SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
บทที่ 3
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ขอองนิวตัน
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
สาขอาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี
𝑭 = 𝒎𝒂
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ขอองนิวตัน
o ความหมาย และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
o การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
o กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
แรง (Force)
แรง คือ การกระทาของวัตถุหนึ่งกระทากับอีกวัตถุหนึ่ง เพื่อ
พยายามเปลี่ยนสถานะของวัตถุนั้น แรงเป็ นปริมาณ
เวกเตอร์ ซึ่งมีทั้งขนาดและทิศทาง
𝐹
𝑆 1 𝑆 2
มวล และ น้าหนัก
oปริมาณที่ใช้บ่งบอกว่าวัตถุนั้น หนัก มากหรือน้อยเพียงใ
oในทางฟิสิกส์ มี สองปริมาณ ไ ้แก่ มวล และ น้าหนัก
oนิยามขอองมวล ในทางฟิสิกส์ คือ
“ปริมาณความเฉื่อยที่ต่อต้านการเคลื่อนที่”
ังนั้น วัตถุที่มีมวลมากจะเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ได้ยาก
กว่าวัตถุที่มีมวลน้อย
ตัวอย่าง ง่ายๆที่เราคุ้นเคยเช่นการ
เข็นรถในห้างสรรพสินค้า
มวลและน้าหนัก
o“มวล(Mass) คือปริมาณของสสารที่ประกอบเป็นวัตถุ”
oดังนั้นมวลจึงใช้บอกถึงปริมาณของวัตถุ และเป็นสเกลาร์
oหน่วยของมวลในระบบ SI คือ กิโลกรัม (kilogram) : กก.
(kg)
มวลของวัตถุหนึ่งๆ มีค่าคงที่เสมอไม่ว่ามวลนี้จะอยู่ที่ใดในจักรวาล
เพราะมวลขึ้นอยู่กับมวลของอะตอมและโมเลกุลของวัตถุ
m1= m2= m3
oนํ้าหนัก (weight) คือแรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทาต่อวัตถุ w= mg
oค่าของ g มีค่าประมาณ 9.8 m/s2 ที่ระดับผิวน้าทะเลของโลก
ow หน่วยของน้าหนัก คือ kg.m/s2 (ซึ่งต่อมาเรียก นิวตัน, N) ดังนั้น น้าหนัก
ของวัตถุมวล 1.0 kg ที่อยู่บนโลกคือ 9.8 N
oน้าหนักเป็นปริมาณเวกเตอร์ บ่งบอกถึงขนาดของแรงที่โลกกระทา(ดึงดูด) ต่อวัตถุ
วัตถุที่มีน้าหนักมากแสดงว่าโลกออกแรงกระทามาก
มวลและน้าหนัก
ขอนา ขอองน้าหนัก หาไ ้จาก mg และ มีทิศสู่ศูนย์กลางโลกเสมอ
w1=mg1
w2=mg2
w3 =mg3
oน้าหนักของวัตถุไม่ได้มีค่าคงที่เสมอไป ขึ้นอยู่กับว่าวัตถุนั้น อยู่ที่
ไหน เนื่องมาจากว่าค่า g มีค่าแตกต่างกันไปแล้วแต่สถานที่
มวลและน้าหนัก
ดาวเสาร์ gS=11.2 m/s2
นํ้าหนักวัตถุเมื่ออยู่บนดาวเสาร์
WS = 11.2 N
ดวงจันทร์ gM=1.554 m/s2
นํ้าหนักวัตถุเมื่ออยู่บนดวงจันทร์
WS = 1.554 N
โลก gE=9.8 m/s2
นํ้าหนักวัตถุเมื่ออยู่บนโลก
WS = 9.8 N
เมื่อวัตถุ มวล(Mass : m) ค่า 1 kg อยู่ ณ สถานที่ต่างๆ กัน
แรง
(Force)
แรงกล
แรง
นิวเคลียร์
แบบเขอ็ง
แรง
นิวเคลียร์
แบบอ่อน
แรง
แม่เหล็ก
ไฟฟ้ า
แรงกล (Mechanic force)
แรงกล เป็ นแรงที่เกิ ขอึ้นโ ยมวลขอองวัตถุ
แบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1. แรง ึง ู ระหว่างมวล
2. แรงตึงผิว
3. แรงพยุง
4. แรงในสปริง
5. แรงเสีย ทาน
fk
F
1
F
2
แรง ึง ู ระหว่างมวล
• F คือ แรง ึง ู ระหว่างมวล
• G คือ ค่าคงที่ขอองการ ึง ู
• m1 คือ มวลขอองวัตถุก้อนที่ 1
• m1 คือ มวลขอองวัตถุก้อนที่ 2
• r คือ ระยะห่างระหว่างมวลขอองวัตถุทั้งสอง
แรง ึง ู ระหว่างมวล คือ แรงที่เกิดขึ้นโดยมวลพยายามดึงดูด
ซึ่งกันและกัน
𝐹 =
𝐺𝑚1 𝑚2
𝑟2
𝑚1
𝑚2
𝑟
𝐺 = 6.67 × 10−11 𝑁𝑚2/𝑘𝑔2
𝐹
แรง ึง ู ระหว่างมวลขอองโมเลกุลชนิ เ ียวกัน (Cohesion
force) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวชนิด
เดียวกันแรงนี้สามารถรับความเค้นดึง (tensile stress) ได้
เล็กน้อย
• น้ำที่เป็นของเหลวในแก้วน้ำเดียวกัน
• เหล็กที่ยังเป็นของแข็งไม่แยกจำกกัน
แรง ึง ู ระหว่างโมเลกุลต่างชนิ กัน (Adhesion force) คือ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับสารชนิดอื่น เช่น
นํ้ากับแก้ว ปรอทกับแก้ว เป็นต้น
• หยดน้ำฝนบนกระจกหน้ำรถ เวลำเรำขับรถ
แรง ึง ู ระหว่างมวล
น้าหนัก
ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
𝑚1 คือ มวลของโลก
𝑚2 คือ มวลของวัตถุที่ชั่ง
𝑊 = 𝑚2 𝑔 คือ น้าหนักของวัตถุ
แรง ึง ู ระหว่างมวล
𝑊 = 𝐹 =
𝐺𝑚1 𝑚2
𝑟2
𝑔 =
𝐺𝑚1
𝑟2
= 9.8 𝑚/𝑠2
ตัวเลขที่วัดได้บนตาชั่ง คือ มวลของวัตถุ (kg) ไม่ใช่ น้าหนัก (N)
ตัวอย่าง 3.1 แรงดึงดูดระหว่างนักศึกษาที่มีมวล 45 kg ที่ยืนที่ผิวโลกกับโลก
มีค่าเท่าไร? โดยให้โลกมีมวล 5.98 x 1024 kg และมีรัศมี
ประมาณ 6,378 km ( 𝐺 = 6.67 × 10−11 𝑁𝑚2/𝑘𝑔2)
ms = 45 kg
ME = 5.98 x 1024 kg
RE = 6,378 km
ตัวอย่าง 3.2 นักศึกษาหญิงและชาย มีมวล 40 และ 60 กิโลกรัม ตามลาดับ
ทั้งสองยืนห่างกัน 1 เมตร นักศึกษาทั้งสองมีแรงดึงดูดต่อกัน
เท่าไร?
1 เมตร
mw = 40 kg
mm = 60 kg
oแรงตึงผิว (Surface Tension) คือ เกิดจาก cohesion
and adhesion ไม่สมดุลกัน เช่น น้าปริ่มถ้วย ฟองสบู่ลอยใน
อากาศ
แรงกลอื่นๆ (Mechanic
force)
𝛾 =
𝐹
2𝐿𝛾 คือ ความตึงผิว
𝐹 คือ แรงตึงผิว
𝐿 คือ ความยาวเส้นสัมผัส
oแรงพยุง (Buoyancy) คือ เป็นแรงที่เกิดจากของไหลออกแรงดันให้
วัตถุลอยได้ ด้วยค่าความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น
แรงกลอื่นๆ (Mechanic
force)
oแรงในสปริง (Stretching Force) เป็นแรงที่สปริงต้านแรงจาก
ภายนอก เพื่อรักษาให้สปริงหยุดนิ่ง
F คือ แรงในสปริง
k คือ ระยะทางที่ยืดออก
x คือ ค่าคงที่สปริง
แรงกลอื่นๆ (Mechanic
force)
𝐹 = −𝑘𝑥
oแรงสู่ศูนย์กลาง (Centripetal force) คือ เป็นแรงที่เกิดขึ้นจาก
วัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม
แรงกลอื่นๆ (Mechanic force)
𝐹 = 𝑚 𝑎 =
𝑚 𝑣2
𝑅
oแรงเสีย ทาน Friction force คือ แรงที่เกิดขึ้นระหว่างผิวของ
วัตถุ เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ มี 3 ระดับ
แรงกลอื่นๆ (Mechanic
force)
𝑓 𝑠
𝐹
แรงเสีย ทานสถิต
𝑓 𝑠 = 𝜇 𝑠 𝑁
1 . วัตถุไม่เคลื่อนที่
𝑣 = 0
𝑓 𝑘
𝐹
𝑣 > 0
แรงเสีย ทานจลน์
𝑓 𝑘 = 𝜇 𝑘 𝑁
2 . วัตถุเริ่มเคลื่อนที่
3 . วัตถุเคลื่อนที่
ตัวอย่าง
3.3
เมื่อ แรงสองแรงทามุมกันค่าต่างๆ ผลรวมของแรงมีค่าต่าสุด 2
นิวตัน และมีค่าสูงสุด 14 นิวตัน ผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อ
กระทา ตั้งฉากกัน จะมีค่าเท่าใด
ตัวอย่าง 3.4 กล่องโลหะใบหนึ่งมีมวล 10 kg วางอยู่บนพื้นไม้ ถ้าออกแรงผลัก
กล่องนี้ 500 N จะทาให้กล่องเริ่มเคลื่อนที่ จงหาสัมประสิทธิ์แรง
เสียดทานสถิตระหว่างกล่องโลหะกับพื้นไม้ (กาหนดให้ g = 9.8
m/s2)
ตัวอย่าง 3.5 นักศึกษาจะต้องออกแรงผลักกล่องไม้ที่มีมวล 5 kg ด้วยแรง
เท่าใด บนพื้นไม้ จึงจะทาให้กล่องใบนี้เคลื่อนที่ ( กาหนดให้
สัมประสิทธิ์ แรงเสียดทานจลน์ระหว่างไม้กับไม้ 𝜇 𝑠 = 0.3)
แรงตึงเชือก (Tension)
oแรงตึงเชือก (Tension) คือ แรงที่เกิดขึ้นในเส้นเชือก ลวด
และอื่นๆ ซึ่งแรงจะเกิดเฉพาะตามแนวเส้นเชือกเท่านั้น และมีทิศ
พุ่งออกจากระบบที่กาลังพิจารณาเสมอ
o การประยุกต์ใช้แรงตึงเชือก เช่น ตราชั่งสปริง สะพาน
เชือก ฯลฯ
แรงตึงเชือก (Tension)
𝑇 = 𝑚 𝑔
แรงไฟฟ้ าสถิต
(Electrostatic force)
oเป็นแรงที่เกิดขึ้นโดยประจุไฟฟ้ า ซึ่งประจุ
ชนิดเดียวกันผลักกัน และประจุต่างชนิด
กันดูดกัน
F คือ แรงไฟฟ้ำ
q1 คือ ประจุไฟฟ้ำตัวที่1
q2 คือ ประจุไฟฟ้ำตัวที่2
r คือ ระยะห่ำงระหว่ำงประจุ
𝐹 =
𝑘𝑞1 𝑞2
𝑟2
แรงดูด
แรงผลัก
แรงแม่เหล็ก
(Magnetic force)
o แรงนี้เกิดจากสารที่เป็นแม่เหล็กดูดสารแม่เหล็กได้ โดยที่แม่เหล็กนั้น
ไม่สูญเสียอานาจเลย ขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกันออกแรงผลักกัน และ
ขั้วแม่เหล็กต่างชนิดกันออกแรงดูดกัน
F คือ แรงกล
q คือ ประจุไฟฟ้ำ
v คือ ควำมเร็วของประจุไฟฟ้ำที่เคลื่อนที่
ในวงจร
𝐹 = 𝑞 𝑣 × 𝐵
แรงนิวเคลียร์ (Neuclear
force)
โปรตอนอยู่รวมกันในนิวเคลียสได้อย่างไร ?
o แรงนิวเคลียร์ คือ แรงยึดเหนี่ยวประจุบวกให้รวมตัว
อยู่ด้วยกันซึ่งแรงนี้มีอำนำจสูงกว่ำแรงผลัก
- -n
+
+
n
?
แรงลัพธ์ (Resultant Force)
o เมื่อวัตถุถูกแรงกระทาพร้อม ๆ กันมากกว่าหนึ่งแรงขึ้นไป ผล
ของแรงกระทาทั้งหมดจะส่งผลเสมือนเกิดจากแรง ๆ เดียว ซึ่ง
เป็นผลจากการรวมกันของแรงทุกแรง เราเรียกแรงที่เกิดจาก
การรวมแรงหลาย ๆ แรงนี้ว่า แรงลัพธ์
𝐹 1
𝐹 2
𝐹 = 𝐹 1 + 𝐹 2 + ⋯
การหาขอนา ขอองแรงลัพธ์
F2x
F2y
F1x
F1y
y
x
F1
F2
o แรงลัพธ์ตามแกน X คือ 𝑅 𝑥 = 𝐹 𝑥
o แรงลัพธ์ตามแกน Y คือ 𝑅 𝑦 = 𝐹 𝑦
แรงลัพธ์ 𝑅 = 𝐹 1 + 𝐹 2 + 𝐹 3 + ⋯ = 𝐹
 𝑅 = 𝑅 𝑥
2
+ 𝑅 𝑥
2
o 𝑅 𝑥 = 𝐹 1𝑥 + 𝐹 2𝑥
o 𝑅 𝑦 = 𝐹 1𝑦 + 𝐹 2𝑦
ตัวอย่าง 3.6 คานวณหาองค์ประกอยตามแนวแกน x และแกน y ของแรง
ลัพธ์ จากนั้นหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์
x
300 N
200 N
30o45o
y
ตัวอย่าง 3.7 จากรูป แรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงย่อยทั้ง 3 แรงดังรูป จะมีขนาด
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x
8 N
10 N
45o
y
2 2 N
กฎการเคลื่อนที่ขอองนิวตัน
Sir Isaac Newton
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ค้นพบธรรมชาติขอองการเคลื่อนเมื่อ
ประมาณ 300 กว่าปี ที่แล้ว
oกฎแรงโน้มถ่วง เมื่อปี 1666
oกฎการเคลื่อนที่ เมื่อปี 1686
Contact Force และ Field
Force
oContact force คือ เป็นแรงที่จะส่งผลให้วัตถุเกิดการ
เคลื่อนที่ได้ก็ต่อเมื่อแหล่งกาเนิดของแรงมีการสัมผัสกับวัตถุ เช่น
แรงอันเกิดจากการลากหรือผลักรถ แรงอันเกิดจากการเตะลูกบอล
oField force คือ เป็นแรงที่จะส่งผลให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ได้
โดยที่แหล่งกาเนิดของแรงไม่จาเป็นต้องสัมผัสกับวัตถุ เช่น แรง
โน้มถ่วงของโลก แรงดึงดูดหรือผลักของประจุไฟฟ้ า
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่หนึ่งขอองนิวตัน
oกฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่หนึ่งขอองนิวตัน กล่าวว่า วัตถุที่หยุดนิ่งจะ
ยังคงหยุดนิ่งต่อไป และวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ก็จะ
ยังคงรักษำสภำพกำรเคลื่อนที่นั้น ตรำบใดที่ไม่มี
แรงมำกระทำต่อวัตถุ หรือ แรงที่มำกระทำนั้น
หักล้ำงกันเป็นศูนย์
o การรักษาสภาพการเคลื่อนที่ของตัวเอง เรียกว่า วัตถุมี
ความเฉื่อย (Inertia) ปริมาณที่แสดงให้เห็นถึงความ
เฉื่อยของวัตถุ คือ มวล (mass) มวลมาก ความ
เฉื่อยมาก รักษาสภาพการเคลื่อนที่ได้ดี สภาพสมดุล
(Equilibrium)
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่หนึ่งขอองนิวตัน คือ 𝐹 = 0
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่หนึ่งขอองนิวตัน
𝐹 𝐹
แรงที่มากระทํานั้นหักล้างกันเป็นศูนย์
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่หนึ่งขอองนิวตัน คือ 𝐹 = 0
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่หนึ่งขอองนิวตัน
วัตถุมีความเฉื่อย (Inertia)
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่หนึ่งขอองนิวตัน
รักษาสภาพการเคลื่อนที่
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สองขอองนิวตัน
oกฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สองขอองนิวตัน กล่าวว่า ถ้ำมีแรงมำ
กระทำต่อวัตถุ หรือแรงที่มำกระทำนั้นไม่หักล้ำง
กันเป็นศูนย์วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยควำมเร่งกฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สองขอองนิวตัน คือ 𝐹 = 𝑚 𝑎
ความเร่ง = แรงลัพธ์/มวลขอองวัตถุ
ความเร่งมีทิศทางตามทิศขอองแรงลัพธ์ที่มากระทา
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สองขอองนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สองขอองนิวตัน คือ 𝐹 = 𝑚 𝑎
𝐹
𝑎
𝑚
แรงที่มากระทํานั้นหักล้างกันไม่เป็นศูนย์
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สามขอองนิวตัน
• กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สามขอองนิวตัน กล่าวว่า ทุกแรงกิริยาจะต้องมี
แรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางตรงข้ามเสมอ หรือ แรง
กระทําซึ่งกันและกันของวัตถุทั้งสอง ย่อมมีขนาดเท่ากันและทิศ
ตรงข้าม
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สามขอองนิวตัน คือ 𝐹 𝐴 = − 𝐹 𝑅
แรงกิริยา = แรงปฏิกิริยา
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สามขอองนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สามขอองนิวตัน คือ 𝐹 𝐴 = − 𝐹 𝑅
แรงกิริยา = แรงปฏิกิริยา
𝑚 𝑔
𝑁
o เราจะประยุกต์กฏของนิวตันกับวัตถุทั้งกรณีวัตถุอยู่ในสภาวะสม ุลและวัตถุ
เคลื่อนที่ ้วยความเร่งเชิงเส้นด้วยแรงภายนอกที่คงที่
o เนื่องจากเราโมเดลวัตถุเป็ นอนุภาคดังนั้นจึงไม่คานึงถึงการเคลื่อนที่แบบหมุน
และไม่คิ ถึงแรงเสีย ทานตลอดการเคลื่อนที่ โดยทั่วไปจะไม่คิ ถึงมวลขออง
เส้นเชือก ลวดหรือเคเบิล และประมาณการณ์ว่า ขนาดของแรงที่กระทาในแต่
ละจุดบนเส้นเชือกเท่ากันตลอดทั้งเส้น โดยคาที่ใช้แทนความหมายดังกล่าวคือ
เชือกเบาและไม่คิ มวลขอองเชือก
o เมื่อนาวัตถุมาแขวนกับเชือก เชือกจะออกแรงกระทากับวัตถุ T ขนาดของแรง
T เรียกว่า ความตึง(tension)ในเส้นเชือก(ความตึงเป็นปริมาณสเกลาร์)
กฎการเคลื่อนที่ขอ้อที่สามขอองนิวตัน
วัตถุอยู่ในสภาวะสม ุล
o ถ้าความเร่งขอองวัตถุเป็ นศูนย์ วัตถุอยู่ในสภาวะสม ุล
o พิจารณาโคมไฟที่แขอวนบนเพ าน
𝑊
𝑇
o แรงลัพธ์ตามแกน Y เป็ น 𝐹 𝑦 = 0
ไ ้ว่า 𝑻 − 𝑾 = 0 → 𝑻 = 𝑾
T และ W ไม่ใช่แรงคู่กิริยา –ปฎิกิริยากัน
วัตถุอยู่ในสภาวะสม ุล
o ตัวอย่างเช่น เมื่อออกแรงก หนังสือ
แรงลัพธ์ตามแกน Y เป็น 𝐹 𝑦 = 0
ได้ว่า 𝑁 − 𝐹 − 𝑊 = 0
หรือ 𝑁 = 𝐹 + 𝑊𝑊𝑁
𝐹
o ไฟจลาจรมีน้าหนักและแขอวนติ กับเพ าน ้วยเชือก ังรูป
𝑇 1
𝑇 2
𝑇 3
จงคานวณหาแรงตึงเชือก T1, T2 และ T3
ตัวอย่าง 3.9
วัตถุอยู่ในสภาวะสม ุล
o จากนั้นแยกพิจารณาเป็ นสม ุลตามแนวแกนx และสม ุลตามแนวแกนy ังนี้
𝑇 1
𝑇 2
150 𝑁
37° 53°
จงคานวณหาแรงตึงเชือก T1 และ T2 เมื่อไฟจลาจรมี
น้าหนัก 150 N แขอวนติ กับเพ าน ้วยเชือก
ตัวอย่าง 3.10
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o รถมวล m เคลื่อนที่ลงบนพื้นเอียงที่ทามุม  กับแนวระ ับ จงคานวณหา
a) จงหาความเร่งขอองรถ ถ้าพื้นไม่มีความเสีย ทาน
b) ถ้ารถถูกปล่อยจากหยุ นิ่งจากยอ พื้นเอียงลงมา ้านล่างโ ยมีระยะตามแนวพื้นเอียง
เป็ น d จงหาว่านานเท่าใ รถถึงจะเคลื่อนลงมาถึง ้านล่างขอองพื้นเอียงและมีอัตราเร็ว
ขอณะนั้นเท่าใ
 𝑚 𝑔
𝑁
 𝑚 𝑔 cos 𝜃
𝑚 𝑔 sin 𝜃
ตัวอย่าง 3.11
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o วัตถุสองก้อน มวล m1 และมวล m2 โ ย m1>m2 วางติ กันบนพื้นลื่น ังรูป
ถ้าออกแรง F คงที่ตามแนวระ ับกระทากับมวล m1 ังรูป จงหา
a) ขอนา ขอองความเร่งขอองระบบ
b) จงหาแรงสัมผัสระหว่างวัตถุทั้งสอง
m1 m2
F
ตัวอย่าง 3.12
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o ชายคนหนึ่งชั่งน้าหนักขอองปลา ้วยตาชั่งสปริงซึ่งผูก
ติ อยู่กับเพ านขอองลิฟท์ ังรูป จงแส งว่าถ้าลิฟท์
เคลื่อนที่ขอึ้นหรือลง ้วยความเร่ง a ตาชั่งสปริงจะอ่าน
น้าหนักขอองปลาไ ้เท่าไร
T
mg
a
ตัวอย่าง 3.13
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o Atwood Machine
จงหาความเร่งขอองระบบ และ แรงตึงเชือก
ตัวอย่าง 3.14
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o ลูกบอลมวล m1 และวัตถุมวล m2 ผูกติ กัน ้วยเชือกเบา ผ่านรอกเบา ัง
รูป ถ้าวัตถุวางอยู่บนพื้นเอียงทามุม  จงหาขอนา ขอองความเร่ง และ แรงตึง
เชือก
m1
𝑎
𝑎

ตัวอย่าง 3.15
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o การท ลองเพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์ความเสีย ทาน สมมติมีวัตถุหนึ่งวางอยู่บน
พื้นเอียง ังรูป ถ้าเพิ่มมุมขอองพื้นเอียงจนกระทั่งวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ลง ค่ามุม c
ที่ทาให้วัตถุเริ่มเคลื่อนที่สามารถนามาคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์ความเสีย
ทานสถิตย์ ไ ้

ตัวอย่าง 3.16
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่บนพื้นโ ยมีความเร็วเริ่มต้นเป็ น v ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ไ ้ d
ก่อนที่จะหยุ นิ่ง จงคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์ความเสีย ทานจลน์ระหว่างวัตถุ
กับพื้น
m2
𝑁
𝑚 𝑔
𝑓𝑘
Motion
ตัวอย่าง 3.17
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o วัตถุหนึ่งมีมวล m1 วางอยู่บนพื้นซึ่งผูกติ กับลูกบอลมวล m2 ้วยเชือกเบาผ่าน
รอกเบา ังรูป ถ้าออกแรง F กระทากับวัตถุเป็ นมุม  จงหาค่าสัมประสิทธิ์ความ
เสีย ทานจลน์ระหว่างวัตถุกับพื้น และ คานวณหาขอนา ขอองความเร่งขอองวัตถุทั้งสอง
้วย
m1
m2
𝐹

𝑎
𝑎
ตัวอย่าง 3.18
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o วัตถุ2ก้อนผูกติ กัน ้วยเชือกเบา ถ้าออกแรง F, M, m, k จงหาแรงตึงเชือก
T และขอนา ขอองความเร่งขอองระบบ
m
M
F
T
a
k
Motion
ตัวอย่าง 3.19
วัตถุเคลื่อนที่ ้วยความเร่ง
o จงคานวณหาแรงที่กระทาต่อรถเพื่อทาให้วัตถุทั้งสองอยู่นิ่งบนรถ ังกล่าว สมมติว่า
ทุกพื้นผิวไม่มีแรงเสีย ทาน
m1
M
𝐹
m2 Motion
ตัวอย่าง
3.20
วัตถุก้อนหนึ่งวางบนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทานถูกแรง 50 นิวตัน
กระทาจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 4 เมตร/วินาที2 อยากทราบว่า
วัตถุนี้มีมวลกี่กิโลกรัม
ตัวอย่าง
3.21
รถทดลองมวล 15 กิโลกรัม ถูกแรงดึง 30 นิวตัน จะเคลื่อนที่
ด้วยความเร่งเท่าใด และหากตอนแรกมวลนี้อยู่นิ่งๆ ถามว่าเมื่อ
เวลาผ่านไป 2 วินาที จะเคลื่อนที่ไปได้ไกลกี่เมตร
Motion
Motion
ตัวอย่าง
3.22
ถ้า T1= 4 นิวตัน และพื้นไม่มีความเสียดทาน ถ้าต้องการให้วัตถุ
ทั้งสามเคลื่อนที่ ด้วยความเร่ง a เมตรต่อวินาที2 แรง P ต้องมี
ขนาดกี่นิวตัน
5 kg 4 kg
P
T1
a
37o
8 kgT2
ตัวอย่าง
3.23
เชือกแขวนไว้กับเพดาน มีลิงมวล 20 กิโลกรัม โหนเชือกอยู่สูง
จากพื้น 10 เมตรได้รูดตัวลงมากับเชือก ด้วยความเร่งคงที่ถึงพื้น
ใช้เวลา 2 วินาที ความตึงเชือกเป็นเท่าใด ไม่คิดมวลของเชือก
ตัวอย่าง
3.24
วัตถุมวล 3 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม ผูกติดกัน ด้วยเชือก ดังรูป
วัตถุทั้งสองถูกดึงขึ้นด้วยเชือกอีกเส้นด้วยความเร่ง 2 เมตรต่อ
วินาที2 ในแนวดิ่ง แรงดึงเชือกทั้งสองมีค่า เท่า ใด
3 kg
2 kg
T1
T2
ตัวอย่าง
3.25
ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยู่ในลิฟต์ จงหาแรงที่พื้นลิฟต์
กระทาต่อชายคนนั้น เมื่อลิฟต์เริ่มเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 1.2
เมตรต่อวินาที2
a
บทที่ 3
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ขอองนิวตัน
อ.ณภัทรษกร สารพัฒน์
สาขอาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ลพบุรี

More Related Content

What's hot

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แรงจากสนามโน้มถ่วง
แรงจากสนามโน้มถ่วงแรงจากสนามโน้มถ่วง
แรงจากสนามโน้มถ่วงNavapol Plookchaly
 

What's hot (20)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แรงจากสนามโน้มถ่วง
แรงจากสนามโน้มถ่วงแรงจากสนามโน้มถ่วง
แรงจากสนามโน้มถ่วง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 

Viewers also liked

บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]Janesita Sinpiang
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 

Viewers also liked (6)

บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 

Similar to บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันApinya Phuadsing
 

Similar to บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (20)

03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

More from Thepsatri Rajabhat University

บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics IThepsatri Rajabhat University
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s EquationsThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 

More from Thepsatri Rajabhat University (19)

Timeline of atomic models
Timeline of atomic modelsTimeline of atomic models
Timeline of atomic models
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
CHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and SolidsCHAPTER 10 Molecules and Solids
CHAPTER 10 Molecules and Solids
 
Trm 7
Trm 7Trm 7
Trm 7
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics ICHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
CHAPTER 5 Wave Properties of Matter and Quantum Mechanics I
 
CHAPTER 4 Structure of the Atom
CHAPTER 4Structure of the AtomCHAPTER 4Structure of the Atom
CHAPTER 4 Structure of the Atom
 
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum TheoryCHAPTER 3The Experimental Basis of Quantum Theory
CHAPTER 3 The Experimental Basis of Quantum Theory
 
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equationsกฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
กฎของ Hamilton และ Lagrange’s Equations
 
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะบทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
บทที่ 2 ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ
 
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
บทที่ 1 กำเนิดฟิสิกส์แผนใหม่
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียงบทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 

บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน