SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline

	 	 เมื่อศึกษาบทที่ 1 จบแล้ว ผู้ศึกษาสามารถ
	 	 1.1 อธิบายความสำ�คัญของการบัญชีต้นทุนได้
	 	 1.2 เข้าใจวัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุนได้
	 	 1.3 อธิบายขอบเขตของการบัญชีต้นทุนได้
	 	 1.4 อธิบายความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหารได้
	 	 1.5 เข้าใจและอธิบายวิชาชีพนักบัญชีได้
	 1.1 	ความสำ�คัญของการบัญชีต้นทุน
		การบัญชี คือ กระบวนการของการเก็บรวบรวม บันทึก จำ�แนก และทำ�สรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์
ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีก็คือการให้ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่
บุคคลหลายฝ่าย และผู้ที่สนใจทั้งภายในและภายนอกของกิจการ
		การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) เป็นกระบวนการการบันทึกบัญชีสำ�หรับกิจการที่ดำ�เนินงาน
ผลิตสินค้าและบริการ การบัญชีต้นทุนถือเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีการเงินที่เกี่ยวข้องกับการรายงานทางการ
เงินเพื่อนำ�เสนอแก่บุคคลภายนอก และในขณะเดียวกัน การบัญชีต้นทุนยังถือเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชี
เพื่อการจัดการหรือการบัญชีบริหารที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
	
00
..11
22
33
44
55
66
77
88
1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีต้นทุน
2 การบัญชีต้นทุน : หลักและกระบวนการ
	 	 การบัญชีนับเป็นเครื่องมือสำ�คัญในทางเศรษฐกิจ ผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชีอาจแยกได้เป็น 2 ประเภท
ใหญ่ๆ กล่าวคือ ผู้ใช้ภายนอก เช่น ผู้ลงทุน เจ้าหนี้ เป็นต้น เป็นผู้ที่จะใช้ข้อมูลจากงบการเงินที่กิจการนำ�เสนอ
ต่อบุคคลภายนอกตามงวดบัญชีอย่างน้อยปีละครั้ง ส่วนผู้ใช้ภายใน คือผู้ประกอบการ ผู้บริหาร เป็นผู้ที่มีความ
รับผิดชอบในการจัดการทางด้านการตัดสินใจในการวางแผน การมอบหมายงาน การควบคุมและติดตามผล
ข้อมูลที่ใช้ย่อมแตกต่างจากข้อมูลที่ใช้โดยบุคคลภายนอก ดังนั้น ข้อมูลที่ได้นอกจากจะได้จากงบการเงินที่นำ�
เสนอแก่บุคคลภายนอกซึ่งได้มาจากการบัญชีการเงินแล้ว ยังจำ�เป็นต้องนำ�ข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ และหา
ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้เพียงพอในการตัดสินใจ และการบริหารงานภายในกิจการ การบัญชีสำ�หรับผู้บริหารจึง
ประกอบด้วย การบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และบัญชีเพื่อการจัดการหรือการบัญชีบริหาร ผู้บริหารมีหน้าที่
สำ�คัญในธุรกิจ 4 ด้าน คือ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การควบคุม (Controlling)
และการตัดสินใจ (Decision Making)
		การวางแผน คือ การวางแผนในระดับกลยุทธ์เพื่อให้กิจการดำ�เนินงานตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
		การจัดองค์การ คือการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบหน่วยงานของกิจการ เพื่อให้กิจการมีการดำ�เนิน
งานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ฝ่ายบริหารจึงจำ�เป็นต้องมีการควบคุม
		การควบคุม เป็นกระบวนการสำ�คัญในการบริหารงาน เพราะเป็นเครื่องมือให้ผู้บริหารมั่นใจว่าการ
ดำ�เนินงานไม่มีข้อผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนจากแผนที่วางไว้
		การตัดสินใจ ผู้บริหารมีหน้าที่ในการตัดสินใจในทุกขั้นตอนของหน้าที่ของผู้บริหาร ผู้บริหารจำ�เป็น
ต้องใช้ข้อมูลทางการเงินเพื่อใช้ในการดำ�เนินงานและการตัดสินใจ ดังนั้น การบัญชีต้นทุนจึงมีความสำ�คัญอย่าง
ยิ่งในการบริหารธุรกิจ
	 1.2	 วัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน
	 	 นอกจากการใช้ข้อมูลต้นทุนในการรายงานผลการดำ�เนินงานในงบการเงิน คือ เพื่อใช้ในการวัดผลกำ�ไร
ขาดทุนประจำ�งวดแล้ว ข้อมูลการบัญชีต้นทุนยังมีวัตถุประสงค์ด้านอื่นอีก เช่น เพื่อใช้ในการคำ�นวณต้นทุนการ
ผลิตสินค้าและบริการ เพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุม เพื่อใช้ในการกำ�หนดราคาขายของสินค้าและบริการ
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ และเพื่อใช้ในการประเมินผลการดำ�เนินงานของทรัพยากรต่าง ๆ ความมี
ประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผลในการใช้ทรัพยากร รายละเอียดและตัวอย่างของวัตถุประสงค์ของการบัญชี
ต้นทุนอาจอธิบายได้ดังต่อไปนี้
		1)	 การวัดผลกำ�ไรขาดทุนประจำ�งวด งบกำ�ไรขาดทุนเป็นงบแสดงผลการดำ�เนินงานประจำ�งวด
สำ�หรับกิจการที่ผลิตสินค้าและให้บริการ งบต้นทุนการผลิตเป็นส่วนประกอบของงบกำ�ไรขาดทุนที่แสดงราย
ละเอียดของต้นทุนการผลิตและต้นทุนสินค้าขายและบริการ ที่ประกอบด้วย วัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่าย
การผลิต ซึ่งเป็นข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากข้อมูลของกิจการซื้อขายสินค้าโดยทั่วไป
00
..11
22
33
44
5577
3บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
		2)	 การคำ�นวณต้นทุนการผลิตสินค้า การคำ�นวณต้นทุนการผลิตสินค้านอกจากจะแสดงในงบ
กำ�ไรขาดทุนประจำ�งวดแล้ว การบัญชีต้นทุนต้องให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ช่วยให้ผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถ
คำ�นวณต้นทุนการผลิตสินค้าได้โดยไม่จำ�เป็นต้องรอถึงวันสิ้นงวดบัญชีที่มีการรายงานงบการเงินประจำ�งวด
การคำ�นวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำ�คัญมากสำ�หรับผู้บริหารโดยเฉพาะฝ่ายขาย และฝ่ายผลิต
		3)	 การวางแผนและควบคุม การวางแผน ได้แก่ การวางแผนทางการตลาด เช่น การกำ�หนด
ผลิตภัณฑ์ ปริมาณ ราคาของสินค้าและบริการ ซึ่งสืบเนื่องถึงการวางแผนทางการผลิตด้วย เช่น การวางแผน
การใช้ปัจจัยการผลิต การวางงบประมาณ ทางด้านการควบคุม เช่น การนำ�งบประมาณมาเปรียบเทียบกับ
ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง วิเคราะห์ผลต่างเพื่อหาข้อบกพร่องในการบริหารการเงิน การตลาดและการผลิต
		4)	 การกำ�หนดราคาขายของสินค้าและบริการ ผู้บริหารจำ�เป็นต้องทราบรายละเอียดของต้นทุน
ของสินค้าและบริการเพื่อใช้ในการกำ�หนดราคาขายที่เหมาะสมกับสภาวะทางการตลาด สภาวะทางเศรษฐกิจ
และการแข่งขัน เพื่อให้บรรลุการวางแผนการบริหารกำ�ไรของกิจการอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล
ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำ�หนดไว้
	 	 5)	 การเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ การตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ ทุกขั้นตอน จำ�เป็นต้อง
นำ�ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนเป็นเครื่องมือประกอบการตัดสินซึ่งได้แก่ การตัดสินใจระยะสั้น เช่น การตัดสินใจการ
กำ�หนดราคาขาย การบริหารต้นทุน การควบคุมคุณภาพ การเพิ่มหรือลดสายการผลิต การตัดสินใจเลือกทาง
เลือกผลิตภัณฑ์ ส่วนการตัดสินใจระยะยาว เช่น การตัดสินใจขยายกิจการ การลงทุนโรงงาน เครื่องจักร การ
เลือกการลงทุนระยะยาว
	 	 6)	 การประเมินผลการดำ�เนินงาน การประเมินผลการดำ�เนินงานขึ้นอยู่กับลักษณะของการกระจาย
อำ�นาจหรือการรวมอำ�นาจการตัดสินใจ และระดับของการตัดสินใจ เริ่มตั้งแต่ระดับองค์กรหรือระดับกิจการ
และการวัดผลการดำ�เนินงาน คือกำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงาน ซึ่งวัดได้จากผลต่างของรายได้จากการงาน
หักด้วยต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ระดับส่วนงาน เช่น ส่วนงานตามผลิตภัณฑ์ ส่วนงานตามภูมิภาค
ส่วนงานตามความรับผิดชอบ ระดับแผนก และระดับบุคคล ข้อมูลที่ใช้การวัดผลการดำ�เนินงาน เป็นข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของระดับหน่วยงาน หรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย ความรับผิดชอบ ได้แก่
ความรับผิดชอบด้านรายได้ เช่น ฝ่ายการตลาด แผนกขาย ความรับผิดชอบด้านต้นทุน เช่น ฝ่ายผลิต แผนก
ผลิต ความรับผิดชอบด้านกำ�ไร เช่น ศูนย์กำ�ไรแยกตามส่วนงาน ดังนั้น ข้อมูลต้นทุนจึงมีบทบาทสำ�คัญในการ
ประเมินผลการดำ�เนินงานที่มีต้นทุนมีส่วนในความรับผิดชอบ
4 การบัญชีต้นทุน : หลักและกระบวนการ
	 1.3 	ขอบเขตของการบัญชีต้นทุน
	 	 ขอบเขตของการบัญชีต้นทุนดั้งเดิมมุ่งเน้นการคำ�นวณต้นทุนสินค้าและบริการประกอบด้วยวัตถุดิบ
ค่าแรงและค่าใช้จ่ายการผลิต โดยเน้นต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง (Actual Costs) ต่อมามีความจำ�เป็นต้องใช้ข้อมูล
ที่เร่งด่วน การใช้ข้อมูลต้นทุนจริงอาจล่าช้า จึงมีการพัฒนาการบัญชีต้นทุนโดยประมาณ (Estimated Cost)
และต้นทุนมาตรฐาน (Standard Cost) บัญชีต้นทุนในปัจจุบันมีความหลากหลาย ไม่เฉพาะการคำ�นวณต้นทุน
สินค้าและบริการเท่านั้น มีการกำ�หนดต้นทุนตามความรับผิดชอบ (Responsibility Costing) หรือต้นทุนตาม
กิจกรรม (Activity-Based Costing: ABC) ประกอบกับปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ  
จึงมีระบบสารสนเทศที่มีส่วนช่วยในการจัดทำ�และใช้ข้อมูลการบัญชีต้นทุนที่มากและหลากหลายตามความ
ต้องการของผู้ใช้และความซับซ้อนของธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
	 1.4 	ความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหาร
	 1.4.1	 การบัญชีการเงิน
	 	 การบัญชีการเงิน (Financial Accounting) เป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการบันทึกรายการทางการ
เงิน (Financial Transactions) รายการทางการเงินเป็นรายการที่เกิดจากกิจกรรมทางด้านการเงินเข้ามา
เกี่ยวข้อง กิจกรรมอาจเป็นกิจกรรมที่เป็นการค้าหรือไม่เป็นการค้าก็ได้ ขึ้นอยู่กับหน่วยงานและวัตถุประสงค์
ในแต่ละกิจกรรมนั้น ๆ ทางด้านการค้า กิจกรรมที่ก่อให้เกิดรายการทางการเงิน ได้แก่ การลงทุนซื้อสินค้าและ
สินทรัพย์ การกู้ยืม การจ่ายเงิน การขายสินค้า การรับเงิน เป็นต้น กิจกรรมของหน่วยงานที่ไม่มีวัตถุประสงค์
ทางการค้าหรือมิได้หวังผลกำ�ไร เช่น หน่วยงานราชการ มูลนิธิ สมาคม หน่วยงานเหล่านี้ย่อมจำ�เป็นต้องมีการ
บันทึกบัญชีเพราะมีกิจกรรมทางด้านการเงินเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้น การบัญชีการเงินจึงต้องมีกฎ กติกา
มารยาทที่เป็นลักษณะในเชิงวิชาชีพทางการบัญชี มีการกำ�หนดแนวความคิด แม่บท มาตรฐาน นโยบายทางการ
บัญชีที่เป็นรูปแบบปฏิบัติที่สอดคล้องกัน เพื่อสามารถสื่อความหมายของข้อมูลที่มีรูปแบบเดียวกัน ผู้กำ�หนด
มาตรฐานสำ�หรับประเทศไทยปัจจุบันคือสภาวิชาชีพบัญชี
	
	 1.4.2 	การบัญชีต้นทุน
	 	 การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) นอกจากจะเป็นกระบวนการการบันทึกบัญชีสำ�หรับกิจการ
ที่ทำ�การผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีการเงินที่เกี่ยวข้องกับการรายงานทางการ
เงินเพื่อนำ�เสนอแก่บุคคลภายนอก ในขณะเดียวกัน การบัญชีต้นทุนยังถือเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีบริหาร ผู้
บริหารมีหลายระดับและหลายหน่วยงาน ความต้องการในข้อมูลทางการเงินจึงมีหลากหลาย การบัญชีต้นทุน
ถือเป็นระบบข้อมูลหนึ่งของการบัญชีบริหารสำ�หรับผู้บริหารในการบริหารต้นทุน กำ�ไร และการตัดสินใจเลือก
ทางเลือกที่ต้องใช้ต้นทุนเป็นข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจด้านต่าง ๆ
00
..11
22
33
44
5577
5บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
	 1.4.3 	การบัญชีบริหาร หรือการบัญชีเพื่อการจัดการ
	 	 การบัญชีบริหารหรือการบัญชีเพื่อการจัดการ (Accounting for Management or Managerial
Accounting) เป็นการจัดทำ�สารสนเทศที่นำ�เสนอต่อบุคคลภายใน คือผู้บริหารและพนักงานภายในกิจการ
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานผลการดำ�เนินงานแก่ผู้บริหารเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ผู้บริหารและผู้ใช้สารสนเทศ
ทางการบัญชีเพื่อการจัดการต้องมีความรู้ทางการบัญชีทางด้านความหมายของรายงานในงบการเงินและความ
สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน ดังนั้น การบัญชีการเงินจึงเป็นความรู้เบื้องต้นที่ผู้บริหารและ
ผู้สนใจควรศึกษา
	 	 การบัญชีต้นทุนมีบทบาททั้งทางด้านการบัญชีการเงิน คือ เพื่อบันทึกบัญชีและรายงานทางการเงิน
และบทบาททางการบัญชีบริหาร คือ การนำ�การบัญชีต้นทุนมาใช้ในการตัดสินใจวางแผนของผู้บริหาร เช่น
มีการวิเคราะห์พฤติกรรมต้นทุน การมอบหมายงาน การควบคุมต้นทุน รูปที่ 1.1 แสดงความสัมพันธ์ของการ
บัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหารดังนี้
รูปที่ 1.1 ความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหาร

More Related Content

What's hot

ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
ร้อยละ
ร้อยละร้อยละ
ร้อยละkroojaja
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงWitayanun Sittisomboon
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014Wanida Kook
 
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 22.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2Bangkok, Thailand
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budgetpop Jaturong
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 

What's hot (20)

ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
07 ma
07 ma07 ma
07 ma
 
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7จัดบอร์ดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ร้อยละ
ร้อยละร้อยละ
ร้อยละ
 
01cost concept
01cost concept01cost concept
01cost concept
 
05 ma
05 ma05 ma
05 ma
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
 
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 22.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 

Similar to 9789740330981

นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfpiyapongauekarn
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)maruay songtanin
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปNoree Sapsopon
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
How to write application report (part 4 of 4)
How to write application report (part 4 of 4)How to write application report (part 4 of 4)
How to write application report (part 4 of 4)maruay songtanin
 
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 

Similar to 9789740330981 (20)

นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
บทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหาบทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหา
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
How to write application report (part 4 of 4)
How to write application report (part 4 of 4)How to write application report (part 4 of 4)
How to write application report (part 4 of 4)
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
Gamecost
GamecostGamecost
Gamecost
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330981

  • 1.  เมื่อศึกษาบทที่ 1 จบแล้ว ผู้ศึกษาสามารถ 1.1 อธิบายความสำ�คัญของการบัญชีต้นทุนได้ 1.2 เข้าใจวัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุนได้ 1.3 อธิบายขอบเขตของการบัญชีต้นทุนได้ 1.4 อธิบายความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหารได้ 1.5 เข้าใจและอธิบายวิชาชีพนักบัญชีได้ 1.1 ความสำ�คัญของการบัญชีต้นทุน การบัญชี คือ กระบวนการของการเก็บรวบรวม บันทึก จำ�แนก และทำ�สรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีก็คือการให้ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ บุคคลหลายฝ่าย และผู้ที่สนใจทั้งภายในและภายนอกของกิจการ การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) เป็นกระบวนการการบันทึกบัญชีสำ�หรับกิจการที่ดำ�เนินงาน ผลิตสินค้าและบริการ การบัญชีต้นทุนถือเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีการเงินที่เกี่ยวข้องกับการรายงานทางการ เงินเพื่อนำ�เสนอแก่บุคคลภายนอก และในขณะเดียวกัน การบัญชีต้นทุนยังถือเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชี เพื่อการจัดการหรือการบัญชีบริหารที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและตัดสินใจของฝ่ายบริหาร 00 ..11 22 33 44 55 66 77 88 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีต้นทุน
  • 2. 2 การบัญชีต้นทุน : หลักและกระบวนการ การบัญชีนับเป็นเครื่องมือสำ�คัญในทางเศรษฐกิจ ผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชีอาจแยกได้เป็น 2 ประเภท ใหญ่ๆ กล่าวคือ ผู้ใช้ภายนอก เช่น ผู้ลงทุน เจ้าหนี้ เป็นต้น เป็นผู้ที่จะใช้ข้อมูลจากงบการเงินที่กิจการนำ�เสนอ ต่อบุคคลภายนอกตามงวดบัญชีอย่างน้อยปีละครั้ง ส่วนผู้ใช้ภายใน คือผู้ประกอบการ ผู้บริหาร เป็นผู้ที่มีความ รับผิดชอบในการจัดการทางด้านการตัดสินใจในการวางแผน การมอบหมายงาน การควบคุมและติดตามผล ข้อมูลที่ใช้ย่อมแตกต่างจากข้อมูลที่ใช้โดยบุคคลภายนอก ดังนั้น ข้อมูลที่ได้นอกจากจะได้จากงบการเงินที่นำ� เสนอแก่บุคคลภายนอกซึ่งได้มาจากการบัญชีการเงินแล้ว ยังจำ�เป็นต้องนำ�ข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ และหา ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้เพียงพอในการตัดสินใจ และการบริหารงานภายในกิจการ การบัญชีสำ�หรับผู้บริหารจึง ประกอบด้วย การบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และบัญชีเพื่อการจัดการหรือการบัญชีบริหาร ผู้บริหารมีหน้าที่ สำ�คัญในธุรกิจ 4 ด้าน คือ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การควบคุม (Controlling) และการตัดสินใจ (Decision Making) การวางแผน คือ การวางแผนในระดับกลยุทธ์เพื่อให้กิจการดำ�เนินงานตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ การจัดองค์การ คือการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบหน่วยงานของกิจการ เพื่อให้กิจการมีการดำ�เนิน งานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเป็นไปตามแผนที่วางไว้ ฝ่ายบริหารจึงจำ�เป็นต้องมีการควบคุม การควบคุม เป็นกระบวนการสำ�คัญในการบริหารงาน เพราะเป็นเครื่องมือให้ผู้บริหารมั่นใจว่าการ ดำ�เนินงานไม่มีข้อผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนจากแผนที่วางไว้ การตัดสินใจ ผู้บริหารมีหน้าที่ในการตัดสินใจในทุกขั้นตอนของหน้าที่ของผู้บริหาร ผู้บริหารจำ�เป็น ต้องใช้ข้อมูลทางการเงินเพื่อใช้ในการดำ�เนินงานและการตัดสินใจ ดังนั้น การบัญชีต้นทุนจึงมีความสำ�คัญอย่าง ยิ่งในการบริหารธุรกิจ 1.2 วัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุน นอกจากการใช้ข้อมูลต้นทุนในการรายงานผลการดำ�เนินงานในงบการเงิน คือ เพื่อใช้ในการวัดผลกำ�ไร ขาดทุนประจำ�งวดแล้ว ข้อมูลการบัญชีต้นทุนยังมีวัตถุประสงค์ด้านอื่นอีก เช่น เพื่อใช้ในการคำ�นวณต้นทุนการ ผลิตสินค้าและบริการ เพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุม เพื่อใช้ในการกำ�หนดราคาขายของสินค้าและบริการ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ และเพื่อใช้ในการประเมินผลการดำ�เนินงานของทรัพยากรต่าง ๆ ความมี ประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผลในการใช้ทรัพยากร รายละเอียดและตัวอย่างของวัตถุประสงค์ของการบัญชี ต้นทุนอาจอธิบายได้ดังต่อไปนี้ 1) การวัดผลกำ�ไรขาดทุนประจำ�งวด งบกำ�ไรขาดทุนเป็นงบแสดงผลการดำ�เนินงานประจำ�งวด สำ�หรับกิจการที่ผลิตสินค้าและให้บริการ งบต้นทุนการผลิตเป็นส่วนประกอบของงบกำ�ไรขาดทุนที่แสดงราย ละเอียดของต้นทุนการผลิตและต้นทุนสินค้าขายและบริการ ที่ประกอบด้วย วัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่าย การผลิต ซึ่งเป็นข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากข้อมูลของกิจการซื้อขายสินค้าโดยทั่วไป
  • 3. 00 ..11 22 33 44 5577 3บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน 2) การคำ�นวณต้นทุนการผลิตสินค้า การคำ�นวณต้นทุนการผลิตสินค้านอกจากจะแสดงในงบ กำ�ไรขาดทุนประจำ�งวดแล้ว การบัญชีต้นทุนต้องให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ช่วยให้ผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถ คำ�นวณต้นทุนการผลิตสินค้าได้โดยไม่จำ�เป็นต้องรอถึงวันสิ้นงวดบัญชีที่มีการรายงานงบการเงินประจำ�งวด การคำ�นวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำ�คัญมากสำ�หรับผู้บริหารโดยเฉพาะฝ่ายขาย และฝ่ายผลิต 3) การวางแผนและควบคุม การวางแผน ได้แก่ การวางแผนทางการตลาด เช่น การกำ�หนด ผลิตภัณฑ์ ปริมาณ ราคาของสินค้าและบริการ ซึ่งสืบเนื่องถึงการวางแผนทางการผลิตด้วย เช่น การวางแผน การใช้ปัจจัยการผลิต การวางงบประมาณ ทางด้านการควบคุม เช่น การนำ�งบประมาณมาเปรียบเทียบกับ ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง วิเคราะห์ผลต่างเพื่อหาข้อบกพร่องในการบริหารการเงิน การตลาดและการผลิต 4) การกำ�หนดราคาขายของสินค้าและบริการ ผู้บริหารจำ�เป็นต้องทราบรายละเอียดของต้นทุน ของสินค้าและบริการเพื่อใช้ในการกำ�หนดราคาขายที่เหมาะสมกับสภาวะทางการตลาด สภาวะทางเศรษฐกิจ และการแข่งขัน เพื่อให้บรรลุการวางแผนการบริหารกำ�ไรของกิจการอย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำ�หนดไว้ 5) การเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ การตัดสินใจของผู้บริหารทุกระดับ ทุกขั้นตอน จำ�เป็นต้อง นำ�ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนเป็นเครื่องมือประกอบการตัดสินซึ่งได้แก่ การตัดสินใจระยะสั้น เช่น การตัดสินใจการ กำ�หนดราคาขาย การบริหารต้นทุน การควบคุมคุณภาพ การเพิ่มหรือลดสายการผลิต การตัดสินใจเลือกทาง เลือกผลิตภัณฑ์ ส่วนการตัดสินใจระยะยาว เช่น การตัดสินใจขยายกิจการ การลงทุนโรงงาน เครื่องจักร การ เลือกการลงทุนระยะยาว 6) การประเมินผลการดำ�เนินงาน การประเมินผลการดำ�เนินงานขึ้นอยู่กับลักษณะของการกระจาย อำ�นาจหรือการรวมอำ�นาจการตัดสินใจ และระดับของการตัดสินใจ เริ่มตั้งแต่ระดับองค์กรหรือระดับกิจการ และการวัดผลการดำ�เนินงาน คือกำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงาน ซึ่งวัดได้จากผลต่างของรายได้จากการงาน หักด้วยต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ระดับส่วนงาน เช่น ส่วนงานตามผลิตภัณฑ์ ส่วนงานตามภูมิภาค ส่วนงานตามความรับผิดชอบ ระดับแผนก และระดับบุคคล ข้อมูลที่ใช้การวัดผลการดำ�เนินงาน เป็นข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบของระดับหน่วยงาน หรือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย ความรับผิดชอบ ได้แก่ ความรับผิดชอบด้านรายได้ เช่น ฝ่ายการตลาด แผนกขาย ความรับผิดชอบด้านต้นทุน เช่น ฝ่ายผลิต แผนก ผลิต ความรับผิดชอบด้านกำ�ไร เช่น ศูนย์กำ�ไรแยกตามส่วนงาน ดังนั้น ข้อมูลต้นทุนจึงมีบทบาทสำ�คัญในการ ประเมินผลการดำ�เนินงานที่มีต้นทุนมีส่วนในความรับผิดชอบ
  • 4. 4 การบัญชีต้นทุน : หลักและกระบวนการ 1.3 ขอบเขตของการบัญชีต้นทุน ขอบเขตของการบัญชีต้นทุนดั้งเดิมมุ่งเน้นการคำ�นวณต้นทุนสินค้าและบริการประกอบด้วยวัตถุดิบ ค่าแรงและค่าใช้จ่ายการผลิต โดยเน้นต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง (Actual Costs) ต่อมามีความจำ�เป็นต้องใช้ข้อมูล ที่เร่งด่วน การใช้ข้อมูลต้นทุนจริงอาจล่าช้า จึงมีการพัฒนาการบัญชีต้นทุนโดยประมาณ (Estimated Cost) และต้นทุนมาตรฐาน (Standard Cost) บัญชีต้นทุนในปัจจุบันมีความหลากหลาย ไม่เฉพาะการคำ�นวณต้นทุน สินค้าและบริการเท่านั้น มีการกำ�หนดต้นทุนตามความรับผิดชอบ (Responsibility Costing) หรือต้นทุนตาม กิจกรรม (Activity-Based Costing: ABC) ประกอบกับปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงมีระบบสารสนเทศที่มีส่วนช่วยในการจัดทำ�และใช้ข้อมูลการบัญชีต้นทุนที่มากและหลากหลายตามความ ต้องการของผู้ใช้และความซับซ้อนของธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ 1.4 ความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหาร 1.4.1 การบัญชีการเงิน การบัญชีการเงิน (Financial Accounting) เป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการบันทึกรายการทางการ เงิน (Financial Transactions) รายการทางการเงินเป็นรายการที่เกิดจากกิจกรรมทางด้านการเงินเข้ามา เกี่ยวข้อง กิจกรรมอาจเป็นกิจกรรมที่เป็นการค้าหรือไม่เป็นการค้าก็ได้ ขึ้นอยู่กับหน่วยงานและวัตถุประสงค์ ในแต่ละกิจกรรมนั้น ๆ ทางด้านการค้า กิจกรรมที่ก่อให้เกิดรายการทางการเงิน ได้แก่ การลงทุนซื้อสินค้าและ สินทรัพย์ การกู้ยืม การจ่ายเงิน การขายสินค้า การรับเงิน เป็นต้น กิจกรรมของหน่วยงานที่ไม่มีวัตถุประสงค์ ทางการค้าหรือมิได้หวังผลกำ�ไร เช่น หน่วยงานราชการ มูลนิธิ สมาคม หน่วยงานเหล่านี้ย่อมจำ�เป็นต้องมีการ บันทึกบัญชีเพราะมีกิจกรรมทางด้านการเงินเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ดังนั้น การบัญชีการเงินจึงต้องมีกฎ กติกา มารยาทที่เป็นลักษณะในเชิงวิชาชีพทางการบัญชี มีการกำ�หนดแนวความคิด แม่บท มาตรฐาน นโยบายทางการ บัญชีที่เป็นรูปแบบปฏิบัติที่สอดคล้องกัน เพื่อสามารถสื่อความหมายของข้อมูลที่มีรูปแบบเดียวกัน ผู้กำ�หนด มาตรฐานสำ�หรับประเทศไทยปัจจุบันคือสภาวิชาชีพบัญชี 1.4.2 การบัญชีต้นทุน การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) นอกจากจะเป็นกระบวนการการบันทึกบัญชีสำ�หรับกิจการ ที่ทำ�การผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีการเงินที่เกี่ยวข้องกับการรายงานทางการ เงินเพื่อนำ�เสนอแก่บุคคลภายนอก ในขณะเดียวกัน การบัญชีต้นทุนยังถือเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีบริหาร ผู้ บริหารมีหลายระดับและหลายหน่วยงาน ความต้องการในข้อมูลทางการเงินจึงมีหลากหลาย การบัญชีต้นทุน ถือเป็นระบบข้อมูลหนึ่งของการบัญชีบริหารสำ�หรับผู้บริหารในการบริหารต้นทุน กำ�ไร และการตัดสินใจเลือก ทางเลือกที่ต้องใช้ต้นทุนเป็นข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจด้านต่าง ๆ
  • 5. 00 ..11 22 33 44 5577 5บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน 1.4.3 การบัญชีบริหาร หรือการบัญชีเพื่อการจัดการ การบัญชีบริหารหรือการบัญชีเพื่อการจัดการ (Accounting for Management or Managerial Accounting) เป็นการจัดทำ�สารสนเทศที่นำ�เสนอต่อบุคคลภายใน คือผู้บริหารและพนักงานภายในกิจการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานผลการดำ�เนินงานแก่ผู้บริหารเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ผู้บริหารและผู้ใช้สารสนเทศ ทางการบัญชีเพื่อการจัดการต้องมีความรู้ทางการบัญชีทางด้านความหมายของรายงานในงบการเงินและความ สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน ดังนั้น การบัญชีการเงินจึงเป็นความรู้เบื้องต้นที่ผู้บริหารและ ผู้สนใจควรศึกษา การบัญชีต้นทุนมีบทบาททั้งทางด้านการบัญชีการเงิน คือ เพื่อบันทึกบัญชีและรายงานทางการเงิน และบทบาททางการบัญชีบริหาร คือ การนำ�การบัญชีต้นทุนมาใช้ในการตัดสินใจวางแผนของผู้บริหาร เช่น มีการวิเคราะห์พฤติกรรมต้นทุน การมอบหมายงาน การควบคุมต้นทุน รูปที่ 1.1 แสดงความสัมพันธ์ของการ บัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหารดังนี้ รูปที่ 1.1 ความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน และการบัญชีบริหาร