SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
1
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
บทที่ 8 การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
ทบทวนการเคลื่อนที่แบบหมุน
1. ปริมาณตางๆที่เกี่ยวของกับการหมุน
วัตถุที่ไมเปลี่ยนรูปรางเมื่อเคลื่อนที่หรือมีแรงมากระทํา เรียกวา วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid body)
 คือ วัตถุที่มีแรงกระทําในแนวไมผานจุดศูนยกลางมวล (C.M) จะมีโมเมนตของแรงที่ไมเปนศูนย
มามากระทํา (ทอรก) สงผลใหวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบหมุนรอบจุดศูนยกลางมวล หรือหมุนอยูกับที่
รอบแกนคงตัว
 ตัวอยางเชน การเคลื่อนที่ของลูกขาง พัดลม ลอรถ ลูกปงปอง ลูกฟุตบอล เปนตน
 ปริมาณตางๆที่เกี่ยวของกับเคลื่อนที่แบบหมุน มีดังนี้ การหมุน
1.1 การกระจัดเชิงมุม (angular displacement)
 หมายถึง มุมที่กวาดไปไดรอบแกนหมุน เมื่อวัตถุหมุนเปนวงกลม
 สัญลักษณ คือ  มีหนวยเปน เรเดียน หรือ รอบ (rad)
 โดยหาไดจากสมการ
r
s

1.2 ความเร็วเชิงมุม (angular Velocity)
 หมายถึง การกระจัดเชิงมุมที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา
 สัญลักษณ คือ 

มีหนวยเปน เรเดียน/วินาที (rad/s)
 โดยหาไดจากสมการ
T
f
t




2
2 





1.3 ความเรงเชิงมุม (angular acceleration)
 หมายถึง ความเร็วเชิงมุมที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา
 สัญลักษณ คือ 

มีหนวยเปน เรเดียน/วินาที2 (rad/s2)
 โดยหาไดจากสมการ
r
t
2


 





นอกจากนี
2
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ตาราง เปรียบเทียบสมการการเคลื่อนที่แนวเสนตรง กับสมการการเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่ในแนวเสนตรง การเคลื่อนที่แบบหมุน เปรียบเทียบ
asuv
t
vu
S
atutS
atuv
2
2
2
1
22
2






 











S
a
v
u 0
การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิก (harmonic motion)
ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิก
-เคลื่อนที่กลับไปมาซ้ํารอยเดิม
-มีการสั่น (vibration) หรือ การแกวงกวัด(oscillation)
ตัวอยางการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกที่พบในชีวิตประจําวัน
3
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย (Simple harmonic motion)
1. ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ํารอยเดิม ผานตําแหนงสมดุลโดยมีแอมพลิจูดและคาบคงที่
พิจารณาการเคลื่อนที่ของรถทดลองติดปลายสปริงที่ตําแหนงตาง ๆ ดังรูป
4
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ตัวอยางที่ 1วัตถุชิ้นหนึ่งติดที่ปลายสปริง มีตําแหนงสมดุลที่ x = 0 ดึงวัตถุไปตําแหนง x = 0.1 เมตร จากตําแหนง
สมดุล แลวปลอยวัตถุพรอมเริ่มจับเวลา พบวาวัตถุเคลื่อนที่กลับมาที่ตําแหนง x = 0.1 เมตร อีกครั้ง
ใชเวลา 2.2 วินาที (ในหนังสือเรียน หนา 4)
จงหา ก. แอมพลิจูด ข. คาบ และ ค. ความถี่
ลองฝกทํานะคะ
วัตถุชิ้นหนึ่งติดที่ปลายสปริง มีตําแหนงสมดุลที่ x = 0 ดึงวัตถุไปตําแหนง x = 30 เซนติเมตร จากตําแหนงสมดุล แลว
ปลอยวัตถุพรอมเริ่มจับเวลา พบวาวัตถุเคลื่อนที่กลับมาที่ตําแหนง x = 30 เซนติเมตร อีกครั้ง ใชเวลา 5.5 วินาที
จงหา ก. แอมพลิจูด ข. คาบ และ ค. ความถี่
คําถามตรวจสอบความเขาใจ 8.1 (ในหนังสือเรียน หนา 5)
1. การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายมีลักษณะอยางไร
2. จงอธิบายตําแหนงสมดุล
3. การเคลื่อนที่แบบวงกลมของจุกยาง การแกวงของลูกตุมอยางงาย เปนการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
หรือไม เพราะเหตุใด
5
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
แบบฝกหัด 8.1 (ในหนังสือเรียน หนา 5)
1. ถาอนุภาคสั่นครบ 20 รอบ ในเวลา 40 วินาที จงหา
ก. ความถี่ ข. คาบ
2. จงหาคาบตอไปนี้ (ในหนวยวินาที)
ก. ชีพจรเตน 29 ครั้ง ใน 20 วินาที ข. เครื่องยนตหมุน 3200 รอบตอนาที
3. จงหาความถี่ของเหตุการณตอไปนี้ (ในหนวยตอวินาทีหรือเฮิรตซ)
ก.สายซอสั่น 43 รอบ ใน 0.1 วินาที
ข. ใบพัดเครื่องปนอาหารหมุน 13000 รอบ ใน 1 นาที
4. คันเคาะเครื่องสัญญาณเวลาทําใหเกิดจุดบนแถบกระดาษ 1200 จุด ใน 1 นาที
คาบและความถี่ของคันเคาะมีคาเทาใด (ในหนวยวินาที และตอวินาทีหรือเฮิรตซ ตามลําดับ)
6
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
2.ปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
1) แอมพลิจูด (A) คือ ขนาดของการกระจัดของวัตถุที่วัดจากตําแหนงสมดุลถึงจุดปลายทั้งสองขาง ซึ่งมีคา
มากที่สุดและมีคาคงที่เสมอ
2) คาบ (T) คือ ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบ 1รอบ มีหนวยเปนวินาทีตอรอบ หรือวินาที
3) ความถี่ (f) คือ จํานวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา มีหนวยเปนรอบตอวินาที หรือเฮิรตซ
4) ณ ตําแหนงจุดปลาย v=0 (หยุดชั่วขณะ)
x มีคามากที่สุด
F มีคามากที่สุด (F=kx)
a มีคามากที่สุด (F=ma)
5) ณ ตําแหนงสมดุล x=0
F=0
a =0
v มีคามากสุด
6) เฟส
ในระบบเอสไอ มุมมีหนวยเปน เรเดียน (radian) เชน
- มุม π เรเดียน มีคาเทากับมุม 180 องศา
- มุม 2π เรเดียน มีคาเทากับมุม 360 องศา
7
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
เมื่อแผงโคมไฟฉายแสงในแนวดิ่งและแนวราบ เงาของอนุภาคที่เคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี A ใน
แนวราบและแนวดิ่งดวยอัตราเร็วคงที่ เงาของอนุภาคบนฉากซึ่งวางในแนวนอนและในแนวตั้งจะเคลื่อนที่กลับไป
กลับมาในแนวตรงตามแนวระดับและแนวดิ่ง
-กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวดิ่ง ทําใหเกิดเงาบนฉากดานลาง
การหาการกระจัดของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายในแนวระดับ (x)
จากรูป 𝒙 = 𝑨𝒔𝒊𝒏𝜽
จาก 𝜽 = 𝝎𝒕 𝒙 = 𝑨𝒔𝒊𝒏𝜔𝑡
ลําแสง
ลําแสง
พิจารณาการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่เคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็ว
เชิงมุมคงตัว เมื่อเวลา t ใดๆ แผนกลมจะจะหมุนไปเปนมุม 𝜃 เงาของอนุภาคมี
การเคลื่อนที่ตําแหนงเริ่มตน x=0 ไปยังตําแหนงใด ๆ (Xi)
𝒙 = 𝑨𝒔𝒊𝒏𝜔𝑡
8
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ขอสังเกต
อัตราเร็วเชิงมุม (angular speed)
-กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวระดับ ทําใหเกิดเงาบนฉากแนวดิ่ง (y)
และ จากรูป 𝒚 = 𝑹𝒔𝒊𝒏𝜽
𝒚 = 𝑨𝒔𝒊𝒏𝜔𝑡
จาก 𝜃( 𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡
จะได 𝒚 = 𝑨𝒔𝒊𝒏( 𝜔𝑡 + ∅)
กรณีเงาอนุภาคไมไดอยูที่ตําแหนงสมดุล ดังรูป เรียกมุม∅วาเฟสเริ่มตนของเงา
เมื่อเวลาผานไป t หมุดเคลื่อนที่ไปจนมีมุม ∅ + 𝜔𝑡 เรียกวา มุมเฟส (phase angle)
ของเงาขณะนั้น ดังสมการ
𝜃( 𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡
เขียนสมการความสัมพันธการกระจัดของเงาที่ขึ้นอยูกับเวลา ในรูปทั่วไป ไดเปน
𝒙 = 𝑨𝒔𝒊𝒏( 𝜔𝑡 + ∅)
𝜃
กรณีวัตถุเคลื่อนที่ไปบนเสนรอบวงกลมในชวงเวลา ∆𝑡 วัตถุจะมีการกระจัด ∆𝜃
สามารถหาอัตราเร็วเชิงมุม ไดจากความสัมพันธ 𝜔 =
∆
∆
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ (∆𝑡 = 𝑇) จะได 𝜔 = = 2𝜋𝑓A
B
ความถี่เชิงมุม (angular frequency)
กรณีที่เงาของหมุดทรงกระบอกเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ในชวงเวลา ∆𝑡 จะไมปรากฏมุม∆𝜃
สามารถหา 𝜔 ของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายไดจาก 𝜔 = = 2𝜋𝑓
และเรียก 𝜔 วาความถี่เชิงมุม มีหนวยเปน rad/s
สมการการกระจัดของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายของวัตถุเปนฟงกชันของเวลา
𝜔𝑡
∅𝜔
1
9
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ตัวอยางที่ 2 จงเขียนสมการการกระจัดที่ขึ้นกับเวลาของวัตถุติดปลายสปริงที่เคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายมี
ตําแหนงเริ่มตนที่จับเวลาตางกันในตาราง (กําหนดให ความถี่เชิงมุมเทากับแอมพลิจูดเทากับ A)
10
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ตัวอยางที่ 3 วัตถุชิ้นหนึ่งที่มีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายบนพื้นราบแนวระดับ กราฟระหวางการกระจัดกับ
เวลาเปนดังรูป
จงหา ก.การกระจัดของวัตถุเปนศูนย ที่เวลาใด
ข.ที่เวลา t = 2.5 s การกระจัดของวัตถุมีเทาใด
ค.ระยะทางที่เคลื่อนที่ไดทั้งหมดเปนเทาใด
ง.ความเร็วของวัตถุมีคาเปนศูนย ที่เวลาใด
11
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ตัวอยางที่ 4 อนุภาคหนึ่งมีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย มีการกระจัดเปน
x = (0.10m)sin(πt)
ก. จากสมการในโจทย จงระบุ
- มุมเฟส
- เฟสเริ่มตน
- ความถี่เชิงมุม
- แอมพลิจูด
ข. ที่เวลา t = 1.0 วินาที มุมเฟสและการกระจัดของอนุภาคมีคาเทาใด
การหาความเร็วของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
จากรูป กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวดิ่ง ทําใหเกิดเงาบนฉากดานลาง(X)
𝜃
𝑣 = 𝐴𝜔
𝑣 = 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃
ความเร็วของเงาหาไดจากความเร็วของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่
แบบวงกลมดวยอัตราเร็ว 𝑣
โดย ความเร็วของเงาเทากับความเร็วตามแนวระดับของหมุด
𝑣 = 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃
จาก 𝜃(𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 และ 𝑣 = 𝐴𝜔 จะได
𝑣 = 𝐴𝜔cos(𝜔𝑡 + ∅)
12
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
จากรูป กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวราบ ทําใหเกิดเงาบนฉากแนวดิ่ง (y)
ความเร็วกับเวลาของเงามีความสัมพันธเปนฟงกชันลักษณะแบบโคไซนเมื่อ ∅ = 0
เขียนกราฟความสัมพันธของความเร็วกับเวลาของเงาเมื่อเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ(ดังรูป)
สมการความเร็วของเงาหาไดจาก
𝑣 = 𝐴𝜔cos(𝜔𝑡 + ∅)
ความเร็วของเงาหาไดจากความเร็วของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่
แบบวงกลมดวยอัตราเร็ว 𝑣
โดย ความเร็วของเงาเทากับความเร็วตามแนวระดับของหมุด
𝑣 = 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃
จาก 𝜃(𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 และ 𝑣 = 𝐴𝜔 จะได
𝑣 = 𝐴𝜔cos(𝜔𝑡 + ∅)
𝑣
2
13
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ความเรงของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย
จากรูป กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวดิ่ง ทําใหเกิดเงาบนฉากดานลาง(X)
จากรูป กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวราบ ทําใหเกิดเงาบนฉากแนวดิ่ง (y)
ความเรงกับเวลาของเงามีความสัมพันธเปนฟงกชันลักษณะแบบไซน เมื่อ ∅ = 0
เขียนกราฟความสัมพันธของการกระจัดของเงากับเวลาเมื่อเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ(ดังรูป)
ความเรงของเงาหาไดจากความเรงในแนวระดับของหมุด
โดยที่ขนาดความเรงของเงาเทากับขนาดความเรงในแนวระดับของหมุด
แตมีทิศตรงขามกับการกระจัด ขณะเวลาใดๆ (t) ความเรงของเงาหาไดจาก
𝑎 = −𝑎 𝑠𝑖𝑛𝜃
จาก 𝜃(𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 และ 𝑎 = 𝐴𝜔 จะได
𝑎 = −𝐴𝜔 sin(𝜔𝑡 + ∅)
ความเรงของเงาหาไดจากความเรงในแนวดิ่งของหมุด
โดยที่ขนาดความเรงของเงาเทากับขนาดความเรงในแนวดิ่งของหมุด
แตมีทิศตรงขามกับการกระจัด ขณะเวลาใดๆ (t) ความเรงของเงาหาไดจาก
𝑎 = −𝑎 𝑠𝑖𝑛𝜃
จาก 𝜃(𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 และ 𝑎 = 𝐴𝜔 จะได
𝑎 = −𝐴𝜔 sin(𝜔𝑡 + ∅)
สมการความเรงของเงาหาไดจาก
𝑎 = −𝐴𝜔 sin(𝜔𝑡 + ∅) 3
14
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
สามารถหาสมการความสัมพันธระหวางความเรงกับการกระจัดของเงาที่เคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายได
จาก 𝑥 = 𝐴𝑠𝑖𝑛(𝜔𝑡 + ∅)
จะได
𝑎 = −𝜔 x
ขนาดของความเรงแปรผันตรงกับขนาดของการกระจัด แตมีทิศทางตรงขามกัน
พิจารณาความเร็วสัมพันธกับการกระจัด ไดดังนี้
จาก 𝑠𝑖𝑛(𝜔𝑡 + ∅) = …………………….A
และ 𝑐𝑜𝑠(𝜔𝑡 + ∅) = .........................B
นําสมการ 𝐴 + 𝐵 จะได
𝑣 = ±𝜔 𝐴 − 𝑥
จากสมการ 2 ขนาดความเร็วมีคาสูงสุด เมื่อ 𝑐𝑜𝑠(𝜔𝑡 + ∅) = 1
ดังนั้น ขนาดความเร็วสูงสุด (vmax)
𝑣 = 𝐴𝜔
จากสมการ 3 ขนาดความเร็วมีคาสูงสุด เมื่อ 𝑠𝑖𝑛(𝜔𝑡 + ∅) = 1
ดังนั้น ขนาดความเรงสูงสุด (amax)
𝑎 = 𝐴𝜔
ดังนั้นสมการ 2 และ 3 เขียนไดเปน
𝑣 = 𝑣 cos(𝜔𝑡 + ∅)
𝑎 = 𝑎 sin(𝜔𝑡 + ∅)
4
5
6
7
8
9
15
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ตัวอยางที่ 5 จากตัวอยาง 4 อนุภาคมีการกระจัดเปน x = (0.10m)sin(πt) สมการความเร็วของอนุภาคเปน
อยางไร และที่เวลา t = 1.0 วินาที ความเร็วของอนุภาคมีคาเทาใด
ตัวอยางที่ 6 จากตัวอยาง 4 สมการความเรงของอนุภาคเปนอยางไร และที่เวลา t = 1.0 วินาที ความเรงของอนุภาค
มีคาเทาใด
ตัวอยางที่ 7 วัตถุเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย มีความถี่ 2 รอบตอวินาที ณ ตําแหนงที่มีการกระจัด
7 เซนติเมตร วัตถุจะมีความเรงเทาใด
ตัวอยางที่ 8 วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายรอบตําแหนงสมดุล โดยมีความถี่เชิงมุม 0.4 เรเดียนตอวินาที
และขนาดการกระจัดสูงสุด 10 เซนติเมตร ขณะที่วัตถุอยูหางจากตําแหนงสมดุลเปนระยะ 8 เซนติเมตร วัตถุมี
อัตราเร็วเทาใด
16
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
คําถามตรวจสอบความเขาใจ 8.2 (หนา 14)
1.กราฟระหวางการกระจัดกับเวลาของวัตถุชิ้นหนึ่งที่มีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ใหขอมูลอะไรบาง
2. จากกราฟในตัวอยาง 8.3 จงบรรยายการเคลื่อนที่ของวัตถุ
3.ขณะที่วัตถุสั่นแบบฮารมอนิกอยางงายปริมาณใดที่มีทิศทางตรงขามกันเสมอ
4.วัตถุที่สั่นแบบฮารมอนิกอยางงายโดยมีแอมพลิจูดเทากับ A วัตถุจะเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใด ในเวลา 1 คาบ
5.จงอธิบายรายละเอียดของปริมาณตางๆ ในสมการการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย x = Asin(ωt + ∅)
6.มุมเฟสและเฟสเริ่มตนตางกันอยางไรและมีความสําคัญอยางไร
17
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
แบบฝกหัด 8.2 (หนา 14-15)
1. วัตถุเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย มีแอมพลิจูด 30 cm มีคาบการเคลื่อนที่ 4 วินาที อัตราเร็วสูงสุดของการ
เคลื่อนที่มีคาเทาใด
2. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายดวยความถี่ 30 รอบตอนาที มีขนาดการกระจัดสูงสุด 20 เซนติเมตร
ขนาดความเรงสูงสุดของวัตถุนี้มีเทาใด
3. จงเขียนสมการการกระจัดที่ขึ้นกับเวลาของวัตถุติดปลายสปริงที่เคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายมีตําแหนง
เริ่มตนที่จับเวลาตางกันในตาราง (กําหนดใหความถี่เชิงมุมเทากับω แอมพลิจูดเทากับ A)
18
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
4. วัตถุเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายดวยความถี่ 5 รอบตอวินาที จงหา
ก. เมื่อเวลาผานไป2 วินาที วัตถุอยูในมุมเฟสตางจากเดิมเทาใด
ข. เมื่อวัตถุอยูในเฟสตางจากเดิม 21π/2 เรเดียน วัตถุเคลื่อนที่ไดกี่รอบ
5. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายรอบจุดสมดุล O โดยมีอัตราเร็วสูงสุด 5.0เซนติเมตรตอวินาที และ
มีคาบการสั่นเทากับ 4π วินาที ขณะที่วัตถุมีอัตราเร็ว 3.0 เซนติเมตรตอวินาที วัตถุอยูหางจากจุดสมดุล O
เปนระยะกี่เซนติเมตร
ปญหา บทที่ 8 (หนา 39-41)
1.สอมเสียงอันหนึ่งสั่น 5000 รอบในเวลา 20 วินาที คาบและความถี่ของสอม เสียงมีคาเทาใด
2.ในการบันทึกภาพการกระพือปกของนกชนิดหนึ่ง พบวานกกระพือปกดวยความถี่ 20 เฮิรตซคาบและความถี่เชิงมุม
ของการกระพือปกเปนเทาใด
19
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
3. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายตามแนวแกน x มีคาบการเคลื่อนที่เปน 6 วินาที
มีสมการการเคลื่อนที่เปน x = Asin(2πt/T) เมื่อ A และ T เปนคาคงตัว t เปนเวลา เวลาที่ใชเคลื่อนที่จากตําแหนง
x = 0 ไป x = A/2 มีคาเทาใด
4. รถทดลองติดอยูกับปลายขางหนึ่งของสปริงที่วางบนพื้นราบลื่น ตรึงปลายอีกขางของสปริงไว ดังรูป
ถารถเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย โดยมีแอมพลิจูด 0.4 เมตร และอัตราเร็วสูงสุดเปน 2.0 เมตรตอวินาที ในเวลา
10 วินาที รถวิ่งกลับไปกลับมาไดกี่รอบ (ใหคําตอบติดคา π)
5. อนุภาคมวล 0.2 กิโลกรัม เคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 5.0 เซนติเมตร ดวยอัตราเร็วเชิงมุมคงตัว 40π เรเดียนตอ
วินาที ทําใหเงาของวัตถุบนฉาก เคลื่อนที่กลับไปกลับมาแบบฮารมอนิกอยางงาย รอบจุด O’ ถาวัตถุเริ่มเคลื่อนที่จาก
ตําแหนง A ถึง B โดยใชเวลา 0.04 วินาทีดังรูป ขณะวัตถุอยูที่ตําแหนง B จงหาขนาดของ
ก. การกระจัด ข. ความเร็ว ค.ความเรง
20
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
6.สมการการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายของอนุภาคเปน x = (5.00 cm) cos (πt/60) เมื่อ x เปนการกระจัด
ในหนวยเซนติเมตร t เปนชวงเวลาการเคลื่อนที่ในหนวยวินาที ที่เวลา t = 10.0 วินาที
ก. การกระจัดของอนุภาค ข. ความเร็ว ค. ความเรง
7.อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย มีแอมพลิจูด 30 เซนติเมตร มีคาบการเคลื่อนที่ 4 วินาที อัตราเร็ว
สูงสุดของการเคลื่อนที่มีคาเทาใด
8.กราฟระหวางความเร็วกับเวลาของอนุภาคหนึ่ง เปนดังรูป
ที่เวลา 5 ×10-2 วินาที อนุภาคมีขนาดความเรงเทาใด (ใหคําตอบติดคา π)
21
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
9.วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายดวยแอมพลิจูด 2.00 เซนติเมตร ในแนวระดับ ความเร็วของวัตถุที่
ตําแหนงใดจากตําแหนงสมดุลมีคาเปนครึ่งหนึ่งของความเร็วสูงสุด
10. รถทดลองติดปลายลวดสปริงเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ดวยแอมพลิจูด 15 เซนติเมตร
และความถี่ 4 รอบตอวินาที จงหาความเร็วสูงสุดและความเรงสูงสุดของรถทดลอง
22
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
3. แรงกับการสั่นของมวลติดปลายสปริงและลูกตุมอยางงาย
3.1 การสั่นของมวลติดปลายสปริง
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตําแหนงสมดุลมีแรงกระทําตอวัตถุหรือไม อยางไร???
 เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตําแหนงสมดุลจะมีแรงดึงวัตถุกลับมายังตําแหนงสมดุล ซึ่งเปนแรงที่ทําใหวัตถุ
เคลื่อนที่กลับไปมาซ้ําทางเดิม เรียกแรงนี้วา แรงดึงกลับ (restoring force)
 แรงที่สปริงกระทําตอวัตถุมีขนาดเทากับคาคงตัวสปริงคูณกับขนาดการกระจัด
แตมีทิศตรงขามกับทิศของการกระจัด  Fspring = -kx
 จากกฎการเคลื่อนที่ขอที่สองของนิวตัน ระบบการเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริงมีแรงกระทําตอวัตถุเพียง
1 แรง คือ แรงดึงกลับ  Fspring = ma
ดังนั้นจะไดวา -kx = ma
จะไดความสัมพันธระหวางความเรงกับการกระจัด ตามสมการ
𝑎 = − 𝑥
ความสัมพันธระหวางคาคงตัวสปริง (k) มวลของวัตถุ (m) กับความถี่เชิงมุมโดยเปรียบเทียบสมการ 4 และ 10
𝜔 =
จากความสัมพันธระหวางความถี่เชิงมุมกับคาบ ω = และความถี่เชิงมุมกับความถี่ ω = 2𝜋𝑓
จากความสัมพันธของ k m กับ f และ T จะไดสมการ ดังนี้
ความถี่ ; 𝑓 =
คาบ ; 𝑇 = 2𝜋
ตําแหนงสมดุล
10
11
12
13
23
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ตัวอยาง 9 วัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ติดอยูปลายสปริงที่มีคาคงตัวสปริง 5.0 นิวตันตอเมตร อยูบนพื้นลื่น ดังรูป
เมื่อดึงวัตถุออกจากตําแหนงสมดุล แลวปลอยใหเคลื่อนที่กลับไปกลับมาแบบฮารมอนิกอยางงาย คาบการเคลื่อนที่
เปนเทาใด
ตัวอยาง 10 วัตถุมวล 200 กรัม ติดที่ปลายสปริงซึ่งมีคาคงตัว 5 นิวตันตอเมตร ถาวัตถุเคลื่อนที่แบบ
ฮารมอนิกอยางงายที่ตําแหนง x = 0.05 เมตร จากตําแหนงสมดุล วัตถุมีความเร็วเปนศูนย จงหา
ก. ความถี่เชิงมุม ข. ความเรงที่ตําแหนง x = 0.02 m ค. ขนาดความเรงสูงสุด
ตัวอยาง 11 วัตถุมวล 200 กรัม ติดที่ปลายสปริงซึ่งมีคาคงตัว 5.0 นิวตันตอเมตร ถาดึงวัตถุและปลอยจากหยุดนิ่งที่
ตําแหนง x = 0.05 เมตร จงหา
ก. ความเร็วของวัตถุที่ตําแหนง x = 0.03 m ข. ขนาดความเร็วที่มีคาสูงสุด
m
ตําแหนงสมดุล
24
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
3.2 การแกวงของลูกตุมอยางงาย
ภาพที่หนึ่ง ลูกตุมแขวนที่ปลายเชือกเบาที่มีความยาว l ในแนวสมดุล
ภาพที่สอง ถาดึงลูกตุมใหทํามุม θ กับแนวดิ่ง โดย θ นอยกวา 10 องศา
หลังปลอยมือลูกตุมจะเคลื่อนที่ผานตําแหนงสมดุลไปอีกดานหนึ่งและเคลื่อนที่กลับมายังตําแหนงเริ่มตน
และหากเปลี่ยนความยาวเชือกจะมีผลตอการเคลื่อนที่ อยางไร???
 เมื่อความยาวเชือกเพิ่มขึ้น คาบการแกวงลูกตุมอยางงายมีคาเพิ่มขึ้น
ตามสมการ 𝑇 = 𝑘√𝑙
แนวสมดุล
แนวสมดุล
θ
แนวสมดุล
mg
𝜃
𝜃
𝑠
𝑙
หลังจากปลอยมือจะมีแรงดึงกลับ F กระทําตอลูกตุมมวล m ดึงใหลูกตุมเคลื่อนที่
กลับไปอีกดานผานตําแหนงสมดุลและเคลื่อนที่กลับมาตําแหนงเดิม แรงดึงกลับมีคา
ตามสมการ F = - mgsinθ
** ถามุม θ มีคานอยมากๆ **คิดเปนมุมในหนวยเรเดียน
เชน θ = 9.00° เทากับ θ = 0.1571 rad
และมีคา sin (0.1571 rad) = 0.1565
จึงสามารถประมาณไดวามุมในหนวยเรเดียน sin θ = θ
จึงเขียนสมการไดวา F = - mgθ
มุม θ หาไดจากอัตราสวนระหวางความยาวสวนโคงกับรัศมีของวงกลม
θ = s/l
25
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
จะเห็นวามีแรงเพียงหนึ่งแรงที่กระทําตอระบบ คือ แรงดึงกลับ
จากกฎการเคลื่อนที่ขอที่สองของนิวตัน  F = ma
แทนคาแรงดึงกลับ F = ma ในสมการ F = - mg(s/l)
จะได ma = - mg(s/l)
a = - g(s/l)
เมื่อนําสมการ 5 มาเปรียบเทียบกับสมการ 14 จะไดความสัมพันธระหวางความถี่เชิงมุมกับความยาวเชือก
ตามสมการ 𝜔 =
จากความสัมพันธระหวางความถี่เชิงมุมกับคาบ ω = และความถี่เชิงมุมกับความถี่ ω = 2𝜋𝑓
จากความสัมพันธของ ω กับ T และ f จะไดสมการ ดังนี้
ความถี่ ; 𝑓 =
คาบ ; 𝑇 = 2𝜋
ตัวอยาง 12 ลูกตุมอยางงายมีความยาวของสายลูกตุม 50 เซนติเมตร คาบมีคาเทาใด
14
15
16
17
26
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
ตัวอยาง 13 ลูกตุมอยางงายมีคาบบนผิวโลกเทากับ 3.0 วินาที ถานักบินอวกาศนําลูกตุมอยางงายอันเดิมไปหาคาบ
บนดวงจันทรได 7.4 วินาที
(ใหหาคาความเรงโนมถวงบนดวงจันทร ใหความเรงโนมถวง g บนผิวโลกเทากับ 9.8 m/s2)
คําถามตรวจสอบความเขาใจ 8.3 (หนา 31)
1.จงอธิบายแรงดึงกลับ
2.ถาตองการเพิ่มคาบการสั่นของวัตถุติดปลายสปริงสามารถทําไดดวยวิธีใดบาง
3.ถาตองการเพิ่มความถี่เชิงมุมของลูกตุมอยางงาย ทําไดดวยวิธีใดบาง
4.ถาความยาวเชือกเทากับ 60 เซนติเมตร คาบของลูกตุมอยางงาย มวล m และ 2m มีคาเทากันหรือไม อยางไร
27
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
แบบฝกหัด 8.3 (หนา 32)
1. แขวนมวล 4.9 กิโลกรัมกับสปริง แลวปลอยใหสั่นขึ้นลง วัดคาบของการสั่นได 0.5 วินาที ถาเอามวล 4.9 กิโลกรัม
ออก สปริง จะสั้นกวาตอนที่แขวนมวลอยูเทาใด
2. เมื่อนํามวล 0.5 กิโลกรัม แขวนกับปลายสปริงในแนวดิ่ง ทําใหสปริงมีความยาวเพิ่มขึ้น 4.9 เซนติเมตร ถาทําให
มวลติดสปริงสั่นในแนวดิ่งจะสั่นไดกี่รอบในเวลา 1 วินาที (ใหคําตอบ ติดคา π)
3.จากรูป เปนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางการกระจัดกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุมวล 50.0 กรัม ซึ่งติดไว
กับปลายขางหนึ่งของลวดสปริงเบา ถาไมคิดแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุ และลวดสปริงคาคงตัวของลวดสปริงมีคา
เทาใดในหนวยนิวตันตอเมตร
28
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
4. ลูกเหล็กทรงกลมมวล 1 กรัม แกวงแบบฮารมอนิกอยางงาย มีแอมพลิจูด 2 มิลลิเมตร ความเรง ที่จุดปลายของการ
แกวงมีคา 8 ×103เมตรตอวินาที2
ก. จงหาความถี่ของการแกวง ข. จงหาความเร็วที่จุดสมดุล
ค.จงเขียนสมการแสดงแรงที่กระทําตอใหลูกเหล็กทรงกลมใหเปนฟงกชันของตําแหนงและเวลา
5. จากรูป เปนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางคาบการแกวงของลูกตุมกับรากที่สองของความยาวเชือกบนดาวดวง
หนึ่ง ถาลูกตุมเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายคาความเรงโนมถวง เนื่องจากดาวดวงนี้เปนเทาใด
29
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
4. ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพอง
4.1 ความถี่ธรรมชาติ
เมื่อวัตถุถูกกระตุนใหสั่นหรือแกวงอยางอิสระ วัตถุจะสั่นหรือแกวงดวยความถี่คงตัวคาหนึ่ง เรียกวา
ความถี่ธรรมชาติ (natural frequency) โดยความถี่ธรรมชาติ คือ ความถี่ในการสั่นของวัตถุหรือระบบที่มี
แนวโนมที่สั่นเมื่อถูกรบกวน ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะเฉพาะของแตละระบบ
คําถาม >> ถาทําใหลูกตุมอยางงายในระบบหนึ่งแกวงดวยแรงจากภายนอกที่มีความถี่ตางกัน ระบบจะมีการ
เปลี่ยนแปลงอยางไร??
ตัวอยาง 14 ลูกตุมขนาดเล็กมีความยาวเชือกคงตัวคาหนึ่งใชเวลาในการแกวงครบ 1 รอบ เทากับ 0.5 วินาที
การแกวงของลูกตุมนี้มีความถี่ธรรมชาติเทาใด
กิจกรรม 8.3 ความถี่ธรรมชาติและการสั่นของวัตถุ
คําถาม >> ถาแกวงลูกตุมใหญ ลูกตุมเล็กจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไร
 เมื่อลูกตุมขนาดใหญแกวง ลูกตุมขนาดเล็กทุกลูกจะแกวง โดยลูกตุมขนาดเล็กที่มีความยาว
เชือกใกลเคียงกับความยาวเชือกของลูกตุมขนาดใหญจะแกวงโดยมีการกระจัดมากที่สุด เมื่อเทียบกับลูกตุม
ขนาดเล็กลูกอื่นๆ
30
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203
 ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ
4.2 การเกิดการสั่นพอง
เมื่อวัตถุถูกกระตุนตอเนื่องใหสั่นอยางอิสระดวยแรงหรือพลังงานที่มีความถี่เทากับหรือใกลเคียงความถี่ธรรมชาติ
ของวัตถุ วัตถุนั้นจะสั่นดวยความถี่ธรรมชาติของวัตถุนั้น และสั่นดวยแอมพลิจูดที่มีคามาก เรียกปรากฏการณนี้วา
การสั่นพอง (resonance)
คําถามตรวจสอบความเขาใจ 8.4 (หนา 36)
1.ในการกระตุนใหวัตถุสั่นอยางอิสระ พบวา ทุกครั้งวัตถุสั่นดวยความถี่คาเดิมเสมอ ความถี่นี้เรียกวาอะไร
2.จากกิจกรรม 8.3 การที่ลูกตุมที่มีความยาวเชือกเทากับลูกตุมลูกใหญแกวงดวยการกระจัดมากที่สุดเพราะเกิด
ปรากฏการณใด
แบบฝกหัด 8.4 (หนา 36)
1. จงหาความถี่ธรรมชาติของการแกวงของลูกตุมอยางงายที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 50 เซนติเมตร
2. จงหาความถี่ธรรมชาติของวัตถุติดปลายสปริง เมื่อวัตถุมีมวล 0.1 กิโลกรัมและสปริงมีคาคงตัวของสปริง
1000 นิวตันตอเมตร

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 

Similar to การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
Book2013 oct 07-physics
Book2013 oct 07-physicsBook2013 oct 07-physics
Book2013 oct 07-physicsberry green
 
Acttth hp bnsizbmwqbacrccas7jds6ng6rkuvpml3ez3dxoz09m6guqleugwripw
Acttth hp bnsizbmwqbacrccas7jds6ng6rkuvpml3ez3dxoz09m6guqleugwripwActtth hp bnsizbmwqbacrccas7jds6ng6rkuvpml3ez3dxoz09m6guqleugwripw
Acttth hp bnsizbmwqbacrccas7jds6ng6rkuvpml3ez3dxoz09m6guqleugwripweakaratkk
 
ฟิสิกส์
ฟิสิกส์ฟิสิกส์
ฟิสิกส์tangmo77
 
L bw plnnzooxcywbhikkfzv7tl0uighyvrefqti2uqpuccytvglsrjoiksjfmnmhk
L bw plnnzooxcywbhikkfzv7tl0uighyvrefqti2uqpuccytvglsrjoiksjfmnmhkL bw plnnzooxcywbhikkfzv7tl0uighyvrefqti2uqpuccytvglsrjoiksjfmnmhk
L bw plnnzooxcywbhikkfzv7tl0uighyvrefqti2uqpuccytvglsrjoiksjfmnmhkeakaratkk
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์Aey Usanee
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1weerawat pisurat
 

Similar to การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (20)

บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Book2013 oct 07-physics
Book2013 oct 07-physicsBook2013 oct 07-physics
Book2013 oct 07-physics
 
Acttth hp bnsizbmwqbacrccas7jds6ng6rkuvpml3ez3dxoz09m6guqleugwripw
Acttth hp bnsizbmwqbacrccas7jds6ng6rkuvpml3ez3dxoz09m6guqleugwripwActtth hp bnsizbmwqbacrccas7jds6ng6rkuvpml3ez3dxoz09m6guqleugwripw
Acttth hp bnsizbmwqbacrccas7jds6ng6rkuvpml3ez3dxoz09m6guqleugwripw
 
ฟิสิกส์
ฟิสิกส์ฟิสิกส์
ฟิสิกส์
 
L bw plnnzooxcywbhikkfzv7tl0uighyvrefqti2uqpuccytvglsrjoiksjfmnmhk
L bw plnnzooxcywbhikkfzv7tl0uighyvrefqti2uqpuccytvglsrjoiksjfmnmhkL bw plnnzooxcywbhikkfzv7tl0uighyvrefqti2uqpuccytvglsrjoiksjfmnmhk
L bw plnnzooxcywbhikkfzv7tl0uighyvrefqti2uqpuccytvglsrjoiksjfmnmhk
 
Phyจ้ะ
Phyจ้ะPhyจ้ะ
Phyจ้ะ
 
Physics
PhysicsPhysics
Physics
 
Book2013 oct 07-physics
Book2013 oct 07-physicsBook2013 oct 07-physics
Book2013 oct 07-physics
 
Rotational motion
Rotational motionRotational motion
Rotational motion
 
Rotational motion
Rotational motionRotational motion
Rotational motion
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
 
Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1Big ฟิสิกส์ F1
Big ฟิสิกส์ F1
 

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

  • 1. 1 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ บทที่ 8 การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ทบทวนการเคลื่อนที่แบบหมุน 1. ปริมาณตางๆที่เกี่ยวของกับการหมุน วัตถุที่ไมเปลี่ยนรูปรางเมื่อเคลื่อนที่หรือมีแรงมากระทํา เรียกวา วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid body)  คือ วัตถุที่มีแรงกระทําในแนวไมผานจุดศูนยกลางมวล (C.M) จะมีโมเมนตของแรงที่ไมเปนศูนย มามากระทํา (ทอรก) สงผลใหวัตถุมีการเคลื่อนที่แบบหมุนรอบจุดศูนยกลางมวล หรือหมุนอยูกับที่ รอบแกนคงตัว  ตัวอยางเชน การเคลื่อนที่ของลูกขาง พัดลม ลอรถ ลูกปงปอง ลูกฟุตบอล เปนตน  ปริมาณตางๆที่เกี่ยวของกับเคลื่อนที่แบบหมุน มีดังนี้ การหมุน 1.1 การกระจัดเชิงมุม (angular displacement)  หมายถึง มุมที่กวาดไปไดรอบแกนหมุน เมื่อวัตถุหมุนเปนวงกลม  สัญลักษณ คือ  มีหนวยเปน เรเดียน หรือ รอบ (rad)  โดยหาไดจากสมการ r s  1.2 ความเร็วเชิงมุม (angular Velocity)  หมายถึง การกระจัดเชิงมุมที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา  สัญลักษณ คือ   มีหนวยเปน เรเดียน/วินาที (rad/s)  โดยหาไดจากสมการ T f t     2 2       1.3 ความเรงเชิงมุม (angular acceleration)  หมายถึง ความเร็วเชิงมุมที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา  สัญลักษณ คือ   มีหนวยเปน เรเดียน/วินาที2 (rad/s2)  โดยหาไดจากสมการ r t 2          นอกจากนี
  • 2. 2 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ตาราง เปรียบเทียบสมการการเคลื่อนที่แนวเสนตรง กับสมการการเคลื่อนที่แบบหมุน การเคลื่อนที่ในแนวเสนตรง การเคลื่อนที่แบบหมุน เปรียบเทียบ asuv t vu S atutS atuv 2 2 2 1 22 2                    S a v u 0 การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิก (harmonic motion) ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิก -เคลื่อนที่กลับไปมาซ้ํารอยเดิม -มีการสั่น (vibration) หรือ การแกวงกวัด(oscillation) ตัวอยางการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกที่พบในชีวิตประจําวัน
  • 3. 3 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย (Simple harmonic motion) 1. ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ํารอยเดิม ผานตําแหนงสมดุลโดยมีแอมพลิจูดและคาบคงที่ พิจารณาการเคลื่อนที่ของรถทดลองติดปลายสปริงที่ตําแหนงตาง ๆ ดังรูป
  • 4. 4 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ตัวอยางที่ 1วัตถุชิ้นหนึ่งติดที่ปลายสปริง มีตําแหนงสมดุลที่ x = 0 ดึงวัตถุไปตําแหนง x = 0.1 เมตร จากตําแหนง สมดุล แลวปลอยวัตถุพรอมเริ่มจับเวลา พบวาวัตถุเคลื่อนที่กลับมาที่ตําแหนง x = 0.1 เมตร อีกครั้ง ใชเวลา 2.2 วินาที (ในหนังสือเรียน หนา 4) จงหา ก. แอมพลิจูด ข. คาบ และ ค. ความถี่ ลองฝกทํานะคะ วัตถุชิ้นหนึ่งติดที่ปลายสปริง มีตําแหนงสมดุลที่ x = 0 ดึงวัตถุไปตําแหนง x = 30 เซนติเมตร จากตําแหนงสมดุล แลว ปลอยวัตถุพรอมเริ่มจับเวลา พบวาวัตถุเคลื่อนที่กลับมาที่ตําแหนง x = 30 เซนติเมตร อีกครั้ง ใชเวลา 5.5 วินาที จงหา ก. แอมพลิจูด ข. คาบ และ ค. ความถี่ คําถามตรวจสอบความเขาใจ 8.1 (ในหนังสือเรียน หนา 5) 1. การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายมีลักษณะอยางไร 2. จงอธิบายตําแหนงสมดุล 3. การเคลื่อนที่แบบวงกลมของจุกยาง การแกวงของลูกตุมอยางงาย เปนการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย หรือไม เพราะเหตุใด
  • 5. 5 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ แบบฝกหัด 8.1 (ในหนังสือเรียน หนา 5) 1. ถาอนุภาคสั่นครบ 20 รอบ ในเวลา 40 วินาที จงหา ก. ความถี่ ข. คาบ 2. จงหาคาบตอไปนี้ (ในหนวยวินาที) ก. ชีพจรเตน 29 ครั้ง ใน 20 วินาที ข. เครื่องยนตหมุน 3200 รอบตอนาที 3. จงหาความถี่ของเหตุการณตอไปนี้ (ในหนวยตอวินาทีหรือเฮิรตซ) ก.สายซอสั่น 43 รอบ ใน 0.1 วินาที ข. ใบพัดเครื่องปนอาหารหมุน 13000 รอบ ใน 1 นาที 4. คันเคาะเครื่องสัญญาณเวลาทําใหเกิดจุดบนแถบกระดาษ 1200 จุด ใน 1 นาที คาบและความถี่ของคันเคาะมีคาเทาใด (ในหนวยวินาที และตอวินาทีหรือเฮิรตซ ตามลําดับ)
  • 6. 6 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 2.ปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย 1) แอมพลิจูด (A) คือ ขนาดของการกระจัดของวัตถุที่วัดจากตําแหนงสมดุลถึงจุดปลายทั้งสองขาง ซึ่งมีคา มากที่สุดและมีคาคงที่เสมอ 2) คาบ (T) คือ ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบ 1รอบ มีหนวยเปนวินาทีตอรอบ หรือวินาที 3) ความถี่ (f) คือ จํานวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา มีหนวยเปนรอบตอวินาที หรือเฮิรตซ 4) ณ ตําแหนงจุดปลาย v=0 (หยุดชั่วขณะ) x มีคามากที่สุด F มีคามากที่สุด (F=kx) a มีคามากที่สุด (F=ma) 5) ณ ตําแหนงสมดุล x=0 F=0 a =0 v มีคามากสุด 6) เฟส ในระบบเอสไอ มุมมีหนวยเปน เรเดียน (radian) เชน - มุม π เรเดียน มีคาเทากับมุม 180 องศา - มุม 2π เรเดียน มีคาเทากับมุม 360 องศา
  • 7. 7 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ เมื่อแผงโคมไฟฉายแสงในแนวดิ่งและแนวราบ เงาของอนุภาคที่เคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี A ใน แนวราบและแนวดิ่งดวยอัตราเร็วคงที่ เงาของอนุภาคบนฉากซึ่งวางในแนวนอนและในแนวตั้งจะเคลื่อนที่กลับไป กลับมาในแนวตรงตามแนวระดับและแนวดิ่ง -กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวดิ่ง ทําใหเกิดเงาบนฉากดานลาง การหาการกระจัดของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายในแนวระดับ (x) จากรูป 𝒙 = 𝑨𝒔𝒊𝒏𝜽 จาก 𝜽 = 𝝎𝒕 𝒙 = 𝑨𝒔𝒊𝒏𝜔𝑡 ลําแสง ลําแสง พิจารณาการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่เคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็ว เชิงมุมคงตัว เมื่อเวลา t ใดๆ แผนกลมจะจะหมุนไปเปนมุม 𝜃 เงาของอนุภาคมี การเคลื่อนที่ตําแหนงเริ่มตน x=0 ไปยังตําแหนงใด ๆ (Xi) 𝒙 = 𝑨𝒔𝒊𝒏𝜔𝑡
  • 8. 8 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ขอสังเกต อัตราเร็วเชิงมุม (angular speed) -กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวระดับ ทําใหเกิดเงาบนฉากแนวดิ่ง (y) และ จากรูป 𝒚 = 𝑹𝒔𝒊𝒏𝜽 𝒚 = 𝑨𝒔𝒊𝒏𝜔𝑡 จาก 𝜃( 𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 จะได 𝒚 = 𝑨𝒔𝒊𝒏( 𝜔𝑡 + ∅) กรณีเงาอนุภาคไมไดอยูที่ตําแหนงสมดุล ดังรูป เรียกมุม∅วาเฟสเริ่มตนของเงา เมื่อเวลาผานไป t หมุดเคลื่อนที่ไปจนมีมุม ∅ + 𝜔𝑡 เรียกวา มุมเฟส (phase angle) ของเงาขณะนั้น ดังสมการ 𝜃( 𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 เขียนสมการความสัมพันธการกระจัดของเงาที่ขึ้นอยูกับเวลา ในรูปทั่วไป ไดเปน 𝒙 = 𝑨𝒔𝒊𝒏( 𝜔𝑡 + ∅) 𝜃 กรณีวัตถุเคลื่อนที่ไปบนเสนรอบวงกลมในชวงเวลา ∆𝑡 วัตถุจะมีการกระจัด ∆𝜃 สามารถหาอัตราเร็วเชิงมุม ไดจากความสัมพันธ 𝜔 = ∆ ∆ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ (∆𝑡 = 𝑇) จะได 𝜔 = = 2𝜋𝑓A B ความถี่เชิงมุม (angular frequency) กรณีที่เงาของหมุดทรงกระบอกเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ในชวงเวลา ∆𝑡 จะไมปรากฏมุม∆𝜃 สามารถหา 𝜔 ของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายไดจาก 𝜔 = = 2𝜋𝑓 และเรียก 𝜔 วาความถี่เชิงมุม มีหนวยเปน rad/s สมการการกระจัดของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายของวัตถุเปนฟงกชันของเวลา 𝜔𝑡 ∅𝜔 1
  • 9. 9 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ตัวอยางที่ 2 จงเขียนสมการการกระจัดที่ขึ้นกับเวลาของวัตถุติดปลายสปริงที่เคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายมี ตําแหนงเริ่มตนที่จับเวลาตางกันในตาราง (กําหนดให ความถี่เชิงมุมเทากับแอมพลิจูดเทากับ A)
  • 10. 10 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ตัวอยางที่ 3 วัตถุชิ้นหนึ่งที่มีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายบนพื้นราบแนวระดับ กราฟระหวางการกระจัดกับ เวลาเปนดังรูป จงหา ก.การกระจัดของวัตถุเปนศูนย ที่เวลาใด ข.ที่เวลา t = 2.5 s การกระจัดของวัตถุมีเทาใด ค.ระยะทางที่เคลื่อนที่ไดทั้งหมดเปนเทาใด ง.ความเร็วของวัตถุมีคาเปนศูนย ที่เวลาใด
  • 11. 11 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ตัวอยางที่ 4 อนุภาคหนึ่งมีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย มีการกระจัดเปน x = (0.10m)sin(πt) ก. จากสมการในโจทย จงระบุ - มุมเฟส - เฟสเริ่มตน - ความถี่เชิงมุม - แอมพลิจูด ข. ที่เวลา t = 1.0 วินาที มุมเฟสและการกระจัดของอนุภาคมีคาเทาใด การหาความเร็วของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย จากรูป กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวดิ่ง ทําใหเกิดเงาบนฉากดานลาง(X) 𝜃 𝑣 = 𝐴𝜔 𝑣 = 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃 ความเร็วของเงาหาไดจากความเร็วของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ แบบวงกลมดวยอัตราเร็ว 𝑣 โดย ความเร็วของเงาเทากับความเร็วตามแนวระดับของหมุด 𝑣 = 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃 จาก 𝜃(𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 และ 𝑣 = 𝐴𝜔 จะได 𝑣 = 𝐴𝜔cos(𝜔𝑡 + ∅)
  • 12. 12 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ จากรูป กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวราบ ทําใหเกิดเงาบนฉากแนวดิ่ง (y) ความเร็วกับเวลาของเงามีความสัมพันธเปนฟงกชันลักษณะแบบโคไซนเมื่อ ∅ = 0 เขียนกราฟความสัมพันธของความเร็วกับเวลาของเงาเมื่อเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ(ดังรูป) สมการความเร็วของเงาหาไดจาก 𝑣 = 𝐴𝜔cos(𝜔𝑡 + ∅) ความเร็วของเงาหาไดจากความเร็วของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ แบบวงกลมดวยอัตราเร็ว 𝑣 โดย ความเร็วของเงาเทากับความเร็วตามแนวระดับของหมุด 𝑣 = 𝑣 𝑐𝑜𝑠𝜃 จาก 𝜃(𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 และ 𝑣 = 𝐴𝜔 จะได 𝑣 = 𝐴𝜔cos(𝜔𝑡 + ∅) 𝑣 2
  • 13. 13 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ความเรงของการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย จากรูป กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวดิ่ง ทําใหเกิดเงาบนฉากดานลาง(X) จากรูป กรณีแผงโคมไฟฉายลําแสงในแนวราบ ทําใหเกิดเงาบนฉากแนวดิ่ง (y) ความเรงกับเวลาของเงามีความสัมพันธเปนฟงกชันลักษณะแบบไซน เมื่อ ∅ = 0 เขียนกราฟความสัมพันธของการกระจัดของเงากับเวลาเมื่อเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ(ดังรูป) ความเรงของเงาหาไดจากความเรงในแนวระดับของหมุด โดยที่ขนาดความเรงของเงาเทากับขนาดความเรงในแนวระดับของหมุด แตมีทิศตรงขามกับการกระจัด ขณะเวลาใดๆ (t) ความเรงของเงาหาไดจาก 𝑎 = −𝑎 𝑠𝑖𝑛𝜃 จาก 𝜃(𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 และ 𝑎 = 𝐴𝜔 จะได 𝑎 = −𝐴𝜔 sin(𝜔𝑡 + ∅) ความเรงของเงาหาไดจากความเรงในแนวดิ่งของหมุด โดยที่ขนาดความเรงของเงาเทากับขนาดความเรงในแนวดิ่งของหมุด แตมีทิศตรงขามกับการกระจัด ขณะเวลาใดๆ (t) ความเรงของเงาหาไดจาก 𝑎 = −𝑎 𝑠𝑖𝑛𝜃 จาก 𝜃(𝑡) = ∅ + 𝜔𝑡 และ 𝑎 = 𝐴𝜔 จะได 𝑎 = −𝐴𝜔 sin(𝜔𝑡 + ∅) สมการความเรงของเงาหาไดจาก 𝑎 = −𝐴𝜔 sin(𝜔𝑡 + ∅) 3
  • 14. 14 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ สามารถหาสมการความสัมพันธระหวางความเรงกับการกระจัดของเงาที่เคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายได จาก 𝑥 = 𝐴𝑠𝑖𝑛(𝜔𝑡 + ∅) จะได 𝑎 = −𝜔 x ขนาดของความเรงแปรผันตรงกับขนาดของการกระจัด แตมีทิศทางตรงขามกัน พิจารณาความเร็วสัมพันธกับการกระจัด ไดดังนี้ จาก 𝑠𝑖𝑛(𝜔𝑡 + ∅) = …………………….A และ 𝑐𝑜𝑠(𝜔𝑡 + ∅) = .........................B นําสมการ 𝐴 + 𝐵 จะได 𝑣 = ±𝜔 𝐴 − 𝑥 จากสมการ 2 ขนาดความเร็วมีคาสูงสุด เมื่อ 𝑐𝑜𝑠(𝜔𝑡 + ∅) = 1 ดังนั้น ขนาดความเร็วสูงสุด (vmax) 𝑣 = 𝐴𝜔 จากสมการ 3 ขนาดความเร็วมีคาสูงสุด เมื่อ 𝑠𝑖𝑛(𝜔𝑡 + ∅) = 1 ดังนั้น ขนาดความเรงสูงสุด (amax) 𝑎 = 𝐴𝜔 ดังนั้นสมการ 2 และ 3 เขียนไดเปน 𝑣 = 𝑣 cos(𝜔𝑡 + ∅) 𝑎 = 𝑎 sin(𝜔𝑡 + ∅) 4 5 6 7 8 9
  • 15. 15 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ตัวอยางที่ 5 จากตัวอยาง 4 อนุภาคมีการกระจัดเปน x = (0.10m)sin(πt) สมการความเร็วของอนุภาคเปน อยางไร และที่เวลา t = 1.0 วินาที ความเร็วของอนุภาคมีคาเทาใด ตัวอยางที่ 6 จากตัวอยาง 4 สมการความเรงของอนุภาคเปนอยางไร และที่เวลา t = 1.0 วินาที ความเรงของอนุภาค มีคาเทาใด ตัวอยางที่ 7 วัตถุเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย มีความถี่ 2 รอบตอวินาที ณ ตําแหนงที่มีการกระจัด 7 เซนติเมตร วัตถุจะมีความเรงเทาใด ตัวอยางที่ 8 วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายรอบตําแหนงสมดุล โดยมีความถี่เชิงมุม 0.4 เรเดียนตอวินาที และขนาดการกระจัดสูงสุด 10 เซนติเมตร ขณะที่วัตถุอยูหางจากตําแหนงสมดุลเปนระยะ 8 เซนติเมตร วัตถุมี อัตราเร็วเทาใด
  • 16. 16 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ คําถามตรวจสอบความเขาใจ 8.2 (หนา 14) 1.กราฟระหวางการกระจัดกับเวลาของวัตถุชิ้นหนึ่งที่มีการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ใหขอมูลอะไรบาง 2. จากกราฟในตัวอยาง 8.3 จงบรรยายการเคลื่อนที่ของวัตถุ 3.ขณะที่วัตถุสั่นแบบฮารมอนิกอยางงายปริมาณใดที่มีทิศทางตรงขามกันเสมอ 4.วัตถุที่สั่นแบบฮารมอนิกอยางงายโดยมีแอมพลิจูดเทากับ A วัตถุจะเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใด ในเวลา 1 คาบ 5.จงอธิบายรายละเอียดของปริมาณตางๆ ในสมการการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย x = Asin(ωt + ∅) 6.มุมเฟสและเฟสเริ่มตนตางกันอยางไรและมีความสําคัญอยางไร
  • 17. 17 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ แบบฝกหัด 8.2 (หนา 14-15) 1. วัตถุเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย มีแอมพลิจูด 30 cm มีคาบการเคลื่อนที่ 4 วินาที อัตราเร็วสูงสุดของการ เคลื่อนที่มีคาเทาใด 2. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายดวยความถี่ 30 รอบตอนาที มีขนาดการกระจัดสูงสุด 20 เซนติเมตร ขนาดความเรงสูงสุดของวัตถุนี้มีเทาใด 3. จงเขียนสมการการกระจัดที่ขึ้นกับเวลาของวัตถุติดปลายสปริงที่เคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายมีตําแหนง เริ่มตนที่จับเวลาตางกันในตาราง (กําหนดใหความถี่เชิงมุมเทากับω แอมพลิจูดเทากับ A)
  • 18. 18 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 4. วัตถุเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายดวยความถี่ 5 รอบตอวินาที จงหา ก. เมื่อเวลาผานไป2 วินาที วัตถุอยูในมุมเฟสตางจากเดิมเทาใด ข. เมื่อวัตถุอยูในเฟสตางจากเดิม 21π/2 เรเดียน วัตถุเคลื่อนที่ไดกี่รอบ 5. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายรอบจุดสมดุล O โดยมีอัตราเร็วสูงสุด 5.0เซนติเมตรตอวินาที และ มีคาบการสั่นเทากับ 4π วินาที ขณะที่วัตถุมีอัตราเร็ว 3.0 เซนติเมตรตอวินาที วัตถุอยูหางจากจุดสมดุล O เปนระยะกี่เซนติเมตร ปญหา บทที่ 8 (หนา 39-41) 1.สอมเสียงอันหนึ่งสั่น 5000 รอบในเวลา 20 วินาที คาบและความถี่ของสอม เสียงมีคาเทาใด 2.ในการบันทึกภาพการกระพือปกของนกชนิดหนึ่ง พบวานกกระพือปกดวยความถี่ 20 เฮิรตซคาบและความถี่เชิงมุม ของการกระพือปกเปนเทาใด
  • 19. 19 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 3. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายตามแนวแกน x มีคาบการเคลื่อนที่เปน 6 วินาที มีสมการการเคลื่อนที่เปน x = Asin(2πt/T) เมื่อ A และ T เปนคาคงตัว t เปนเวลา เวลาที่ใชเคลื่อนที่จากตําแหนง x = 0 ไป x = A/2 มีคาเทาใด 4. รถทดลองติดอยูกับปลายขางหนึ่งของสปริงที่วางบนพื้นราบลื่น ตรึงปลายอีกขางของสปริงไว ดังรูป ถารถเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย โดยมีแอมพลิจูด 0.4 เมตร และอัตราเร็วสูงสุดเปน 2.0 เมตรตอวินาที ในเวลา 10 วินาที รถวิ่งกลับไปกลับมาไดกี่รอบ (ใหคําตอบติดคา π) 5. อนุภาคมวล 0.2 กิโลกรัม เคลื่อนที่เปนวงกลมรัศมี 5.0 เซนติเมตร ดวยอัตราเร็วเชิงมุมคงตัว 40π เรเดียนตอ วินาที ทําใหเงาของวัตถุบนฉาก เคลื่อนที่กลับไปกลับมาแบบฮารมอนิกอยางงาย รอบจุด O’ ถาวัตถุเริ่มเคลื่อนที่จาก ตําแหนง A ถึง B โดยใชเวลา 0.04 วินาทีดังรูป ขณะวัตถุอยูที่ตําแหนง B จงหาขนาดของ ก. การกระจัด ข. ความเร็ว ค.ความเรง
  • 20. 20 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 6.สมการการเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายของอนุภาคเปน x = (5.00 cm) cos (πt/60) เมื่อ x เปนการกระจัด ในหนวยเซนติเมตร t เปนชวงเวลาการเคลื่อนที่ในหนวยวินาที ที่เวลา t = 10.0 วินาที ก. การกระจัดของอนุภาค ข. ความเร็ว ค. ความเรง 7.อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย มีแอมพลิจูด 30 เซนติเมตร มีคาบการเคลื่อนที่ 4 วินาที อัตราเร็ว สูงสุดของการเคลื่อนที่มีคาเทาใด 8.กราฟระหวางความเร็วกับเวลาของอนุภาคหนึ่ง เปนดังรูป ที่เวลา 5 ×10-2 วินาที อนุภาคมีขนาดความเรงเทาใด (ใหคําตอบติดคา π)
  • 21. 21 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 9.วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายดวยแอมพลิจูด 2.00 เซนติเมตร ในแนวระดับ ความเร็วของวัตถุที่ ตําแหนงใดจากตําแหนงสมดุลมีคาเปนครึ่งหนึ่งของความเร็วสูงสุด 10. รถทดลองติดปลายลวดสปริงเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงาย ดวยแอมพลิจูด 15 เซนติเมตร และความถี่ 4 รอบตอวินาที จงหาความเร็วสูงสุดและความเรงสูงสุดของรถทดลอง
  • 22. 22 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 3. แรงกับการสั่นของมวลติดปลายสปริงและลูกตุมอยางงาย 3.1 การสั่นของมวลติดปลายสปริง เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตําแหนงสมดุลมีแรงกระทําตอวัตถุหรือไม อยางไร???  เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ออกจากตําแหนงสมดุลจะมีแรงดึงวัตถุกลับมายังตําแหนงสมดุล ซึ่งเปนแรงที่ทําใหวัตถุ เคลื่อนที่กลับไปมาซ้ําทางเดิม เรียกแรงนี้วา แรงดึงกลับ (restoring force)  แรงที่สปริงกระทําตอวัตถุมีขนาดเทากับคาคงตัวสปริงคูณกับขนาดการกระจัด แตมีทิศตรงขามกับทิศของการกระจัด  Fspring = -kx  จากกฎการเคลื่อนที่ขอที่สองของนิวตัน ระบบการเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริงมีแรงกระทําตอวัตถุเพียง 1 แรง คือ แรงดึงกลับ  Fspring = ma ดังนั้นจะไดวา -kx = ma จะไดความสัมพันธระหวางความเรงกับการกระจัด ตามสมการ 𝑎 = − 𝑥 ความสัมพันธระหวางคาคงตัวสปริง (k) มวลของวัตถุ (m) กับความถี่เชิงมุมโดยเปรียบเทียบสมการ 4 และ 10 𝜔 = จากความสัมพันธระหวางความถี่เชิงมุมกับคาบ ω = และความถี่เชิงมุมกับความถี่ ω = 2𝜋𝑓 จากความสัมพันธของ k m กับ f และ T จะไดสมการ ดังนี้ ความถี่ ; 𝑓 = คาบ ; 𝑇 = 2𝜋 ตําแหนงสมดุล 10 11 12 13
  • 23. 23 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ตัวอยาง 9 วัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ติดอยูปลายสปริงที่มีคาคงตัวสปริง 5.0 นิวตันตอเมตร อยูบนพื้นลื่น ดังรูป เมื่อดึงวัตถุออกจากตําแหนงสมดุล แลวปลอยใหเคลื่อนที่กลับไปกลับมาแบบฮารมอนิกอยางงาย คาบการเคลื่อนที่ เปนเทาใด ตัวอยาง 10 วัตถุมวล 200 กรัม ติดที่ปลายสปริงซึ่งมีคาคงตัว 5 นิวตันตอเมตร ถาวัตถุเคลื่อนที่แบบ ฮารมอนิกอยางงายที่ตําแหนง x = 0.05 เมตร จากตําแหนงสมดุล วัตถุมีความเร็วเปนศูนย จงหา ก. ความถี่เชิงมุม ข. ความเรงที่ตําแหนง x = 0.02 m ค. ขนาดความเรงสูงสุด ตัวอยาง 11 วัตถุมวล 200 กรัม ติดที่ปลายสปริงซึ่งมีคาคงตัว 5.0 นิวตันตอเมตร ถาดึงวัตถุและปลอยจากหยุดนิ่งที่ ตําแหนง x = 0.05 เมตร จงหา ก. ความเร็วของวัตถุที่ตําแหนง x = 0.03 m ข. ขนาดความเร็วที่มีคาสูงสุด m ตําแหนงสมดุล
  • 24. 24 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 3.2 การแกวงของลูกตุมอยางงาย ภาพที่หนึ่ง ลูกตุมแขวนที่ปลายเชือกเบาที่มีความยาว l ในแนวสมดุล ภาพที่สอง ถาดึงลูกตุมใหทํามุม θ กับแนวดิ่ง โดย θ นอยกวา 10 องศา หลังปลอยมือลูกตุมจะเคลื่อนที่ผานตําแหนงสมดุลไปอีกดานหนึ่งและเคลื่อนที่กลับมายังตําแหนงเริ่มตน และหากเปลี่ยนความยาวเชือกจะมีผลตอการเคลื่อนที่ อยางไร???  เมื่อความยาวเชือกเพิ่มขึ้น คาบการแกวงลูกตุมอยางงายมีคาเพิ่มขึ้น ตามสมการ 𝑇 = 𝑘√𝑙 แนวสมดุล แนวสมดุล θ แนวสมดุล mg 𝜃 𝜃 𝑠 𝑙 หลังจากปลอยมือจะมีแรงดึงกลับ F กระทําตอลูกตุมมวล m ดึงใหลูกตุมเคลื่อนที่ กลับไปอีกดานผานตําแหนงสมดุลและเคลื่อนที่กลับมาตําแหนงเดิม แรงดึงกลับมีคา ตามสมการ F = - mgsinθ ** ถามุม θ มีคานอยมากๆ **คิดเปนมุมในหนวยเรเดียน เชน θ = 9.00° เทากับ θ = 0.1571 rad และมีคา sin (0.1571 rad) = 0.1565 จึงสามารถประมาณไดวามุมในหนวยเรเดียน sin θ = θ จึงเขียนสมการไดวา F = - mgθ มุม θ หาไดจากอัตราสวนระหวางความยาวสวนโคงกับรัศมีของวงกลม θ = s/l
  • 25. 25 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ จะเห็นวามีแรงเพียงหนึ่งแรงที่กระทําตอระบบ คือ แรงดึงกลับ จากกฎการเคลื่อนที่ขอที่สองของนิวตัน  F = ma แทนคาแรงดึงกลับ F = ma ในสมการ F = - mg(s/l) จะได ma = - mg(s/l) a = - g(s/l) เมื่อนําสมการ 5 มาเปรียบเทียบกับสมการ 14 จะไดความสัมพันธระหวางความถี่เชิงมุมกับความยาวเชือก ตามสมการ 𝜔 = จากความสัมพันธระหวางความถี่เชิงมุมกับคาบ ω = และความถี่เชิงมุมกับความถี่ ω = 2𝜋𝑓 จากความสัมพันธของ ω กับ T และ f จะไดสมการ ดังนี้ ความถี่ ; 𝑓 = คาบ ; 𝑇 = 2𝜋 ตัวอยาง 12 ลูกตุมอยางงายมีความยาวของสายลูกตุม 50 เซนติเมตร คาบมีคาเทาใด 14 15 16 17
  • 26. 26 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ ตัวอยาง 13 ลูกตุมอยางงายมีคาบบนผิวโลกเทากับ 3.0 วินาที ถานักบินอวกาศนําลูกตุมอยางงายอันเดิมไปหาคาบ บนดวงจันทรได 7.4 วินาที (ใหหาคาความเรงโนมถวงบนดวงจันทร ใหความเรงโนมถวง g บนผิวโลกเทากับ 9.8 m/s2) คําถามตรวจสอบความเขาใจ 8.3 (หนา 31) 1.จงอธิบายแรงดึงกลับ 2.ถาตองการเพิ่มคาบการสั่นของวัตถุติดปลายสปริงสามารถทําไดดวยวิธีใดบาง 3.ถาตองการเพิ่มความถี่เชิงมุมของลูกตุมอยางงาย ทําไดดวยวิธีใดบาง 4.ถาความยาวเชือกเทากับ 60 เซนติเมตร คาบของลูกตุมอยางงาย มวล m และ 2m มีคาเทากันหรือไม อยางไร
  • 27. 27 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ แบบฝกหัด 8.3 (หนา 32) 1. แขวนมวล 4.9 กิโลกรัมกับสปริง แลวปลอยใหสั่นขึ้นลง วัดคาบของการสั่นได 0.5 วินาที ถาเอามวล 4.9 กิโลกรัม ออก สปริง จะสั้นกวาตอนที่แขวนมวลอยูเทาใด 2. เมื่อนํามวล 0.5 กิโลกรัม แขวนกับปลายสปริงในแนวดิ่ง ทําใหสปริงมีความยาวเพิ่มขึ้น 4.9 เซนติเมตร ถาทําให มวลติดสปริงสั่นในแนวดิ่งจะสั่นไดกี่รอบในเวลา 1 วินาที (ใหคําตอบ ติดคา π) 3.จากรูป เปนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางการกระจัดกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุมวล 50.0 กรัม ซึ่งติดไว กับปลายขางหนึ่งของลวดสปริงเบา ถาไมคิดแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุ และลวดสปริงคาคงตัวของลวดสปริงมีคา เทาใดในหนวยนิวตันตอเมตร
  • 28. 28 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 4. ลูกเหล็กทรงกลมมวล 1 กรัม แกวงแบบฮารมอนิกอยางงาย มีแอมพลิจูด 2 มิลลิเมตร ความเรง ที่จุดปลายของการ แกวงมีคา 8 ×103เมตรตอวินาที2 ก. จงหาความถี่ของการแกวง ข. จงหาความเร็วที่จุดสมดุล ค.จงเขียนสมการแสดงแรงที่กระทําตอใหลูกเหล็กทรงกลมใหเปนฟงกชันของตําแหนงและเวลา 5. จากรูป เปนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางคาบการแกวงของลูกตุมกับรากที่สองของความยาวเชือกบนดาวดวง หนึ่ง ถาลูกตุมเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายคาความเรงโนมถวง เนื่องจากดาวดวงนี้เปนเทาใด
  • 29. 29 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 4. ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพอง 4.1 ความถี่ธรรมชาติ เมื่อวัตถุถูกกระตุนใหสั่นหรือแกวงอยางอิสระ วัตถุจะสั่นหรือแกวงดวยความถี่คงตัวคาหนึ่ง เรียกวา ความถี่ธรรมชาติ (natural frequency) โดยความถี่ธรรมชาติ คือ ความถี่ในการสั่นของวัตถุหรือระบบที่มี แนวโนมที่สั่นเมื่อถูกรบกวน ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะเฉพาะของแตละระบบ คําถาม >> ถาทําใหลูกตุมอยางงายในระบบหนึ่งแกวงดวยแรงจากภายนอกที่มีความถี่ตางกัน ระบบจะมีการ เปลี่ยนแปลงอยางไร?? ตัวอยาง 14 ลูกตุมขนาดเล็กมีความยาวเชือกคงตัวคาหนึ่งใชเวลาในการแกวงครบ 1 รอบ เทากับ 0.5 วินาที การแกวงของลูกตุมนี้มีความถี่ธรรมชาติเทาใด กิจกรรม 8.3 ความถี่ธรรมชาติและการสั่นของวัตถุ คําถาม >> ถาแกวงลูกตุมใหญ ลูกตุมเล็กจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไร  เมื่อลูกตุมขนาดใหญแกวง ลูกตุมขนาดเล็กทุกลูกจะแกวง โดยลูกตุมขนาดเล็กที่มีความยาว เชือกใกลเคียงกับความยาวเชือกของลูกตุมขนาดใหญจะแกวงโดยมีการกระจัดมากที่สุด เมื่อเทียบกับลูกตุม ขนาดเล็กลูกอื่นๆ
  • 30. 30 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม 3 รหัสวิชา ว30203  ครูสุนันทา เอี่ยมประเสริฐ 4.2 การเกิดการสั่นพอง เมื่อวัตถุถูกกระตุนตอเนื่องใหสั่นอยางอิสระดวยแรงหรือพลังงานที่มีความถี่เทากับหรือใกลเคียงความถี่ธรรมชาติ ของวัตถุ วัตถุนั้นจะสั่นดวยความถี่ธรรมชาติของวัตถุนั้น และสั่นดวยแอมพลิจูดที่มีคามาก เรียกปรากฏการณนี้วา การสั่นพอง (resonance) คําถามตรวจสอบความเขาใจ 8.4 (หนา 36) 1.ในการกระตุนใหวัตถุสั่นอยางอิสระ พบวา ทุกครั้งวัตถุสั่นดวยความถี่คาเดิมเสมอ ความถี่นี้เรียกวาอะไร 2.จากกิจกรรม 8.3 การที่ลูกตุมที่มีความยาวเชือกเทากับลูกตุมลูกใหญแกวงดวยการกระจัดมากที่สุดเพราะเกิด ปรากฏการณใด แบบฝกหัด 8.4 (หนา 36) 1. จงหาความถี่ธรรมชาติของการแกวงของลูกตุมอยางงายที่ผูกติดกับเชือกเบาที่มีความยาว 50 เซนติเมตร 2. จงหาความถี่ธรรมชาติของวัตถุติดปลายสปริง เมื่อวัตถุมีมวล 0.1 กิโลกรัมและสปริงมีคาคงตัวของสปริง 1000 นิวตันตอเมตร