SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
LOGO
โดย ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
แรงและแรงลัพธ์
ID Line : 0872245846
www.kruseksan.com
วิทยาศาสตร์ระดับชั้น ม.2
จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุที่หยุด
นิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
คงตัว (มฐ. ว 4.1 ตัวชี้วัดข้อ 2)
ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรง
หลายแรงในระนาบเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุ
(มฐ. ว 4.1 ตัวชี้วัดข้อ 1)
แผนผังความคิด (Concept Maps)
แรงลัพธ์ (resultant force)
• ความหมายของแรง , แรงที่กระทา
ต่อวัตถุ , ขนาดและทิศทางของแรง
• แรงลัพธ์ , การรวมแรง
แรง (Force)
แรง (Force) และ
แรงลัพธ์ (resultant force)
แรงเสียดทาน
• แรงเสียดทานสถิตย ,
จลน์ , สัมประสิทธิ์
งานและกาลัง
• งาน , กาลัง
แรงโน้มถ่วงของโลก
• ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
ของโลก
• อันดับของคาน , ผลของแรงต่อ
ความเร่งของวัตถุ
โมเมนต์ของแรง
1.หน่วยวัดทางวิทยาศาสตร์
ปริมาณมูลฐาน SI หรือ หน่วยฐาน (Basic units)1
เป็นหน่วยที่ใช้วัดปริมาณหลักพื้นฐาน มีอยู่ 7 หน่วย คือ
ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
ความยาว เมตร (metre) M
มวล กิโลกรัม (kilogram) Kg
เวลา วินาที (second) s
กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ (Ampere) A
อุณหภูมิ เคลวิน (Kelvin) K
ความความเข้นของการส่องสว่าง แคนเดลา (candela) Cd
ปริมาณของสาร โมล (Mole) mol
1.หน่วยวัดทางวิทยาศาสตร์
ปริมาณอนุพันธ์ (derived units)2
คือ หน่วยที่มีหน่วยฐาน SI หลายหน่วยมาเกี่ยวเนื่องกัน เพื่อใช้ในการวัดและ
การแสดงปริมาณต่างๆ ที่หลากหลาย ทาให้หน่วยอนุพันธ์สามารถมีได้มากมาย ไม่
จากัด เช่น
ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ การแสดงออกในรูปหน่วย
ความถี่ เฮิรตซ์ Hz S-1
แรง นิวตัน N Kg*m/s2
งาน พลังงาน จูล J N*m = kg*m2/s2
ความดัน พาสคัล Pa N/m2 = kg m-1 s-2
กาลัง วัตต์ W J/s = kg m2 s-3
1.หน่วยวัดทางวิทยาศาสตร์
ปริมาณอนุพันธ์ (derived units) ต่อ2
ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ การแสดงออกในรูปหน่วย
ประจุไฟฟ้า คูลอมบ์ C A*S
ความต่างศักย์ โวลต์ V J/C = kg m2 A-1 S-3
ความต้านทานไฟฟ้า โอห์ม V/A = kg m2 A-2 S-3
ความนาไฟฟ้า ซีเมนส์ S -1 = kg-1 m-2 s-3
ความจุไฟฟ้า ฟารัด F -1 = kg-1 m-2 s-3
ฟลักซ์ส่องสว่าง ลูเมน Im cd*sr = cd
ความสว่าง ลักซ์ Ix Cd*m-2
2.คาอุปสรรค
คือ หน่วยสาหรับแสดงค่าเป็นจานวนเท่าเมื่อจานวนนั้นมีค่ามากหรือน้อยเกินไป
และควรเปลี่ยนเป็นตัวเลขฐานสิบยกกาลังบวกหรือลบเช่น 5,000 เมตร เขียนเป็น
5 x 103 m หรือ 5 km
คาอุปสรรค สัญลักษณ์ จานวน คาอุปสรรค สัญลักษณ์ จานวน
exa (เอกซะ) E 1018 deci (เดซิ) d 10-1
Peta (เพตะ) P 1015 Centi (เซนติ) c 10-2
Tera (เทระ) T 1012 Milli (มิลลิ) M 10-3
Giga (จิกะ) G 109 Micro (ไมโคร) 10-6
Mega (เมกะ) M 106 Nano (นาโน) n 10-9
Kilo (กิโล) K 103 Pico (พิโค) P 10-12
Hecto (เฮกโต) h 102 Femto (เฟมโต) f 10-15
Deka (เดคะ) da 101 Atto (อัตโต) a 10-18
3.คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์
1 การหาค่ามุม sin , cos , tan
3.คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์
ใช้หาความยาวด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
เมื่อทราบค่ามุม 1 มุม และความยาวด้าน
1 ด้าน
2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
3.คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์
ใช้หาค่ามุม หรือ ความยาวด้านของ
สามเหลี่ยมใดๆ ที่ไม่ใช่สามเหลี่ยมมุมฉาก
3 กฎของไซน์ (sine’s law)
วิธีการจา : สัดส่วนระหว่างค่าไซน์
ของมุมและความยาวด้านตรงข้าม
มุม ทั้งสามด้านของสามเหลี่ยม
ใดๆ จะมีค่าเท่ากันเสมอ
3.คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์
วงกลมหนึ่งหน่วย คือ วงกลมที่มีจุดศูนย์กลาง
ที่จุด (0, 0) และมีรัศมียาว 1 หน่วย
4 วงกลมหนึ่งหน่วย (X, Y) : (cos, sin)
เริ่มกวดมุมจากจุด (1, 0) ไปในทิศ
ทวนเข็ม
3.คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์
4 วงกลมหนึ่งหน่วย (X, Y) : (cos, sin)
- จากจุด (1, 0) กวดมุมได้ 0๐
>> Cos 0๐ = 1 , Sin0๐ = 0
- จากจุด (0, 1) กวดมุมได้ 90๐
>> Cos90๐ = 0 , Sin90๐ = 1
- จากจุด (-1, 0) กวดมุมได้ 180๐
>> Cos180๐ = -1 , Sin180๐ = 0
- จากจุด (0, -1) กวดมุมได้ 270๐
>> Cos270๐ = 0 , Sin270๐ = -1
4.กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Issac Newton) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษได้สรุป
เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งที่อยู่อยู่นิ่งและในสภาพการเคลื่อนที่เป็น
“กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน”
1 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
4.กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Sir Isaac Newton เป็นผู้ค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของวัตถุมี 3 ข้อ คือ
2 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
5.ปริมาณทางฟิสิกส์
1.ปริมาณสเกลาร์ (scalar quantity) 2.ปริมาณเวกเตอร์ (vecter quantity)
ปริมาณสเกลาร์ : บอกขนาดอย่างเดียว ก็มีความหมายสมบูรณ์
ไม่มีทิศทาง เช่น ระยะทางและอัตราเร็ว ปริมาตร เวลา พื้นที่
ปริมาณเวกเตอร์ : ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะมีความหมายสมบูรณ์
เช่น การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง แรง ฯลฯ
*** การรวมปริมาณสเกลาร์สามารถรวมกันทางพีชคณิต เพื่อหาขนาดอย่าง
เดียวแต่การรวมปริมาณเวกเตอร์ต้องพิจารณาทิศทางด้วย
7 ปริมาณทางฟิสิกส์
6. แรง (Force)
ความหมายของแรง1
แรง (Force : F) คือ ปริมาณที่กระทาต่อวัตถุ
แล้วทาให้วัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ อาจทา
ให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง เปลี่ยนทิศทาง เกิดการ
เคลื่อนที่หรือหยุดนิ่งได้ เช่น ผลักกล่องใบหนึ่งที่
วางอยู่บนพื้นให้เคลื่อนที่
1. แรง (Force : F) : ทาให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุเปลี่ยนไปจากเดิม
2. แรงมีหน่วยเป็น นิวตัน (N) หรือ kg m/s2
3. แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่ประกอบด้วยขนาดและทิศทางซึ่งไม่มีตัวตนรูปร่างที่มองเห็นได้
4. จึงจาเป็นที่ต้องใช้ปริมาณเวกเตอร์มาช่วยอธิบาย โดยเขียนเป็นภาพแล้วใช้
ลูกศรแทนเวกเตอร์
6. แรง (Force)
ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ
1 ความหมายของแรง
แรงที่ไม่ทาให้วัตถุเปลี่ยนแปลง
รูปร่างและ
ไม่เคลื่อนที่
ทาให้วัตถุเคลื่อนที่
ทาให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง
ทาให้วัตถุเปลี่ยนทิศทาง
ทาให้วัตถุเปลี่ยนความเร็ว
เกิดความเร่ง
6. แรง (Force)
เป็นปริมาณเวกเตอร์
หน่วยของแรง
สัญลักษณ์เขียนแทนแรง
• มีทิศทางและมีขนาด
• เส้นตรงแทนขนาดและ
หัวลูกศรแทนทิศทาง
• นิวตัน (N) หรือ
Kg*m/s2
• F
แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ จึงมีทั้งหนาดและทิศทาง
ลักษณะของแรง2
6. แรง (Force)
เวกเตอร์ของแรง3
แรง (Force : F)
จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ เพราะมี
ขนาดและทิศทาง
1. ใช้ส่วนของเส้นตรง แทน ขนาดของแรง
2. ใช้หัวลูกศร แทน ทิศทางของแรง
เช่น ออกแรงดันรถเข็น 50 N ไปทางขวามือ
อัตราส่วน 1 หน่วย : 10 N
6. แรง (Force)
เวกเตอร์ของแรง3
6. แรง (Force)
เวกเตอร์ของแรง3
6. แรง (Force)
แรงชนิดต่างๆ ที่ควรรู้
4 ประเภทของแรงชนิดต่างๆ
1.แรงสู่ศูนย์กลาง : เป็นแรงที่มี
ทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางของวัตถุ
2.น้าหนัก : เป็นแรงโน้มถ่วงของโลกที่
กระทาต่อวัตถุ
6.แรงลัพธ์ : แรงรวมซึ่ง
เป็นผลรวมของแรงย่อย
โดยจะต้องรวมกันแบบ
ปริมาณเวกเตอร์
5. แรงหมุน : เป็นแรงที่ทา
ให้วัตถุเคลื่อนที่รอบจุดหมุน
ที่เรียกว่า “โมเมนต์”
4.แรงดึง : แรงที่เกิดการ
เกร็งตัวเพื่อต่อต้านแรง
กระทาของวัตถุ
3.แรงต้าน : แรงที่มีทิศทางต่อต้าน
การเคลื่อนที่หรือทิศทางตรงข้ามกับแรง
ที่พยายามทาให้วัตถุเคลื่อนที่
7. แรงย่อย : แรงที่เป็นส่วน
ประกอบของแรงลัพธ์
7. แรงลัพธ์ (resultant force)
ความหมายของแรงลัพธ์1
แรงลัพธ์ คือ ผลรวมของแรงย่อยแบบ
เวกเตอร์ของแรงทั้งหมดที่กระทาต่อวัตถุ
ถ้าแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์ แสดงว่าไม่มีการ
เคลื่อนที่ อันเนื่องมาจากแรงที่มากระทา
ต่อวัตถุมีขนาดเท่ากัน และกระทาต่อวัตถุ
ในทิศตรงกันข้าม
แรงย่อย คือ แรงที่เป็นองค์ประกอบของ
แรงลัพธ์
7. แรงลัพธ์ (resultant force)
การรวมแรง2
การรวมแรง คือ การนาแรงย่อยหลายแรง
ที่กระทาต่อวัตถุเดียวกันมากรวมกันแบบ
เวกเตอร์ โดยแรงรวมสุดท้ายที่ได้เรียกว่า
“แรงลัพธ์ : R”
7. แรงลัพธ์ (resultant force)
การรวมเวกเตอร์ของแรง2
วิธีการวาดรูปแบบหางต่อหัว
คือหาได้ดดยนาหางของแรงที่
สองไปต่อหัวลูกศรของแรงแรก และนา
หางของแรงที่สามไปต่อกับหัวของแรงที่
สองทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนครบ แรงลัพธ์
ที่ได้คือ แรงที่ลากจากหางงของแรงแรก
ไปยังหัวของแรงสุดท้าย
ตัวอย่าง กาหนดให้
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
แรงที่กระทาต่อวัตถุมีทิศทางเดียวกันและขนานกัน2.1
แรงลัพธ์ มีขนาดเท่ากับผลบวกของแรงย่อย
ส่วนทิศทางของแรงลัพธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับ
แรงย่อย
R = A + B
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
แรงที่กระทาต่อวัตถุมีทิศทางตรงข้ามกันและขนานกัน2.2
แรงลัพธ์ มีขนาดเท่ากับผลต่างของแรงย่อย
ส่วนทิศทางของแรงลัพธ์ไปในทิศทางทางแรงที่มี
ขนาดมากกว่า
R = A - B R = (A + B) - C
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
แรงที่กระทาต่อวัตถุในแนวทางที่ไม่ขนานกัน2.3
หาเวกเตอร์ลัพธ์โดยการสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและเส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม
ด้านขนานที่ใช้แทนเวกเตอร์ลัพธ์ ดังนี้
จากการนาเชือกผูกที่เอวตุ๊กตาจานวน 3 เส้น แล้วให้เด็ก 3 คนดึงปลายเชือก
ทั้ง 3 เส้นในแนวที่ไม่ขนานกันจนตุ๊กตาหยุดนิ่ง
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงสองแรงทามุมต่อกัน2.4
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงสองแรงทามุมต่อกัน2.3
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงสองแรงทามุมต่อกัน 90 องศา2.4
แรง 2 แรงกระทาต่อวัตถุเป็นมุมฉาก (90 องศา) ซึ่งกันและกัน
ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า
เช่น A = 4 N , B = 3 N
หาค่า C = เท่าไหร่
วิธีทา C2 = A2 + B2
C2 = 42 + 32
C2 = 1,6 + 9
C2 = 2,5
C = 5 N
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงสองแรงทามุมต่อกัน 90 องศา2.4
แรง 2 แรงกระทาต่อวัตถุเป็นมุมฉาก (90 องศา) ซึ่งกันและกัน
ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า
เช่น F1 = 40 N , F2 = 30 N
หาค่า R = เท่าไหร่
วิธีทา R2 = F1
2 + F2
2
R2 = 402 + 302
R2 = 1,600 + 900
R2 = 2,500
R = 50 N
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
การแตกแรง2.5
คือ การแยกแรงย่อยออกมาให้อยู่ในแนวแกนX และ Y ตามมุมที่แรงนั้น
กระทา
สิ่งที่ควรจา : จาไว้ว่าการแตกแรง
ใดๆ เข้าแกน X-Y ให้แตกแรงใกล้
มุมเป็น cos ไกลมุมเป็น sin
2. แรงลัพธ์ (resultant force)
การแตกแรง2.4
คือ การแยกแรงย่อยออกมาให้อยู่ในแนวแกนX และ Y ตามมุมที่แรงนั้น
กระทา
สิ่งที่ควรจา : จาไว้ว่าการแตกแรง
ใดๆ เข้าแกน X-Y ให้แตกแรงใกล้
มุมเป็น cos ไกลมุมเป็น sin
LOGO
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
ครูชานาญการ
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
www.kruseksan.com

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 

Viewers also liked

ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีnn ning
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะMaruko Supertinger
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Tanchanok Pps
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์Tanchanok Pps
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)Coco Tan
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Tanchanok Pps
 
ตารางธาต
ตารางธาตตารางธาต
ตารางธาตK.s. Mam
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ K.s. Mam
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด Tanchanok Pps
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีTanchanok Pps
 
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1Coco Tan
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นMaruko Supertinger
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์Tanchanok Pps
 

Viewers also liked (20)

อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะยินดีกับทุกท่านนะคะ
ยินดีกับทุกท่านนะคะ
 
Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1Sci access 14th : Biology review part 1
Sci access 14th : Biology review part 1
 
Nomenclature
NomenclatureNomenclature
Nomenclature
 
นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
รู้จักตัวเองให้มากขึ้น/ค้นหาตัวเอง (พื้นฐาน)
 
Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047 Presentation MUGE101-57-047
Presentation MUGE101-57-047
 
ตารางธาต
ตารางธาตตารางธาต
ตารางธาต
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
ม.5 เคมีอินทรีย์ เรื่อง ลิพิด
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1FST010  อาหารสุขภาพ ตอนที่1
FST010 อาหารสุขภาพ ตอนที่1
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็นตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
ตลาดในชุมชนดอยสะเก็น
 
Fibers
FibersFibers
Fibers
 
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ดูงานโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
 
Physics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summaryPhysics 4,5,6 summary
Physics 4,5,6 summary
 

Similar to แรง (Force)

บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่piyawanrat2534
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎาsupphawan
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาnang_phy29
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 

Similar to แรง (Force) (20)

บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 
3
33
3
 
3
33
3
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 

แรง (Force)

  • 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุที่หยุด นิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว คงตัว (มฐ. ว 4.1 ตัวชี้วัดข้อ 2) ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรง หลายแรงในระนาบเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุ (มฐ. ว 4.1 ตัวชี้วัดข้อ 1)
  • 3. แผนผังความคิด (Concept Maps) แรงลัพธ์ (resultant force) • ความหมายของแรง , แรงที่กระทา ต่อวัตถุ , ขนาดและทิศทางของแรง • แรงลัพธ์ , การรวมแรง แรง (Force) แรง (Force) และ แรงลัพธ์ (resultant force) แรงเสียดทาน • แรงเสียดทานสถิตย , จลน์ , สัมประสิทธิ์ งานและกาลัง • งาน , กาลัง แรงโน้มถ่วงของโลก • ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ของโลก • อันดับของคาน , ผลของแรงต่อ ความเร่งของวัตถุ โมเมนต์ของแรง
  • 4. 1.หน่วยวัดทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณมูลฐาน SI หรือ หน่วยฐาน (Basic units)1 เป็นหน่วยที่ใช้วัดปริมาณหลักพื้นฐาน มีอยู่ 7 หน่วย คือ ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ความยาว เมตร (metre) M มวล กิโลกรัม (kilogram) Kg เวลา วินาที (second) s กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ (Ampere) A อุณหภูมิ เคลวิน (Kelvin) K ความความเข้นของการส่องสว่าง แคนเดลา (candela) Cd ปริมาณของสาร โมล (Mole) mol
  • 5. 1.หน่วยวัดทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณอนุพันธ์ (derived units)2 คือ หน่วยที่มีหน่วยฐาน SI หลายหน่วยมาเกี่ยวเนื่องกัน เพื่อใช้ในการวัดและ การแสดงปริมาณต่างๆ ที่หลากหลาย ทาให้หน่วยอนุพันธ์สามารถมีได้มากมาย ไม่ จากัด เช่น ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ การแสดงออกในรูปหน่วย ความถี่ เฮิรตซ์ Hz S-1 แรง นิวตัน N Kg*m/s2 งาน พลังงาน จูล J N*m = kg*m2/s2 ความดัน พาสคัล Pa N/m2 = kg m-1 s-2 กาลัง วัตต์ W J/s = kg m2 s-3
  • 6. 1.หน่วยวัดทางวิทยาศาสตร์ ปริมาณอนุพันธ์ (derived units) ต่อ2 ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ การแสดงออกในรูปหน่วย ประจุไฟฟ้า คูลอมบ์ C A*S ความต่างศักย์ โวลต์ V J/C = kg m2 A-1 S-3 ความต้านทานไฟฟ้า โอห์ม V/A = kg m2 A-2 S-3 ความนาไฟฟ้า ซีเมนส์ S -1 = kg-1 m-2 s-3 ความจุไฟฟ้า ฟารัด F -1 = kg-1 m-2 s-3 ฟลักซ์ส่องสว่าง ลูเมน Im cd*sr = cd ความสว่าง ลักซ์ Ix Cd*m-2
  • 7. 2.คาอุปสรรค คือ หน่วยสาหรับแสดงค่าเป็นจานวนเท่าเมื่อจานวนนั้นมีค่ามากหรือน้อยเกินไป และควรเปลี่ยนเป็นตัวเลขฐานสิบยกกาลังบวกหรือลบเช่น 5,000 เมตร เขียนเป็น 5 x 103 m หรือ 5 km คาอุปสรรค สัญลักษณ์ จานวน คาอุปสรรค สัญลักษณ์ จานวน exa (เอกซะ) E 1018 deci (เดซิ) d 10-1 Peta (เพตะ) P 1015 Centi (เซนติ) c 10-2 Tera (เทระ) T 1012 Milli (มิลลิ) M 10-3 Giga (จิกะ) G 109 Micro (ไมโคร) 10-6 Mega (เมกะ) M 106 Nano (นาโน) n 10-9 Kilo (กิโล) K 103 Pico (พิโค) P 10-12 Hecto (เฮกโต) h 102 Femto (เฟมโต) f 10-15 Deka (เดคะ) da 101 Atto (อัตโต) a 10-18
  • 10. 3.คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์ ใช้หาค่ามุม หรือ ความยาวด้านของ สามเหลี่ยมใดๆ ที่ไม่ใช่สามเหลี่ยมมุมฉาก 3 กฎของไซน์ (sine’s law) วิธีการจา : สัดส่วนระหว่างค่าไซน์ ของมุมและความยาวด้านตรงข้าม มุม ทั้งสามด้านของสามเหลี่ยม ใดๆ จะมีค่าเท่ากันเสมอ
  • 11. 3.คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์ วงกลมหนึ่งหน่วย คือ วงกลมที่มีจุดศูนย์กลาง ที่จุด (0, 0) และมีรัศมียาว 1 หน่วย 4 วงกลมหนึ่งหน่วย (X, Y) : (cos, sin) เริ่มกวดมุมจากจุด (1, 0) ไปในทิศ ทวนเข็ม
  • 12. 3.คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์ 4 วงกลมหนึ่งหน่วย (X, Y) : (cos, sin) - จากจุด (1, 0) กวดมุมได้ 0๐ >> Cos 0๐ = 1 , Sin0๐ = 0 - จากจุด (0, 1) กวดมุมได้ 90๐ >> Cos90๐ = 0 , Sin90๐ = 1 - จากจุด (-1, 0) กวดมุมได้ 180๐ >> Cos180๐ = -1 , Sin180๐ = 0 - จากจุด (0, -1) กวดมุมได้ 270๐ >> Cos270๐ = 0 , Sin270๐ = -1
  • 13. 4.กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Issac Newton) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษได้สรุป เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งที่อยู่อยู่นิ่งและในสภาพการเคลื่อนที่เป็น “กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน” 1 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
  • 14. 4.กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน Sir Isaac Newton เป็นผู้ค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของวัตถุมี 3 ข้อ คือ 2 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
  • 15. 5.ปริมาณทางฟิสิกส์ 1.ปริมาณสเกลาร์ (scalar quantity) 2.ปริมาณเวกเตอร์ (vecter quantity) ปริมาณสเกลาร์ : บอกขนาดอย่างเดียว ก็มีความหมายสมบูรณ์ ไม่มีทิศทาง เช่น ระยะทางและอัตราเร็ว ปริมาตร เวลา พื้นที่ ปริมาณเวกเตอร์ : ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะมีความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง แรง ฯลฯ *** การรวมปริมาณสเกลาร์สามารถรวมกันทางพีชคณิต เพื่อหาขนาดอย่าง เดียวแต่การรวมปริมาณเวกเตอร์ต้องพิจารณาทิศทางด้วย 7 ปริมาณทางฟิสิกส์
  • 16. 6. แรง (Force) ความหมายของแรง1 แรง (Force : F) คือ ปริมาณที่กระทาต่อวัตถุ แล้วทาให้วัตถุเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ อาจทา ให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง เปลี่ยนทิศทาง เกิดการ เคลื่อนที่หรือหยุดนิ่งได้ เช่น ผลักกล่องใบหนึ่งที่ วางอยู่บนพื้นให้เคลื่อนที่ 1. แรง (Force : F) : ทาให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุเปลี่ยนไปจากเดิม 2. แรงมีหน่วยเป็น นิวตัน (N) หรือ kg m/s2 3. แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่ประกอบด้วยขนาดและทิศทางซึ่งไม่มีตัวตนรูปร่างที่มองเห็นได้ 4. จึงจาเป็นที่ต้องใช้ปริมาณเวกเตอร์มาช่วยอธิบาย โดยเขียนเป็นภาพแล้วใช้ ลูกศรแทนเวกเตอร์
  • 17. 6. แรง (Force) ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ 1 ความหมายของแรง แรงที่ไม่ทาให้วัตถุเปลี่ยนแปลง รูปร่างและ ไม่เคลื่อนที่ ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ ทาให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง ทาให้วัตถุเปลี่ยนทิศทาง ทาให้วัตถุเปลี่ยนความเร็ว เกิดความเร่ง
  • 18. 6. แรง (Force) เป็นปริมาณเวกเตอร์ หน่วยของแรง สัญลักษณ์เขียนแทนแรง • มีทิศทางและมีขนาด • เส้นตรงแทนขนาดและ หัวลูกศรแทนทิศทาง • นิวตัน (N) หรือ Kg*m/s2 • F แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ จึงมีทั้งหนาดและทิศทาง ลักษณะของแรง2
  • 19. 6. แรง (Force) เวกเตอร์ของแรง3 แรง (Force : F) จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ เพราะมี ขนาดและทิศทาง 1. ใช้ส่วนของเส้นตรง แทน ขนาดของแรง 2. ใช้หัวลูกศร แทน ทิศทางของแรง เช่น ออกแรงดันรถเข็น 50 N ไปทางขวามือ อัตราส่วน 1 หน่วย : 10 N
  • 22. 6. แรง (Force) แรงชนิดต่างๆ ที่ควรรู้ 4 ประเภทของแรงชนิดต่างๆ 1.แรงสู่ศูนย์กลาง : เป็นแรงที่มี ทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางของวัตถุ 2.น้าหนัก : เป็นแรงโน้มถ่วงของโลกที่ กระทาต่อวัตถุ 6.แรงลัพธ์ : แรงรวมซึ่ง เป็นผลรวมของแรงย่อย โดยจะต้องรวมกันแบบ ปริมาณเวกเตอร์ 5. แรงหมุน : เป็นแรงที่ทา ให้วัตถุเคลื่อนที่รอบจุดหมุน ที่เรียกว่า “โมเมนต์” 4.แรงดึง : แรงที่เกิดการ เกร็งตัวเพื่อต่อต้านแรง กระทาของวัตถุ 3.แรงต้าน : แรงที่มีทิศทางต่อต้าน การเคลื่อนที่หรือทิศทางตรงข้ามกับแรง ที่พยายามทาให้วัตถุเคลื่อนที่ 7. แรงย่อย : แรงที่เป็นส่วน ประกอบของแรงลัพธ์
  • 23. 7. แรงลัพธ์ (resultant force) ความหมายของแรงลัพธ์1 แรงลัพธ์ คือ ผลรวมของแรงย่อยแบบ เวกเตอร์ของแรงทั้งหมดที่กระทาต่อวัตถุ ถ้าแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์ แสดงว่าไม่มีการ เคลื่อนที่ อันเนื่องมาจากแรงที่มากระทา ต่อวัตถุมีขนาดเท่ากัน และกระทาต่อวัตถุ ในทิศตรงกันข้าม แรงย่อย คือ แรงที่เป็นองค์ประกอบของ แรงลัพธ์
  • 24. 7. แรงลัพธ์ (resultant force) การรวมแรง2 การรวมแรง คือ การนาแรงย่อยหลายแรง ที่กระทาต่อวัตถุเดียวกันมากรวมกันแบบ เวกเตอร์ โดยแรงรวมสุดท้ายที่ได้เรียกว่า “แรงลัพธ์ : R”
  • 25. 7. แรงลัพธ์ (resultant force) การรวมเวกเตอร์ของแรง2 วิธีการวาดรูปแบบหางต่อหัว คือหาได้ดดยนาหางของแรงที่ สองไปต่อหัวลูกศรของแรงแรก และนา หางของแรงที่สามไปต่อกับหัวของแรงที่ สองทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนครบ แรงลัพธ์ ที่ได้คือ แรงที่ลากจากหางงของแรงแรก ไปยังหัวของแรงสุดท้าย ตัวอย่าง กาหนดให้
  • 26. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) แรงที่กระทาต่อวัตถุมีทิศทางเดียวกันและขนานกัน2.1 แรงลัพธ์ มีขนาดเท่ากับผลบวกของแรงย่อย ส่วนทิศทางของแรงลัพธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับ แรงย่อย R = A + B
  • 27. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) แรงที่กระทาต่อวัตถุมีทิศทางตรงข้ามกันและขนานกัน2.2 แรงลัพธ์ มีขนาดเท่ากับผลต่างของแรงย่อย ส่วนทิศทางของแรงลัพธ์ไปในทิศทางทางแรงที่มี ขนาดมากกว่า R = A - B R = (A + B) - C
  • 28. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) แรงที่กระทาต่อวัตถุในแนวทางที่ไม่ขนานกัน2.3 หาเวกเตอร์ลัพธ์โดยการสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและเส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม ด้านขนานที่ใช้แทนเวกเตอร์ลัพธ์ ดังนี้ จากการนาเชือกผูกที่เอวตุ๊กตาจานวน 3 เส้น แล้วให้เด็ก 3 คนดึงปลายเชือก ทั้ง 3 เส้นในแนวที่ไม่ขนานกันจนตุ๊กตาหยุดนิ่ง
  • 29. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงสองแรงทามุมต่อกัน2.4
  • 30. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงสองแรงทามุมต่อกัน2.3
  • 31. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงสองแรงทามุมต่อกัน 90 องศา2.4 แรง 2 แรงกระทาต่อวัตถุเป็นมุมฉาก (90 องศา) ซึ่งกันและกัน ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า เช่น A = 4 N , B = 3 N หาค่า C = เท่าไหร่ วิธีทา C2 = A2 + B2 C2 = 42 + 32 C2 = 1,6 + 9 C2 = 2,5 C = 5 N
  • 32. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงสองแรงทามุมต่อกัน 90 องศา2.4 แรง 2 แรงกระทาต่อวัตถุเป็นมุมฉาก (90 องศา) ซึ่งกันและกัน ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้ว่า เช่น F1 = 40 N , F2 = 30 N หาค่า R = เท่าไหร่ วิธีทา R2 = F1 2 + F2 2 R2 = 402 + 302 R2 = 1,600 + 900 R2 = 2,500 R = 50 N
  • 33. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) การแตกแรง2.5 คือ การแยกแรงย่อยออกมาให้อยู่ในแนวแกนX และ Y ตามมุมที่แรงนั้น กระทา สิ่งที่ควรจา : จาไว้ว่าการแตกแรง ใดๆ เข้าแกน X-Y ให้แตกแรงใกล้ มุมเป็น cos ไกลมุมเป็น sin
  • 34. 2. แรงลัพธ์ (resultant force) การแตกแรง2.4 คือ การแยกแรงย่อยออกมาให้อยู่ในแนวแกนX และ Y ตามมุมที่แรงนั้น กระทา สิ่งที่ควรจา : จาไว้ว่าการแตกแรง ใดๆ เข้าแกน X-Y ให้แตกแรงใกล้ มุมเป็น cos ไกลมุมเป็น sin