีที่ 50 ตั้งฉากกับแกนเวลาขึ้นไปตัดกับเส้นกราฟที่จุด A ลากเส้นสัมผัส XY ผ่านจุด A แล้วหาค่าความชัน (Slope) ของเส้นสัมผัสนั้น ซึ่งก็คืออัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 50 นั่นเอง ในที่นี้อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 50 = a cm3 /s = 3 – 1.2 = 0.019 cm3 /s b 50 -20 ส่วนอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาทีที่ 100 และ 150 ก็หาได้ในทานองเดียวกัน 1. ก๊าซที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก คือ ก๊าซไฮโดรเจน เขียนสมการได้ดังนี้ Mg (s) + 2HCl (aq)  MgCl2 (aq) + H2 (g) 2. การเกิดก๊าซไฮโดรเจนแต่ละช่วงปริมาตรใช้เวลาไม่เท่ากัน ในช่วงแรกใช้เวลาน้อยและ ในช่วงถัดไปใช้เวลามากขึ้นตามลาดับ 3. ลักษณะของกราฟในตอนเริ่มต้นมีความชันมากแสดงว่าปฏิกิริยาเกิดได้เร็ว เมื่อเวลา ผ่านไปปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง ความชันของกราฟจึงลดลง 4. อาจวัดปริมาณสารผลิตภัณฑ์อื่น คือ แมกนีเซียมไอออนที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา หรือวัดจากปริมาณสารตั้งต้นคือโลหะแมกนีเซียมหรือไฮโดรเจนไอออนที่ลดลงในหนึ่งหน่วยเวลา ตัวอย่างสรุปผลการทากิจกรรม
  • 31. 28 4. ขั้นสรุป 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นค่าตัวเลขที่เกิดจากปริมาณของผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึ้นหรือปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลงจากปฏิกิริยาหารด้วยระยะเวลาที่สาร เกิดการเปลี่ยนแปลง และวิธีการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้นต้องพิจารณาว่า สารใดสามารถวัดได้ง่ายและสะดวกที่สุด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยและอัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงเวลาหนึ่งสามารถ คานวณได้จากข้อมูลในตารางบันทึกผลการทดลอง ส่วนอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะหนึ่งต้องคานวณจากค่าความชันของกราฟ (Slope) “จากการศึกษาและทากิจกรรม ความหมาย และวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี นักเรียนสามารถสรุปความรู้ได้อย่างไร”
  • 32. 29 การประเมินผลในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี มีดังนี้ 5. ขั้นประเมินผล 3. 1. ประเมินผลโดยใช้แบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ เรื่อง ความหมาย และวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จานวน 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 10 คะแนน 2. ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบหลังเรียน เป็นข้อสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ รวม 10 คะแนน
  • 33. 30 ชื่อ - สกุล …………………………………………. ชั้น …………… เลขที่ ………. คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามในข้อที่ 1 - 3 จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l) ทาการทดลองในระบบเปิด จึงทาให้ก๊าซ CO2 แพร่ออกจากระบบซึ่งหาปริมาณก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้นจากมวลของระบบที่หายไป และได้ผลการทดลองดังนี้ เวลา (นาที) มวล(g) ขวดรูปกรวย + บีกเกอร์บรรจุสาร ก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้น 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 142.080 142.075 142.067 142.065 142.063 142.061 142.059 0.000 0.005 0.013 0.015 0.017 0.019 0.021 แบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 34. 31 1. จงคานวณหาอัตราการเกิดก๊าซ CO2 ที่ช่วง 5 – 6 นาที .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. จงคานวณหาอัตราการเกิด CO2 เฉลี่ย .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l) นอกจากจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากมวลของ CO2 ที่เปลี่ยนแปลงแล้วยังสามารถวัดได้ จากการเปลี่ยนแปลงของสารใด อย่างไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. จงอธิบายว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง แตกต่างกันอย่างไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 5. สาร X ทาปฏิกิริยากับสาร Y เกิดเป็นสาร Z จากการทดลองพบว่าอัตราการลดลง ของ X เท่ากับ 1/3 ของอัตราการลดลงของสาร Y และเท่ากับ 1/2 ของอัตราการเพิ่มขึ้น ของสาร Z จงเขียนสมการแสดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
  • 35. 32 ชื่อ - สกุล …………………………………………. ชั้น …………… เลขที่ ………. คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 1. จงคานวณหาอัตราการเกิดก๊าซ CO2 ที่ช่วง 5 – 6 นาที แนวคาตอบ อัตราการเกิดก๊าซ CO2 ระหว่าง 5 - 6 = 0.021 – 0.019 = 0.002 กรัม/นาที 1 2. จงคานวณหาอัตราการเกิด CO2 เฉลี่ย แนวคาตอบ อัตราการเกิดก๊าซ CO2 เฉลี่ย = 0.021 = 0.035 กรัม/นาที 6 3. จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l) นอกจากจะวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากมวลของ CO2 ที่เปลี่ยนแปลงแล้วยังสามารถวัดได้ จากการเปลี่ยนแปลงของสารใด อย่างไร แนวคาตอบ วัดปริมาตรก๊าซ CO2 โดยการแทนที่น้าเช่นเดียวกับการทดลอง เรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก หรือวัดปริมาณของ H+ ที่ลดลง โดยสังเกตจากค่า pH ที่เพิ่มขึ้น แนวคาตอบแบบฝึกกิจกรรมเสริมทักษะ เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 36. 33 4. จงอธิบายว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง แตกต่างกันอย่างไร แนวคาตอบ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย เป็นค่าที่แสดงถึงความเข้มข้นของสารตั้งต้น ที่ลดลงหรือความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดปฏิกิริยาต่อระยะเวลา ที่เกิดปฏิกิริยา แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง เป็นค่าที่แสดงถึงความเข้มข้น ของสารตั้งต้นที่ลดลงหรือความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ณ จุดใดจุดหนึ่งหรือเวลาใด เวลาหนึ่งขณะที่ปฏิกิริยากาลังดาเนินอยู่ 5. สาร X ทาปฏิกิริยากับสาร Y เกิดเป็นสาร Z จากการทดลองพบว่าอัตราการลดลง ของ X เท่ากับ 1/3 ของอัตราการลดลงของสาร Y และเท่ากับ 1/2 ของอัตราการเพิ่มขึ้น ของสาร Z จงเขียนสมการแสดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น แนวคาตอบ สมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้ X + 3Y  2Z
  • 37. 34 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบชุดนี้เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 10 คะแนน 2. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดจากตัวเลือก ก – ง เพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซ H2 กับเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยา ที่วินาทีที่ 50 มีค่าเท่าใด ปริมาตร H2 (cm3 ) เวลา (s) ก. 0.012 cm3 /s ข. 0.034 cm3 /s ค. 0.068 cm3 /s ง. 0.084 cm3 /s แบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 38. 35 คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 2 - 4 จากรูปเป็นการทดลองวัดอัตราการเกิดก๊าซ H2 จากการเกิดปฏิกิริยาของลวด Mg กับสารละลายกรด HCl ได้ผลดังตาราง 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด ก. 0.08 cm3 /s ข. 0.06 cm3 /s ค. 0.04 cm3 /s ง. 0.02 cm3 /s 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วงวินาทีที่ 60 - 100 มีค่าเท่าใด ก. 0.04 cm3 /s ข. 0.05 cm3 /s ค. 0.06 cm3 /s ง. 0.07 cm3 /s 4. จากปฏิกิริยานี้ สารใดที่ไม่ควรนามาวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. Mg ข. HCl ค. MgCl2 ง. ทั้ง Mg และ MgCl2 ปริมาตร H2 (cm3 ) เวลา (s) ปริมาตร H2 (cm3 ) เวลา (s) 1 2 3 6 15 20 4 6 8 30 60 100
  • 39. 36 5. จากปฏิกิริยา 2Al (s) + 2NaOH (aq) + 6H2O (l)  2NaAl(OH)4 (aq) + 3H2 (g) สารใดไม่เหมาะที่จะนามาวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. NaAl(OH)4 ข. H2 ค. NaOH ง. Al 6. จากปฏิกิริยา CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l) ทาการทดลองในระบบเปิด จึงทาให้ก๊าซ CO2 แพร่ออกจากระบบซึ่งหาปริมาณก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้นจากมวลของระบบที่หายไป และได้ผลการทดลองดังนี้ เวลา (นาที) มวล (g) ขวดรูปกรวย + บีกเกอร์บรรจุสาร ก๊าซ CO2 ที่เกิดขึ้น 0.0 1.0 2.0 3.0 142.080 142.075 142.067 142.065 0.000 0.005 0.013 0.015 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย มีค่าเท่าใด ก. 0.002 กรัม/นาที ข. 0.003 กรัม/นาที ค. 0.005 กรัม/นาที ง. 0.007 กรัม/นาที 7. ข้อใดหมายถึงอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ก. ปริมาตรของสารใน 1 หน่วยเวลา ข. มวลของสารใน 1 หน่วยเวลา ค. ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงใน 1 หน่วยเวลา ง. ปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงต่อเวลาทั้งหมด
  • 40. 37 8. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาของแต่ละช่วงเวลามีค่าเท่ากัน หรือไม่อย่างไร ก. เท่ากันเพราะวัดจากข้อมูลเดียวกัน ข. เท่ากันเพราะเป็นปฏิกิริยาของสารชนิดเดียวกัน ค. ไม่เท่ากันเพราะใช้เวลาต่างกัน ง. ไม่เท่ากันเพราะปริมาณสารและเวลาต่างกัน 9. จากปฏิกิริยา A (s) + B (aq)  C (aq) + D (g) ถ้าต้องการวัดอัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมีควรเลือกสารใด ก. สาร A ข. สาร B ค. สาร C ง. สาร D 10. จากปฏิกิริยา 2H+ (aq) + S2O3 2- (aq)  S (s) + SO2 (g) + H2O (l) ถ้าจะวัด อัตราการเกิดปฏิกิริยาสารใดที่ไม่ควรวัด ก. H+ ข. S ค. S2O3 2- ง. SO2
  • 41. 38 ก่อนเรียน หลังเรียน ข้อ คาตอบ ข้อ คาตอบ 1. ค 1. ข 2. ง 2. ก 3. ง 3. ข 4. ค 4. ง 5. ก 5. ก 6. ข 6. ค 7. ง 7. ค 8. ข 8. ง 9. ก 9. ง 10. ค 10. ค เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 1 เรื่อง ความหมายและวิธีวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  • 42. 39 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมเคมี เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. . (2549). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กฤษณา ชุติมา. (2549). หลักเคมีทั่วไป เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. คณะอนุกรรมการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตร์สาขาเคมี. (2540). เคมี เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. นิพนธ์ กชทองรัศมี. (2550). ติวเข้มเคมี ม.ปลาย ม.4 - ม.5 - ม.6. กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์. ประภาณี เกษมศรี ณ อยุธยาและคณะ. (2550). เคมีทั่วไปเล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พินิติ รตะนานุกูล และคณะ. (2549). เคมี เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธิการพิมพ์. ลัดดา มีศุข. (2549). เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วีรชาติ สวนไพรินทร์. (2553). รายวิชาเคมีเพิ่มเติม เล่ม 3. กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิต. https://www.sites.google.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2561