SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
1
โลกและการเปลี่ยนแปลง
สอนโดย: ครูวันวิสา แพนพันธุ์อ้วน
และครูสมฤทัย แปลงศรี
2
ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณี (plate tectonic theory)
เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิดและการเปลี่ยนแปลงของทวีปและ
มหาสมุทร ซึ่งทฤษฎีนี้ได้รากฐานมากจาก
• ทฤษฎีทวีปเลื่อน (Continental Drift Theory) ของ Dr.
Alfred Wegener
• ทฤษฎีพื้นสมุทรแผ่ขยาย (Sea-floor Spreading Theory)
ของ Dr. Harry H. Hess
โลกและการเปลี่ยนแปลง
3
ทฤษฎีทวีปเลื่อน
ของ Wegener
4
Dr. Alfred Wegener ได้
ตั้งสมมติฐานว่าผืนแผ่นดินทั้งหมดบน
โลกแต่เดิมเป็นแผ่นดินผืนเดียวกัน
เรียกว่า พันเจีย (Pangaea) ซึ่งเป็น
ภาษากรีก แปลว่า แผ่นดินทั้งหมด
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
Dr. Alfred Wegener
นักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน
5
ส่วนเหนือ
เส้นศูนย์สูตร
คือ ลอเรเซีย
ส่วนใต้เส้น
ศูนย์สูตร คือ
กอนต์วานา
ล้อมรอบด้วย
มหาสมุทร
พันทาลัสซา
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
6
หลักฐานและข้อมูลทางธรณีภาคที่ทาให้เชื่อว่าทวีปต่างๆใน
ปัจจุบันแต่เดิมเป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อนแล้วค่อย ๆ แยก
ออกจากกัน
Wegener et. al. ได้อธิบายสมมติฐานดังกล่าว โดยมีหลักฐาน
และเหตุผล ดังต่อไปนี้
7
ทวีปสามารถต่อกันได้พอดี
เหมือนต่อจิ๊กซอว์ แต่ไม่สมบูรณ์
เนื่องจากผลจากการกัดเซาะ
ชายฝั่ง และการสะสมตัวของ
ตะกอนทาให้ขอบของทวีป
เปลี่ยนแปลงไป
1. หลักฐานจากรอยต่อของทวีป
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
8
ในปี พ.ศ. 2508 Sir Edward Bullard นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ
และคณะได้แสดงให้เห็นว่า สามารถนาทวีปต่าง ๆ มาเชื่อมต่อ
กันได้พอดี โดยใช้ขอบทวีปที่ระดับความลึก 2000 เมตร จาก
Sir Edward Bullard นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
ระดับน้าทะเล ซึ่งเป็นแนวลาดทวีป
(continental slope) เพราะจะเกิดการกร่อน
และการสะสมตัวของตะกอนน้อย
1. หลักฐานจากรอยต่อของทวีป
9
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
2. หลักฐานจากความคล้ายคลึงของกลุ่มหินและแนวภูเขา
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
10
เป็นกลุ่มหินที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หนาวเย็น และมีการ
ระเบิดของภูเขาไฟเหมือนกัน
แนวเทือกเขายังเป็นหลักฐานที่นามาใช้อธิบายการเชื่อมต่อ
ของทวีป เช่น แนวเทือกเขา Appalachian กับแนวเทือกเขาที่
พบทางตะวันออกของกรีนแลนด์ ไอร์แลนด์ อังกฤษและ
นอร์เวย์
2. หลักฐานจากความคล้ายคลึงของกลุ่มหินและแนวภูเขา
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
11
พบหลักฐานจาก
องค์ประกอบในหินตะกอน
รอยขูดในหินแสดงถึงทิศ
ทางการเคลื่อนที่ของธาร
น้าแข็ง สอดคล้องกันซึ่ง
สังเกตจากการรอยขูดในหินที่
พบในทวีปต่าง ๆ
3. หลักฐานจากหินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้าแข็ง
นักวิทยาศาสตร์เรียกสมัยน้าแข็งที่เกิดขึ้นในช่วงปลาย
มหายุคพาลีโอโซอิกนี้ว่า สมัยน้าแข็งคะรู (Karoo Ice Age)
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
12
ธารน้าแข็งโบราณซึ่งถูกพบบริเวณตอนใต้ของแอฟริกาและ
อเมริกาใต้ รวมทั้งในอินเดียและออสเตรเลีย แสดงให้เห็นเค้า
โครงการเชื่อมต่อกันของผืนทวีปเมื่อครั้งอดีต
3. หลักฐานจากหินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้าแข็ง
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
13
3. หลักฐานจากหินที่เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนจากธารน้าแข็ง
การสะสมตัวของชั้นถ่านหิน
ซึ่งเป็นบริเวณขั้วโลกเหนือ
ในมหายุคพาลีโอโซอิกตอน
ปลาย
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
14
4. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
ทวีปที่เคยติดกันเป็ น
กอนด์วานา พบซากดึกดา
บรรพ์ Mesosaurus เป็น
สัตว์เลื้อยคลานที่อาศัยในน้า
จืด พบเฉพาะบริเวณทวีป
อเมริกาใต้ และแอฟริกาตอน
ใต้เท่านั้น เนื่องจากเป็นสัตว์
น้าจืด จึงไม่สามารถที่จะว่าย
น้าข้ามมหาสมุทรได้
ทฤษฎีทวีปเลื่อนของ Wegener
15
4. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
16
หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา
ที่สนับสนุนการเคลื่อนตัวของทวีป
หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา
ที่สนับสนุนการเคลื่อนตัวของทวีป
17
1. เทือกเขาใต้สมุทร (Oceanic Ridge) และร่องลึกใต้สมุทรหรือ
ร่องก้นสมุทร (Trench)
หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา
ที่สนับสนุนการเคลื่อนตัวของทวีป
18
2. อายุหินบริเวณพื้นมหาสมุทร
บริเวณสันเขาใต้
สมุทร มีอายุน้อย
กว่าอายุหินที่อยู่
ห่างออกไปจาก
บริเวณสันเขา
หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา
ที่สนับสนุนการเคลื่อนตัวของทวีป
19
3. ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาล (paleomagnetism)
จากหินบะซอลต์ที่มีแร่แมกนีไทต์
(Fe3O4) เป็นองค์ประกอบจากข้อมูล
ด้านสนามแม่เหล็ก สามารถ
คานวณหาตาแหน่ง
ดั้งเดิมของพื้นที่ใน
อดีตได้
20
ผังแสดงโครงสร้างภายในของ
โลก แก่นโลกชั้นนอกคือส่วนที่
ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก
หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา
ที่สนับสนุนการเคลื่อนตัวของทวีป
แถบแม่เหล็กรอบสันเขากลางมหาสมุทร
เป็นแถบบันทึกการเปลี่ยนแปลง
สนามแม่เหล็กโลกตลอดเวลาหลายล้าน
ปีที่ผ่านมา
21
กระบวนการที่ทาให้เกิด
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
22
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
23
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี เกิดจาก
การถ่ายโอนความร้อนภายในโลก ซึ่งมีเปลือกโลกที่เป็นของแข็ง
ห่อหุ้มไว้โดยบริเวณส่วนล่างของสันเขาใต้สมุทร จะมีสารร้อน
ไหลเวียนขึ้นมา เมื่อสารร้อนมีอุณหภูมิลดลงจะมีความหนาแน่น
มากขึ้น และมุดตัวลงสู่ชั้นเนื้อโลกบริเวณร่องลึกใต้สมุทร
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
24
สารร้อนมีการเคลื่อนที่ไหลเวียนเป็นวงจร เรียกว่า วงจรพา
ความร้อน (Convention Cell)
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
25
วงจรการพาความร้อนทาให้เปลือกโลกบริเวณกลางมหาสมุทร
ยกตัวขึ้น หินในเนื้อโลกจะหลอมตัวเป็น แมกมา แทรกดันขึ้นมา
บนผิวโลกทาให้เกิดชั้นธรณีภาคใหม่แทรกดันชั้นธรณีภาคเก่าให้
เคลื่อนที่ห่างออกไปจากรอยแยก ขณะเดียวกันยังมีแรงดึงจาก
การมุดตัวลงของแผ่นธรณี แผ่นที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะจม
ลงสู่ชั้นเนื้อโลกในเขตมุดตัว (Subduction Zone) ทาให้แผ่น
ธรณีเกิดการเคลื่อนที่
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
26
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
27
แผ่นธรณี (Plate) มีสถานะเป็นของแข็ง ประกอบด้วยชั้น
เปลือกโลกรวมกับส่วนบนสุดของชั้นเนื้อโลก แบ่งเป็น 2 แบบ
คือ
1. แผ่นธรณีทวีป (Continental Plate)
2. แผ่นธรณีมหาสมุทร (Oceanic Plate)
แผ่นธรณีทวีปจะมีความหนาแน่นน้อยกว่าแผ่นธรณี
มหาสมุทร
กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
28
29
การเลื่อนของแผ่นธรณี
จากอดีตถึงปัจจุบัน
การเลื่อนของแผ่นธรณีจากอดีตถึงปัจจุบัน
30
การเลื่อนของ
แผ่นธรณีจาก
อดีตถึงปัจจุบัน
31
32
ลักษณะการเคลื่อนที่
ของแผ่นธรณี
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
33
แผ่นธรณีแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ แผ่นทวีปและแผ่น
มหาสมุทร แผ่นธรณีเหล่านี้มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
นักวิทยาศาสตร์และนักธรณีวิทยาได้ศึกษารอบต่อของแผ่นธรณี
อย่างละเอียด และสามารถสรุปลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่น
ธรณีได้ดังนี้
1. แผ่นธรณีที่แยกออกจากกัน
2. แผ่นธรณีที่เคลื่อนเข้าหากัน
3. แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่ผ่านกัน
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
34
1. แผ่นธรณีที่แยกออกจากกัน (Divergent Plates)
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
35
เกิดรอยแตกในชั้นหินแข็ง จนแมกมาสามารถถ่ายโอนความ
ร้อนสู่ชั้นเปลือกโลกได้ อุณหภูมิและความดันของแมกมาจึง
ลดลงเป็นผลให้เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวกลายเป็นหุบเขาทรุด
ในระยะเวลาต่อมาเมื่อมีน้าไหลมาสะสมเกิดเป็นทะเลและเกิด
เป็นรอยแตกจนเป็นร่องลึก เมื่อแมกมาเคลื่อนตัวแทรกขึ้นมา
ตามรอยแตก จะทาให้แผ่นธรณีมหาสมุทรเคลื่อนตัวแยก
ออกไปทั้งสองข้าง พื้นทะเลจะขยายกว้างออกไปทั้งสองด้าน
เรียกกระบวนการนี้ว่า การขยายตัวของพื้นทะเล
1. แผ่นธรณีที่แยกออกจากกัน (Divergent Plates)
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
36
2. แผ่นธรณีที่เคลื่อนเข้าหากัน (Convergent Plates)
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
37
แนวที่แผ่นธรณีชนหรือมุดซ้อนกันเป็นไปได้ 3 แบบ คือ
(1) แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีมหาสมุทร
2. แผ่นธรณีที่เคลื่อนเข้าหากัน (Convergent Plates)
ปลายของแผ่นที่มุดลงจะหลอม
ตัวกลายเป็นแมกมาและปะทุ
ขึ้นมาบนแผ่นธรณีมหาสมุทร เกิด
เป็นภูเขาไฟกลางมหาสมุทร เช่น
ที่หมู่เกาะมาริอานาส์ อาลูเทียน
ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ จะมีลักษณะเป็นร่องใต้ทะเลลึก มีแนวการเกิด
แผ่นดินไหวตามขอบแผ่นธรณีภาคลึกลงไปถึงชั้นเนื้อโลก
รวมทั้งมีภูเขาไฟที่ยังมีพลัง
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
38
แนวที่แผ่นธรณีชนหรือมุดซ้อนกันเป็นไปได้ 3 แบบ คือ
(2) แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวีป
2. แผ่นธรณีที่เคลื่อนเข้าหากัน (Convergent Plates)
แผ่นธรณีมหาสมุทรซึ่งหนัก
กว่าจะมุดลงใต้แผ่นธรณีทวีป ทา
ให้เกิดรอยคดโค้งเป็นเทือกเขาบน
แผ่นธรณีทวีป เช่น ที่อเมริกาใต้
แถบตะวันตก แนวชายฝั่งโอเรกอน
จะมีลักษณะเป็นร่องใต้ทะเลลึก ตาม
แนวขอบทวีปมีภูเขาไฟปะทุในส่วนที่เป็นแผ่นดิน เกิดเป็นแนว
ภูเขาไฟชายฝั่ง เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
39
แนวที่แผ่นธรณีชนหรือมุดซ้อนกันเป็นไปได้ 3 แบบ คือ
(3) แผ่นธรณีทวีปชนกับแผ่นธรณีทวีป
2. แผ่นธรณีที่เคลื่อนเข้าหากัน (Convergent Plates)
แผ่นธรณีทั้งสองมีความหนามาก
เมื่อชนกันจึงทาให้ส่วนหนึ่งมุดลง
อีกส่วนหนึ่งเกยกันอยู่เกิดเป็น
เทือกเขาสูงแนวยาวอยู่ในแผ่น
ธรณีทวีป เช่น เทือกเขาหิมาลัยใน
ทวีปเอเชีย เทือกเขาแอลป์ ในทวีป
ยุโรป เป็นต้น
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
40
3. แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกันหรือเฉือนกัน (Transform Plates)
ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
41
เนื่องจากอัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่
เท่ากัน ทาให้แผ่นธรณีในแต่ละส่วนมีอัตราการเคลื่อนที่ไม่
เท่ากัน ทาให้เปลือกโลกใต้มหาสมุทรและบางส่วนของเทือกเขา
ใต้สมุทรไถลเลื่อนผ่านและเฉือนกัน เกิดเป็นรอยเลื่อนเฉือน
ระนาบด้านข้างขนาดใหญ่ขึ้น สันเขากลางมหาสมุทรถูกรอย
เลื่อนขึ้นตัดเฉือนเป็นแนวเหลื่อมกันอยู่ มีลักษณะเป็นแนวรอย
แตกแคบยาวมีและหรือร่องใต้ทะเลลึก ในบริเวณภาคพื้นทวีป
หรือมหาสมุทร เช่น รอยเลื่อนซานแอนเดรียส ประเทศ
สหรัฐอเมริกา รอยเลื่อนอัลไพน์ ประเทศนิวซีแลนด์
3. แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกันหรือเฉือนกัน (Transform Plates)
42
การเปลี่ยนลักษณะ
ของเปลือกโลก
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
43
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก อันเนื่องมาจากการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ซึ่งมีลักษณะการเปลี่ยนที่สาคัญคือ
1. ชั้นหินคดโค้ง (fold)
การโค้งงอของชั้นหิน เป็นการเปลี่ยนลักษณะของชั้นหินที่
เปลี่ยนรูปแล้วไม่คืนตัว แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ชั้นหินคดโค้ง
รูปประทุน (Anticline) และชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย
(Syncline)
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
44
2. รอยเลื่อน (fault)
รอยเลื่อน (fault) คือ ระนาบรอยแตกตัดผ่านหินซึ่งมีการ
เคลื่อนที่ผ่านกัน และหินจะเคลื่อนตามระนาบรอยแตกนั้น เรา
สามารถจาแนกรอยเลื่อนออกได้เป็น 3 ประเภท
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
45
2. รอยเลื่อน (fault)
รอยเลื่อนปกติ (normal fault)
มีการเคลื่อนที่ตามมุมเทของ
ระนาบรอยเลื่อน โดยที่หินเพดาน
มีการเคลื่อนที่ลง หินพื้นมีการ
เคลื่อนที่ขึ้น โดยมีมุมเทมากกว่า
45 องศา
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
46
2. รอยเลื่อน (fault)
รอยเลื่อนย้อน (reverse fault)
มีการเคลื่อนที่ตามมุมเทของระนาบ
รอยเลื่อน โดยที่หินเพดานมีการ
เคลื่อนที่ขึ้น หินพื้นมีการเคลื่อนที่ลง
โดยมีมุมเทมากกว่า 45 องศา แต่ถ้า
มีมุมน้อยกว่า 45 องศา จะเรียกว่า
รอยเลื่อนย้อนมุมต่า (trust fault)
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
47
2. รอยเลื่อน (fault)
รอยเลื่อนตามแนวระดับ
(strike-slip fault) มีมุมเทของ
ระนาบรอยเลื่อน มีค่า 90 องศา
และหินจะเคลื่อนที่ในทิศทาง
เดียวกับแนวระดับของระนาบ
รอยเลื่อน

More Related Content

What's hot

8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
Wichai Likitponrak
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
Wichai Likitponrak
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 

What's hot (20)

โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 

Viewers also liked

การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
A Bu'mbim Kanittha
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
KruPa Jggdd
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
Chay Kung
 

Viewers also liked (10)

Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
แผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาคแผ่นธรณีภาค
แผ่นธรณีภาค
 
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 

Similar to บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
Kroo Mngschool
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
soysuwanyuennan
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
nasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
kalita123
 

Similar to บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง (20)

แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
Change e2009 1
Change e2009 1Change e2009 1
Change e2009 1
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
แผ่นดินไหว ดาราศาสตร์ (Earthquake - Astronomy class)
 
นำเสนอโลก
นำเสนอโลกนำเสนอโลก
นำเสนอโลก
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
Geopolitics 53
Geopolitics 53Geopolitics 53
Geopolitics 53
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 

More from Ta Lattapol

More from Ta Lattapol (11)

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง