SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
กิจกรรมลุกยืน



ไม่อาจลุกขึ้นยืนได้
   ให้นงตัวตรงและห้ามวางเท้าเข้าไปใต้เก้าอี้ แล้วลองลุกขึนโดยไม่
         ั่                                              ้
  เคลื่อนเท้าทั้งสอง หรือเอนตัวไปข้างหน้า จะไม่สามารถลุกขึนได้
                                                            ้
  ไม่วาจะพยายามสักเท่าใดก็ตาม นอกเสียจากจะเลือนเท้าทั้งสองเข้า
       ่                                          ่
  ไปใต้เก้าอีหรือเอนตัวไปข้างหน้า
             ้
                           เพราะอะไร ?
เหตุที่ล้ม
        การทรงตัวของเทหวัตถุต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งของลาตัวมนุษย์ วัตถุ
     จะไม่ล้มคว่าก็ต่อเมือเส้นตังฉากจากจุดศูนย์ถวงผ่านฐานของวัตถุนั้น
                         ่      ้               ่
     กระบอกที่เอียงในรูป จะต้องล้มลง แต่ถาเส้นตังฉากจากจุดศูนย์ถวงผ่าน
                                             ้     ้                ่
     ฐานของกระบอกแล้ว กระบอกนั้นจะตังอยู่ได้โดยไม่ลมลง
                                           ้            ้




กระบอกนี้ต้องล้มลง เพราะเส้นตั้งฉากจากจุดศูนย์ถ่วงอยู่นอกฐาน
                      ของกระบอกนั้น
หอเอนปิซา (Pisa) ที่มีชื่อเสียง
              การที่หอไม่ล้มพังลงไป
              ถึงแม้จะมีโครงสร้างที่เอียง
              กระเท่เร่อยู่ก็ตาม ก็เหตุผล
              เดียวกันคือเส้นตั้งฉากจาก
              จุดศูนย์ถ่วงไม่ได้อยู่นอกฐาน
              นั่นเองเหตุผลอีกข้อคือฐาน
              ตึกของสิ่งดังกล่าวถูกฝังลึกอยู่
              ใต้พื้นดินมาก
เพราะอะไร ?
  ทีนกลับไปยังคาถามที่ได้ตั้งไว้ในตอนต้นของบทนี้ จุดศูนย์ถ่วง
       ี้
ของเด็กชายที่นั่งบนเก้าอี้จะอยูภายในร่างกายของเขาซึ่งใกล้กับ
                               ่
กระดูกสันหลัง(ประมาณ 20 เซนติเมตรเหนือระดับสะดือของ
เขา) เส้นตั้งฉากจากจุดนี้ จะผ่านเก้าอีไปอยูข้างหลังของเท้าทั้ง
                                       ้ ่
สอง ท่านคงทราบแล้วว่าการที่คนเราจะลุกขึนยืนได้ เส้นตั้งฉากนี้
                                               ้
จะต้องผ่านพืนที่ทเี่ ท้าทังสองวางอยู่ หรือเลื่อนเขาไปได้เก้าอี้
             ้            ้
เพื่อให้ฐานของเราอยูใต้จุดศูนย์ถ่วง ซึ่งอันนี้เป็นสิ่งที่เราทาบ่อย
                        ่
ๆ เมื่อเราจะลุกออกจากเก้าอี้ ถ้าเราไม่ทาเช่นนี้ เราจะไม่สามารถ
ลุกขึนยืนได้เลย (เรืองนีท่านคงจะเห็นได้จากประสบการณ์ของ
     ้                 ่ ้
ท่านเอง)
นิยามสภาพสมดุล
สภาพสมดุล (Equilibrium) คือ สภาพที่วัตถุสามารถ
  รักษาสภาพการเคลือนที่ให้คงเดิม เช่นอยูนิ่ง คือทั้งไม่มี
                     ่                       ่
  การเลื่อนตาแหน่งและไม่หมุน หรือเคลือนที่ในสภาพเดิม
                                         ่
  คือ จุดศูนย์กลางมวลเลื่อนด้วยอัตราเร็วคงที่และ
  หมุนรอบแกนผ่านจุดศูนย์กลางมวลด้วยอัตราเร็วเชิงมุม
  คงทีหรือกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า สมดุลที่เกิดขึ้นในขณะที่
      ่
  วัตถุอยู่ในสภาพนิ่ง หรือเคลือนที่ด้วยความเร็วคงตัว
                                ่
  ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมค่าเป็นศูนย์
                              ี
สภาพสมดุลของวัตถุ คือ การคงสภาพของวัตถุ
          แบ่งได้ 2 กรณี คือ
 สมดุลสถิต (static equilibrium) คือ สภาพ
 สมดุลของวัตถุหรือสิ่งก่อสร้างที่อยูนิ่ง
                                    ่
 สมดุลจลน์ (kinetic equilibrium) คือ สภาพ
 สมดุลของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว
 (a=0)
ลักษณะของสมดุล แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
เงื่อนไขของสมดุล
กรณีทมีแรง 2 แรงกระทาต่อวัตถุ จะมีสมดุลเมื่อ
      ี่
1.แรง 2 แรงมีขนาดเท่ากัน แต่มีทศทางตรงข้ามกัน
                               ิ

2.โมเมนต์รอบจุดใดๆ จะเป็น 0 ได้ก็ตอเมื่อแรงทั้ง
                                  ่
  สองอยู่ในแนวเดียวกัน
กรณีทมีแรง 3 แรงกระทา
                 ี่
            แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ
1.แนวแรงทั้ง 3 ขนานกัน และรวมกันแล้วทังหมดเป็น 0
                                       ้
2.แนวแรงทั้ง 3 ไม่ขนานกัน สภาพสมดุลจะเกิดขึ้นเมื่อ
     2.1 แรงทั้ง 3 อยู่บนระนาบเดียวกัน
     2.2 แนวแรงทั้ง 3 ต้องพบกันทีจุด ๆ หนึ่ง
                                  ่
     2.3 แรงลัพธ์ของแรงทั้ง 3 เป็น 0
     2.4 โมเมนต์ลพธ์ของแรงทั้ง 3 เป็น 0
                   ั
โมเมนต์
  โมเมนต์ของแรงหรือทอร์ก คือ ผลคูณระหว่างขนาดของแรงกับ
   ระยะทางจากจุดหมุนไปตังฉากกับแนวแรง เป็นปริมาณเวกเตอร์มีทง
                        ้                                  ั้
   ขนาดและทิศทาง
โมเมนต์ (M) = แรง x ระยะทางตังฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรง
                                 ้
   หน่วยเป็นนิวตัน - เมตร (N-m)
หากแรงมากระทาไม่ตั้งฉาก


ขนาดของทอร์กหรือขนาดของโมเมนต์หาได้ดังนี้

  โมเมนต์ M =   Fr sin   Fd
โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
แรงคู่ควบ (couple) คือ แรง 2 แรงทีกระทาต่อวัตถุ มีขนาดเท่ากัน มีแนวแรง
                                  ่
   ขนานกัน แต่มทศทางตรงข้ามกัน เช่น แรงคู่ควบ F1 และ F2 กระทาต่อจุด
                ีิ
   A , B ดังรูป




    สรุป โมเมนต์ของแรงคูควบใดๆ มีขนาดเท่ากับผลคูณของขนาดของ
                        ่
    แรงใดแรงหนึงกับระยะทางตั้งฉากระหว่างแนวแรงทังสอง
               ่                                ้
การแก้ปัญหาสมดุลของแรงสามแรง
1. ใช้วธแตกแรงเข้าสูแกน x แกน y
       ิี           ่
ให้แตกแรงที่ไม่อยูในแนวแกน x และแกน y เข้าสูแกนทังสอง ซึงผลลัพธ์ของ
                  ่                         ่    ้      ่
    แรงในแกนเดียวกันเท่ากับศูนย์ คือ  F  0 และ  F  0
                                        x                 y
          (แรงในแนวเดียวกันเท่ากัน)
     ผลรวมของแรงทางด้านขวา = ผลรวมของแรงทางด้านซ้าย
      ผลรวมของแรงทางด้านบน = ผลรวมของแรงทางด้านล่าง
ตัวอย่างที่ 1
1.จากรูปแรงสามแรงทาให้วัตถุอยู่ในสภาพสมดุล
   จงหาค่าของแรง F1 และ F2

                  143º
                 90º 127º
2. ทฤษฎีลามี (กฎของ sine)
 แรง 3 แรงมากระทากันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยูในภาวะ
                                         ่
 สมดุล อัตราส่วนของแรงต่อ sin ของมุมตรงข้ามย่อมมี
 ค่าเท่ากัน

                     F1          F2          F3
                                       
                    sin        sin        sin 
ตัวอย่างที่ 2
  วัตถุอนหนึ่งมวล 2.4 กิโลกรัม แขวนห้อยอยู่ดวยเชือก
        ั                                    ้
2 เส้น เส้นหนึ่งอยู่ในแนวราบ อีกเส้นหนึ่งทามุม 60บ
กับแนวดิ่ง จงหาแรงดึงของเชือกทั้งสอง
               T1


         60º                    T2




                    2.4 kg
3. สามเหลี่ยมแทนแรง
ถ้ามีแรงสามแรงกระทาร่วมต่อวัตถุอันหนึง และแรงทังสามอยู่ในภาวะ
                                     ่           ้
   สมดุลขนาดและทิศทางของแรงทั้งสามสามารถแทนได้โดยด้านทัง        ้
   สามของสามเหลี่ยมรูปหนึง ในเมื่อด้านทังสามของสามเหลี่ยมรูปนั้น
                          ่              ้
   ขนานกับแนวแรงทังสามหรือตั้งฉากกับแรงทังสาม ซึงผลที่ได้คือ
                    ้                      ้       ่
   อัตราส่วนระหว่างแรงกับด้านที่แทนได้ด้วยแรงนั้นจะมีค่าเท่ากัน
                                                   B

                     P
                                          C

       Q                                          A
                 R


                            P    Q     R
                จะได้       AB
                               
                                 BC
                                    
                                      CA
เสถียรภาพของสมดุล
จุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass ; c.m.)
      หมายถึง จุดที่เสมือนที่รวมของมวลวัตถุทั้งก้อน
จุดศูนย์ถ่วง (Center of Gravity ; c.g.)
      หมายถึง จุดที่เสมือนที่รวมน้าหนักของวัตถุทั้ง
   ก้อน ซึ่งคล้ายๆ กับว่าน้าหนักของวัตถุนั้นทั้งก้อน
   รวมกันแล้วตกผ่านจุดนั้น
คุณสมบัติของจุดศูนย์กลางมวลและจุดศูนย์ถ่วง
1.จุดศูนย์ถ่วงและจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุใดๆ จะมีได้
   เพียงจุดเดียว
2.จุดศูนย์ถ่วงและจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุใดๆ จะคงที่
   ถ้าวัตถุนั้นไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่าง
3.จุดศูนย์ถ่วงและจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุใดๆ จะอยู่
   ภายในหรือภายนอกก้อนวัตถุนั้นก็ได้ เช่น กระป๋อง
   ขวด
4.จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุที่อยู่นอกแรงดึงดูดโลกไม่มีแต่
  จุดศูนย์กลางมวลของวัตถุใดๆ มีได้
5. จุดศูนย์ถ่วงและจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุก้อน
  เดียวกันอาจเป็นจุดเดียวกันหรือคนละจุดก็ได้
6.บนบริเวณที่วัตถุนั้นอยู่มีคา g สม่าเสมอจุด C.M.
                               ่
  และจุด C.G. จะอยู่ที่ตาแหน่งเดียวกันแต่ถ้า
  บริเวณนั้นมีค่า g ไม่สม่าเสมอ จุด C.M.และจุด
  C.G. จะไม่อยู่ตาแหน่งเดียวกัน
ประเภทของเสถียรภาพของสมดุล
1.สภาพสมดุลเสถียร (stable equilibrium)
      คือ สมดุลที่วัตถุวางอยูได้ ถ้าถูกแรง
                             ่
  กระทาให้เอียงเล็กน้อย ก็จะกลับเข้าสู่
  สภาพเดิมได้ โดยเมื่อวัตถุได้รบแรง
                                 ั
  กระทาแล้วทาให้จุด C.G. สูงกว่าเดิม จะ
  มีแนวโน้มกลับสู่สภาพสมดุลเสถียร เช่น
  ตุ๊กตาล้มลุก ขวดน้าวางบนโต๊ะ และ
  กรวยคว่าตังบนพืน เป็นต้น
             ้       ้
2.สภาพสมดุลไม่เสถียร
 (unstable equilibrium)
    คือ สมดุลที่วัตถุไม่สามารถวาง
เหมือนเดิมได้ ถ้าถูกแรงกระทาเพียง
เล็กน้อย โดยเมื่อวัตถุได้รบแรงกระทา
                          ั
แล้วทาให้จุด C.G. ต่ากว่าเดิม จะมี
แนวโน้มสู่สภาพสมดุลไม่เสถียร เช่น
วัตถุทรงกรวยที่เอาปลายแหลมลง ขวด
น้าปากขวดคว่าลง เป็นต้น
3.สภาพสมดุลสะเทิน
(neutral equilibrium)
  คือ สมดุลที่วตถุถูกแรงกระทาเพียง
                 ั
เล็กน้อยแล้ววัตถุจะเปลียนตาแหน่ง
                       ่
ไป แต่ยงคงสภาวะเดิมได้ โดยเมื่อ
           ั
วัตถุได้รบแรงกระทาแล้วทาให้จุด
         ั
C.G. อยูในระดับเดิม จะทาให้วัตถุมี
               ่
สภาพสมดุลสะเทิน เช่น ลูกบอลที่
วางบนพืนราบ เป็นต้น
             ้
Project : จุดศูนย์ถ่วง (คะแนนเก็บ 5 คะแนน)

วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจ รวมถึงสามารถ
   นาหลักการของจุดศูนย์ถ่วง ไปใช้ได้
กิจกรรม : ให้เวลานักเรียน 1 คาบ สืบค้นวิธีการสร้าง
   ชิ้นงานทีใช้อธิบายเรื่องจุดถ่วงได้ เมื่อได้แล้วให้นักเรียน
            ่
   วางแผนการสร้างชิ้นงานนั้น พร้อมอธิบายหลักการทาง
   ฟิสกส์ นาเสนอชิ้นงานในคาบเรียนต่อไป
       ิ
สภาพยืดหยุ่น
สภาพยืดหยุน(Elasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการ
          ่
 เปลี่ยนแปลงรูปร่าง เมื่อมีแรงมากระทา และ
 สามารถคืนตัวกลับสู่รูปร่างเดิมได้เมื่อหยุดออกแรง
 กระทา
สภาพพลาสติก (Plasticity) คือ สมบัติของวัตถุทมี  ี่
 การเปลี่ยนรูปร่างไปอย่างถาวร โดยผิววัสดุไม่มีการ
 ฉีกขาดหรือแตกหักเมื่อมีแรงมากระทา
ขีดจากัดการแปรผันตรง (Proportional limit) คือ
   ตาแหน่งสุดท้ายทีระยะยืดออกของวัตถุแปรผันตรง
                    ่
   กับขนาดของแรงดึง
ขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น (Elastic limit) คือ
   ตาแหน่งสุดท้ายที่วัตถุยื่นออกแล้วยังสามารถคืนตัว
   กลับสู่สภาพเดิมได้เมื่อหยุดออกแรงกระทา
ถ้าออกแรงดึงให้สปริงยืดออก แล้วจะพบว่าความยาวที่สปริงยืดออกแปร
        ผันตรงกับขนาดของแรงดึง แต่ถ้าเพิ่มแรงดึงสปริงให้ยดออกไปเรื่อย
                                                         ื
        ๆ จนกระทังถึงระยะหนึงแล้วจะพบว่าความยาวทีสปริงยืดออกไม่แปร
                  ่          ่                     ่
        ผันตรงกับ แรงดึงดังกราฟระหว่างขนาดของแรงดึงกับความยาวที่
        สปริงยืดออก ดังรูป                   จากกราฟ
                                                                ความยาวที่สปริงยืดออกแปรผัน
                    ขีดจากัดการแปรผันตรง            จุดแตกหัก   ตรงกับขนาดของแรงดึงซึ่งเป็นไป
ขนาดของแรงดึง




                                           c

                             b                                  ตามกฎของฮุค (Hook Law)

                                                                  F x
                         a           ขีดจากัดสภาพ
                                     ยืดหยุน
                                           ่

                                                                  F  kx
                O
                                     ความยาวที่สปริงยืดออก
ลักษณะของแรงที่ทาให้วตถุเปลี่ยนรูปร่าง
                              ั
1.แรงดึง (tensile forces) คือ แรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วตถุ
                                                           ั
   มีความยาวเพิมขึน
                ่ ้

2.แรงอัด (compression forces) คือแรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทา
   ให้วตถุมความยาวลดลง
       ั ี

3.แรงเฉือน (shear forces) คือ แรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้
   วัตถุเลือนไป หรือทาให้แท่งวัตถุบดรูปร่างไปจากเดิมตามแนวยาว
           ่                       ิ
   เรียกว่า แรงบิด (forces of torsion)
ความเค้น (stress,  )
ความเค้น คือ อัตราส่วนระหว่างแรงกระทาที่ตงฉากกับผิวต่อพื้นที่หน้าตัดขวาง
                                         ั้
                   F          มีหน่วย N/m2 หรือ พาสคัล (Pa)
                
                   A
โดยทั่วไปความเค้นมี 2 ชนิด ดังนี้
1. ความเค้นตามยาว (Longitudinal Stress) ประกอบด้วย 2 ชนิดคือ
      1.1 ความเค้นแบบดึง คือ อัตราส่วนของแรงดึงทีตั้งฉากกับผิวต่อ
                                                 ่
   พื้นที่หน้าตัดขวางมีผลทาให้วตถุยาวขึ้น
                               ั
      1.2 ความเค้นแบบอัด คือ อัตราส่วนของแรงอัดที่ตงฉากกับผิวต่อ
                                                    ั้
   พื้นที่หน้าตัดขวางมีผลทาให้วตถุหดสั้นลง
                                 ั
2. ความเค้นเฉือน (shear stress ) คือ ความเค้นทีทาให้วัตถุบิดเบือนรูปร่าง
                                               ่
  ไป
ความเครียด( Strain ,  )
   ความเครียดตามยาว (Longitudinal Strain) คือ
อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม
ของวัตถุ
                 L
              
                 L0
มอดูลัสของยัง (Young’s Modulus)
  มอดูลสของยัง (Young’s Modulus) คือ อัตราส่วนระหว่าง
        ั
ความเค้นตามยาวและความเครียดตามยาวของวัตถุชนิดหนึ่งๆ เมื่อ
ออกแรงดึงเส้นวัตถุ โดยไม่ให้ขนาดของแรงดึงเกินขีดจากัดการแปรผัน
ตรงของวัตถุ                
                   Y 
                          
                        F 
                         A
                   Y     
                        L 
                        L 
                         0 

                        F   L0 
                   Y          
                        A   L 

   ค่ามอดูลัสของยัง จะมีหน่วยเหมือนความเค้นคือ N/m2 หรือ Pa
กราฟมอดูลัสของยัง
      
                             ความชันของกราฟคือมอดูลัสของยัง



                                       
จากกราฟ จะเห็นว่าอัตราส่วนระหว่างความเค้นตามยาวและความเครียด
  ตามยาวของวัตถุชนิดหนึง ๆ จะมีค่าคงตัว ( ความชันเป็นเส้นตรง
                        ่
  มอดูลสของยังคงที่ ) การออกแรงโดยไม่ให้ขนาดของแรงเกินขีดจากัด
       ั
  การแปรผันตรงของวัตถุ ทาให้อัตราส่วนนี้เรียกว่า มอดูลัสสภาพ
  ยืดหยุน (Modulus of Elasticity)
         ่
มอดูลัสสภาพยืดหยุ่นของวัตถุบางชนิด
    วัตถุ           มอดูลัสของยัง    มอดูลัสเฉือน   มอดูลัสเชิงปริมาตร
                   (x1010 N/m2)     (x1010 N/m2)      (x1010 N/m2)
  เหล็กกล้า              20              8.4                16
   ทองแดง                 11             4.2                14
 เหล็กหล่อ               10              4.0               9.0
 ทองเหลือง               9.1             3.5                6.1
 อะลูมิเนียม            7.0              2.5               7.0
     แก้ว             6.5-7.8          2.6-3.2          5.0-5.5
   ควอรตซ์              5.6              2.6               2.7
กระดูกแขนขา              1.5             8.0                 -
     น้า                  -               -                0.2
ความทนแรงของวัตถุ
ความทนแรง(strength) เป็นสมบัตที่บอกให้ทราบความสามารถใน
                                    ิ
  การต้านทานความเค้นของวัตถุนั้นๆ หาได้จาก ความเค้นสูงสุด
การดึงเป็นเส้น (ductile) เป็นสมบัตของวัตถุที่ถกทาให้มีความยาว
                                        ิ         ู
  เพิ่มขึนโดยง่ายหรือทาให้ขนรูปได้งายโดยได้รับความเค้นเล็กน้อย
         ้                    ึ้      ่
  วัตถุที่มีสมบัตนี้มีชวงการผิดรูปแบบพลาสติกยาว เช่น ตะกัว
                 ิ ่                                      ่
  ทองแดง
ความเปราะ (brittle) เป็นสมบัตของวัตถุเมือได้รับความเค้นเกินขีด
                                  ิ         ่
  กาจัดยืดหยุ่น จะแตกได้งาย วัตถุที่มสมบัตนจะมีชวงการผิด
                            ่             ี   ิ ี้ ่
  รูปแบบพลาสติกสัน เช่น แก้ว เซรามิก
                       ้
THANK YOU
   FOR
ATTENTION

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 

Similar to สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น

สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นChakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาnang_phy29
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่piyawanrat2534
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)Chatwan Wangyai
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfsensei48
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุdnavaroj
 

Similar to สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น (20)

สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
Kraft Och RöRelse Thai
Kraft Och RöRelse ThaiKraft Och RöRelse Thai
Kraft Och RöRelse Thai
 
3
33
3
 
3
33
3
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
P08
P08P08
P08
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติและสองมิติ(เสร็จ)
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdfฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
ฟิสิกส์ ม.4 หน่วยที่ 6 โมเมนตัมและการชน.pdf
 
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
 

More from เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 

More from เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham (9)

เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 

สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น

  • 1.
  • 2. กิจกรรมลุกยืน ไม่อาจลุกขึ้นยืนได้ ให้นงตัวตรงและห้ามวางเท้าเข้าไปใต้เก้าอี้ แล้วลองลุกขึนโดยไม่ ั่ ้ เคลื่อนเท้าทั้งสอง หรือเอนตัวไปข้างหน้า จะไม่สามารถลุกขึนได้ ้ ไม่วาจะพยายามสักเท่าใดก็ตาม นอกเสียจากจะเลือนเท้าทั้งสองเข้า ่ ่ ไปใต้เก้าอีหรือเอนตัวไปข้างหน้า ้ เพราะอะไร ?
  • 3. เหตุที่ล้ม การทรงตัวของเทหวัตถุต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งของลาตัวมนุษย์ วัตถุ จะไม่ล้มคว่าก็ต่อเมือเส้นตังฉากจากจุดศูนย์ถวงผ่านฐานของวัตถุนั้น ่ ้ ่ กระบอกที่เอียงในรูป จะต้องล้มลง แต่ถาเส้นตังฉากจากจุดศูนย์ถวงผ่าน ้ ้ ่ ฐานของกระบอกแล้ว กระบอกนั้นจะตังอยู่ได้โดยไม่ลมลง ้ ้ กระบอกนี้ต้องล้มลง เพราะเส้นตั้งฉากจากจุดศูนย์ถ่วงอยู่นอกฐาน ของกระบอกนั้น
  • 4. หอเอนปิซา (Pisa) ที่มีชื่อเสียง การที่หอไม่ล้มพังลงไป ถึงแม้จะมีโครงสร้างที่เอียง กระเท่เร่อยู่ก็ตาม ก็เหตุผล เดียวกันคือเส้นตั้งฉากจาก จุดศูนย์ถ่วงไม่ได้อยู่นอกฐาน นั่นเองเหตุผลอีกข้อคือฐาน ตึกของสิ่งดังกล่าวถูกฝังลึกอยู่ ใต้พื้นดินมาก
  • 5. เพราะอะไร ? ทีนกลับไปยังคาถามที่ได้ตั้งไว้ในตอนต้นของบทนี้ จุดศูนย์ถ่วง ี้ ของเด็กชายที่นั่งบนเก้าอี้จะอยูภายในร่างกายของเขาซึ่งใกล้กับ ่ กระดูกสันหลัง(ประมาณ 20 เซนติเมตรเหนือระดับสะดือของ เขา) เส้นตั้งฉากจากจุดนี้ จะผ่านเก้าอีไปอยูข้างหลังของเท้าทั้ง ้ ่ สอง ท่านคงทราบแล้วว่าการที่คนเราจะลุกขึนยืนได้ เส้นตั้งฉากนี้ ้ จะต้องผ่านพืนที่ทเี่ ท้าทังสองวางอยู่ หรือเลื่อนเขาไปได้เก้าอี้ ้ ้ เพื่อให้ฐานของเราอยูใต้จุดศูนย์ถ่วง ซึ่งอันนี้เป็นสิ่งที่เราทาบ่อย ่ ๆ เมื่อเราจะลุกออกจากเก้าอี้ ถ้าเราไม่ทาเช่นนี้ เราจะไม่สามารถ ลุกขึนยืนได้เลย (เรืองนีท่านคงจะเห็นได้จากประสบการณ์ของ ้ ่ ้ ท่านเอง)
  • 6. นิยามสภาพสมดุล สภาพสมดุล (Equilibrium) คือ สภาพที่วัตถุสามารถ รักษาสภาพการเคลือนที่ให้คงเดิม เช่นอยูนิ่ง คือทั้งไม่มี ่ ่ การเลื่อนตาแหน่งและไม่หมุน หรือเคลือนที่ในสภาพเดิม ่ คือ จุดศูนย์กลางมวลเลื่อนด้วยอัตราเร็วคงที่และ หมุนรอบแกนผ่านจุดศูนย์กลางมวลด้วยอัตราเร็วเชิงมุม คงทีหรือกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า สมดุลที่เกิดขึ้นในขณะที่ ่ วัตถุอยู่ในสภาพนิ่ง หรือเคลือนที่ด้วยความเร็วคงตัว ่ ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมค่าเป็นศูนย์ ี
  • 7. สภาพสมดุลของวัตถุ คือ การคงสภาพของวัตถุ แบ่งได้ 2 กรณี คือ สมดุลสถิต (static equilibrium) คือ สภาพ สมดุลของวัตถุหรือสิ่งก่อสร้างที่อยูนิ่ง ่ สมดุลจลน์ (kinetic equilibrium) คือ สภาพ สมดุลของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว (a=0)
  • 9. เงื่อนไขของสมดุล กรณีทมีแรง 2 แรงกระทาต่อวัตถุ จะมีสมดุลเมื่อ ี่ 1.แรง 2 แรงมีขนาดเท่ากัน แต่มีทศทางตรงข้ามกัน ิ 2.โมเมนต์รอบจุดใดๆ จะเป็น 0 ได้ก็ตอเมื่อแรงทั้ง ่ สองอยู่ในแนวเดียวกัน
  • 10. กรณีทมีแรง 3 แรงกระทา ี่ แบ่งได้เป็น 2 กรณี คือ 1.แนวแรงทั้ง 3 ขนานกัน และรวมกันแล้วทังหมดเป็น 0 ้ 2.แนวแรงทั้ง 3 ไม่ขนานกัน สภาพสมดุลจะเกิดขึ้นเมื่อ 2.1 แรงทั้ง 3 อยู่บนระนาบเดียวกัน 2.2 แนวแรงทั้ง 3 ต้องพบกันทีจุด ๆ หนึ่ง ่ 2.3 แรงลัพธ์ของแรงทั้ง 3 เป็น 0 2.4 โมเมนต์ลพธ์ของแรงทั้ง 3 เป็น 0 ั
  • 11. โมเมนต์ โมเมนต์ของแรงหรือทอร์ก คือ ผลคูณระหว่างขนาดของแรงกับ ระยะทางจากจุดหมุนไปตังฉากกับแนวแรง เป็นปริมาณเวกเตอร์มีทง ้ ั้ ขนาดและทิศทาง โมเมนต์ (M) = แรง x ระยะทางตังฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรง ้ หน่วยเป็นนิวตัน - เมตร (N-m)
  • 13. โมเมนต์ของแรงคู่ควบ แรงคู่ควบ (couple) คือ แรง 2 แรงทีกระทาต่อวัตถุ มีขนาดเท่ากัน มีแนวแรง ่ ขนานกัน แต่มทศทางตรงข้ามกัน เช่น แรงคู่ควบ F1 และ F2 กระทาต่อจุด ีิ A , B ดังรูป สรุป โมเมนต์ของแรงคูควบใดๆ มีขนาดเท่ากับผลคูณของขนาดของ ่ แรงใดแรงหนึงกับระยะทางตั้งฉากระหว่างแนวแรงทังสอง ่ ้
  • 14. การแก้ปัญหาสมดุลของแรงสามแรง 1. ใช้วธแตกแรงเข้าสูแกน x แกน y ิี ่ ให้แตกแรงที่ไม่อยูในแนวแกน x และแกน y เข้าสูแกนทังสอง ซึงผลลัพธ์ของ ่ ่ ้ ่ แรงในแกนเดียวกันเท่ากับศูนย์ คือ  F  0 และ  F  0 x y (แรงในแนวเดียวกันเท่ากัน) ผลรวมของแรงทางด้านขวา = ผลรวมของแรงทางด้านซ้าย ผลรวมของแรงทางด้านบน = ผลรวมของแรงทางด้านล่าง
  • 16. 2. ทฤษฎีลามี (กฎของ sine) แรง 3 แรงมากระทากันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยูในภาวะ ่ สมดุล อัตราส่วนของแรงต่อ sin ของมุมตรงข้ามย่อมมี ค่าเท่ากัน F1 F2 F3   sin  sin  sin 
  • 17. ตัวอย่างที่ 2 วัตถุอนหนึ่งมวล 2.4 กิโลกรัม แขวนห้อยอยู่ดวยเชือก ั ้ 2 เส้น เส้นหนึ่งอยู่ในแนวราบ อีกเส้นหนึ่งทามุม 60บ กับแนวดิ่ง จงหาแรงดึงของเชือกทั้งสอง T1 60º T2 2.4 kg
  • 18. 3. สามเหลี่ยมแทนแรง ถ้ามีแรงสามแรงกระทาร่วมต่อวัตถุอันหนึง และแรงทังสามอยู่ในภาวะ ่ ้ สมดุลขนาดและทิศทางของแรงทั้งสามสามารถแทนได้โดยด้านทัง ้ สามของสามเหลี่ยมรูปหนึง ในเมื่อด้านทังสามของสามเหลี่ยมรูปนั้น ่ ้ ขนานกับแนวแรงทังสามหรือตั้งฉากกับแรงทังสาม ซึงผลที่ได้คือ ้ ้ ่ อัตราส่วนระหว่างแรงกับด้านที่แทนได้ด้วยแรงนั้นจะมีค่าเท่ากัน B P C Q A R P Q R จะได้ AB  BC  CA
  • 19. เสถียรภาพของสมดุล จุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass ; c.m.) หมายถึง จุดที่เสมือนที่รวมของมวลวัตถุทั้งก้อน จุดศูนย์ถ่วง (Center of Gravity ; c.g.) หมายถึง จุดที่เสมือนที่รวมน้าหนักของวัตถุทั้ง ก้อน ซึ่งคล้ายๆ กับว่าน้าหนักของวัตถุนั้นทั้งก้อน รวมกันแล้วตกผ่านจุดนั้น
  • 20. คุณสมบัติของจุดศูนย์กลางมวลและจุดศูนย์ถ่วง 1.จุดศูนย์ถ่วงและจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุใดๆ จะมีได้ เพียงจุดเดียว 2.จุดศูนย์ถ่วงและจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุใดๆ จะคงที่ ถ้าวัตถุนั้นไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่าง 3.จุดศูนย์ถ่วงและจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุใดๆ จะอยู่ ภายในหรือภายนอกก้อนวัตถุนั้นก็ได้ เช่น กระป๋อง ขวด
  • 21. 4.จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุที่อยู่นอกแรงดึงดูดโลกไม่มีแต่ จุดศูนย์กลางมวลของวัตถุใดๆ มีได้ 5. จุดศูนย์ถ่วงและจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุก้อน เดียวกันอาจเป็นจุดเดียวกันหรือคนละจุดก็ได้ 6.บนบริเวณที่วัตถุนั้นอยู่มีคา g สม่าเสมอจุด C.M. ่ และจุด C.G. จะอยู่ที่ตาแหน่งเดียวกันแต่ถ้า บริเวณนั้นมีค่า g ไม่สม่าเสมอ จุด C.M.และจุด C.G. จะไม่อยู่ตาแหน่งเดียวกัน
  • 22. ประเภทของเสถียรภาพของสมดุล 1.สภาพสมดุลเสถียร (stable equilibrium) คือ สมดุลที่วัตถุวางอยูได้ ถ้าถูกแรง ่ กระทาให้เอียงเล็กน้อย ก็จะกลับเข้าสู่ สภาพเดิมได้ โดยเมื่อวัตถุได้รบแรง ั กระทาแล้วทาให้จุด C.G. สูงกว่าเดิม จะ มีแนวโน้มกลับสู่สภาพสมดุลเสถียร เช่น ตุ๊กตาล้มลุก ขวดน้าวางบนโต๊ะ และ กรวยคว่าตังบนพืน เป็นต้น ้ ้
  • 23. 2.สภาพสมดุลไม่เสถียร (unstable equilibrium) คือ สมดุลที่วัตถุไม่สามารถวาง เหมือนเดิมได้ ถ้าถูกแรงกระทาเพียง เล็กน้อย โดยเมื่อวัตถุได้รบแรงกระทา ั แล้วทาให้จุด C.G. ต่ากว่าเดิม จะมี แนวโน้มสู่สภาพสมดุลไม่เสถียร เช่น วัตถุทรงกรวยที่เอาปลายแหลมลง ขวด น้าปากขวดคว่าลง เป็นต้น
  • 24. 3.สภาพสมดุลสะเทิน (neutral equilibrium) คือ สมดุลที่วตถุถูกแรงกระทาเพียง ั เล็กน้อยแล้ววัตถุจะเปลียนตาแหน่ง ่ ไป แต่ยงคงสภาวะเดิมได้ โดยเมื่อ ั วัตถุได้รบแรงกระทาแล้วทาให้จุด ั C.G. อยูในระดับเดิม จะทาให้วัตถุมี ่ สภาพสมดุลสะเทิน เช่น ลูกบอลที่ วางบนพืนราบ เป็นต้น ้
  • 25. Project : จุดศูนย์ถ่วง (คะแนนเก็บ 5 คะแนน) วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจ รวมถึงสามารถ นาหลักการของจุดศูนย์ถ่วง ไปใช้ได้ กิจกรรม : ให้เวลานักเรียน 1 คาบ สืบค้นวิธีการสร้าง ชิ้นงานทีใช้อธิบายเรื่องจุดถ่วงได้ เมื่อได้แล้วให้นักเรียน ่ วางแผนการสร้างชิ้นงานนั้น พร้อมอธิบายหลักการทาง ฟิสกส์ นาเสนอชิ้นงานในคาบเรียนต่อไป ิ
  • 26. สภาพยืดหยุ่น สภาพยืดหยุน(Elasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการ ่ เปลี่ยนแปลงรูปร่าง เมื่อมีแรงมากระทา และ สามารถคืนตัวกลับสู่รูปร่างเดิมได้เมื่อหยุดออกแรง กระทา สภาพพลาสติก (Plasticity) คือ สมบัติของวัตถุทมี ี่ การเปลี่ยนรูปร่างไปอย่างถาวร โดยผิววัสดุไม่มีการ ฉีกขาดหรือแตกหักเมื่อมีแรงมากระทา
  • 27. ขีดจากัดการแปรผันตรง (Proportional limit) คือ ตาแหน่งสุดท้ายทีระยะยืดออกของวัตถุแปรผันตรง ่ กับขนาดของแรงดึง ขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น (Elastic limit) คือ ตาแหน่งสุดท้ายที่วัตถุยื่นออกแล้วยังสามารถคืนตัว กลับสู่สภาพเดิมได้เมื่อหยุดออกแรงกระทา
  • 28. ถ้าออกแรงดึงให้สปริงยืดออก แล้วจะพบว่าความยาวที่สปริงยืดออกแปร ผันตรงกับขนาดของแรงดึง แต่ถ้าเพิ่มแรงดึงสปริงให้ยดออกไปเรื่อย ื ๆ จนกระทังถึงระยะหนึงแล้วจะพบว่าความยาวทีสปริงยืดออกไม่แปร ่ ่ ่ ผันตรงกับ แรงดึงดังกราฟระหว่างขนาดของแรงดึงกับความยาวที่ สปริงยืดออก ดังรูป จากกราฟ ความยาวที่สปริงยืดออกแปรผัน ขีดจากัดการแปรผันตรง จุดแตกหัก ตรงกับขนาดของแรงดึงซึ่งเป็นไป ขนาดของแรงดึง c b ตามกฎของฮุค (Hook Law) F x a ขีดจากัดสภาพ ยืดหยุน ่ F  kx O ความยาวที่สปริงยืดออก
  • 29. ลักษณะของแรงที่ทาให้วตถุเปลี่ยนรูปร่าง ั 1.แรงดึง (tensile forces) คือ แรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วตถุ ั มีความยาวเพิมขึน ่ ้ 2.แรงอัด (compression forces) คือแรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทา ให้วตถุมความยาวลดลง ั ี 3.แรงเฉือน (shear forces) คือ แรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้ วัตถุเลือนไป หรือทาให้แท่งวัตถุบดรูปร่างไปจากเดิมตามแนวยาว ่ ิ เรียกว่า แรงบิด (forces of torsion)
  • 30. ความเค้น (stress,  ) ความเค้น คือ อัตราส่วนระหว่างแรงกระทาที่ตงฉากกับผิวต่อพื้นที่หน้าตัดขวาง ั้ F มีหน่วย N/m2 หรือ พาสคัล (Pa)   A โดยทั่วไปความเค้นมี 2 ชนิด ดังนี้ 1. ความเค้นตามยาว (Longitudinal Stress) ประกอบด้วย 2 ชนิดคือ 1.1 ความเค้นแบบดึง คือ อัตราส่วนของแรงดึงทีตั้งฉากกับผิวต่อ ่ พื้นที่หน้าตัดขวางมีผลทาให้วตถุยาวขึ้น ั 1.2 ความเค้นแบบอัด คือ อัตราส่วนของแรงอัดที่ตงฉากกับผิวต่อ ั้ พื้นที่หน้าตัดขวางมีผลทาให้วตถุหดสั้นลง ั 2. ความเค้นเฉือน (shear stress ) คือ ความเค้นทีทาให้วัตถุบิดเบือนรูปร่าง ่ ไป
  • 31. ความเครียด( Strain ,  ) ความเครียดตามยาว (Longitudinal Strain) คือ อัตราส่วนระหว่างความยาวที่เปลี่ยนไปกับความยาวเดิม ของวัตถุ L   L0
  • 32. มอดูลัสของยัง (Young’s Modulus) มอดูลสของยัง (Young’s Modulus) คือ อัตราส่วนระหว่าง ั ความเค้นตามยาวและความเครียดตามยาวของวัตถุชนิดหนึ่งๆ เมื่อ ออกแรงดึงเส้นวัตถุ โดยไม่ให้ขนาดของแรงดึงเกินขีดจากัดการแปรผัน ตรงของวัตถุ  Y   F   A Y     L   L   0   F   L0  Y      A   L  ค่ามอดูลัสของยัง จะมีหน่วยเหมือนความเค้นคือ N/m2 หรือ Pa
  • 33. กราฟมอดูลัสของยัง  ความชันของกราฟคือมอดูลัสของยัง  จากกราฟ จะเห็นว่าอัตราส่วนระหว่างความเค้นตามยาวและความเครียด ตามยาวของวัตถุชนิดหนึง ๆ จะมีค่าคงตัว ( ความชันเป็นเส้นตรง ่ มอดูลสของยังคงที่ ) การออกแรงโดยไม่ให้ขนาดของแรงเกินขีดจากัด ั การแปรผันตรงของวัตถุ ทาให้อัตราส่วนนี้เรียกว่า มอดูลัสสภาพ ยืดหยุน (Modulus of Elasticity) ่
  • 34. มอดูลัสสภาพยืดหยุ่นของวัตถุบางชนิด วัตถุ มอดูลัสของยัง มอดูลัสเฉือน มอดูลัสเชิงปริมาตร (x1010 N/m2) (x1010 N/m2) (x1010 N/m2) เหล็กกล้า 20 8.4 16 ทองแดง 11 4.2 14 เหล็กหล่อ 10 4.0 9.0 ทองเหลือง 9.1 3.5 6.1 อะลูมิเนียม 7.0 2.5 7.0 แก้ว 6.5-7.8 2.6-3.2 5.0-5.5 ควอรตซ์ 5.6 2.6 2.7 กระดูกแขนขา 1.5 8.0 - น้า - - 0.2
  • 35. ความทนแรงของวัตถุ ความทนแรง(strength) เป็นสมบัตที่บอกให้ทราบความสามารถใน ิ การต้านทานความเค้นของวัตถุนั้นๆ หาได้จาก ความเค้นสูงสุด การดึงเป็นเส้น (ductile) เป็นสมบัตของวัตถุที่ถกทาให้มีความยาว ิ ู เพิ่มขึนโดยง่ายหรือทาให้ขนรูปได้งายโดยได้รับความเค้นเล็กน้อย ้ ึ้ ่ วัตถุที่มีสมบัตนี้มีชวงการผิดรูปแบบพลาสติกยาว เช่น ตะกัว ิ ่ ่ ทองแดง ความเปราะ (brittle) เป็นสมบัตของวัตถุเมือได้รับความเค้นเกินขีด ิ ่ กาจัดยืดหยุ่น จะแตกได้งาย วัตถุที่มสมบัตนจะมีชวงการผิด ่ ี ิ ี้ ่ รูปแบบพลาสติกสัน เช่น แก้ว เซรามิก ้
  • 36. THANK YOU FOR ATTENTION