SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
เทคโนโลยีอวกาศ
สอนโดย: ครูวันวิสา แพนพันธุ์อ้วน
และครูสมฤทัย แปลงศรี
เทคโนโลยีอวกาศ คือ
เทคโนโลยีที่ใช้ในการสารวจสิ่ง
ต่างๆ ที่อยู่นอกโลกของเรา
และสารวจโลกของเราเองด้วย
กล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์
เนื่องจากวัตถุท้องฟ้ า อยู่ห่างจากโลกเราหลาย
ปีแสง และมักมีความสว่างน้อยนิด จึงจาเป็นต้องใช้
กล้องโทรทรรศน์เพื่อดึงภาพของวัตถุเหล่านั้นให้
เหมือนกับว่ามาอยู่ใกล้ ๆ เพื่อศึกษารายละเอียด
ได้สะดวก
แบ่งได้ตามหลักการสร้างภาพได้เป็น 3ชนิดใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
ชนิดของกล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
(refracting telescope)
กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง
(reflecting telescope)
กล้องโทรทรรศน์แบบผสม
(catedioptric telescope)
1. กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
อาศัยหลักการหักเหของแสง ผ่านเลนส์วัตถุ
(Objective Lens) แล้วหักเหอีกครั้ง ผ่านเลนส์ตา
(Eye piece) กล้องชนิดนี้ ค้นพบก่อนที่กาลิเลโอจะ
นามาพัฒนา และนิยมใช้จนแพร่หลาย ในสมัยของกาลิ
เลโอ ซึ่งเหมาะสาหรับ สารวจพื้นผิวของดวงจันทร์,
ดาวเคราะห์, วงแหวนและดาวบริวารของดาวเคราะห์
เป็นต้น
1. กล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง
ข้อดี เหมาะสาหรับมือใหม่ เนื่องจาก ราคาถูก (เมื่อเทียบกับแบบ
อื่น) เคลื่อนย้าย ประกอบใช้งานง่าย และเนื่องจากไม่ต้องตั้งอะไรมากนัก
ทาให้บารุงรักษาง่าย นอกจากนี้ โครงสร้างของกล้อง ก็ป้องกันฝุ่นในตัว
อยู่แล้ว
ข้อเสีย คือ ขนาดสูงสุดของเลนส์วัตถุไม่มากนัก ประมาณ 3-5 นิ้ว
จึงไม่สามารถสังเกตวัตถุที่จางมากๆ นอกจากนี้ ขนาดของเลนส์วัตถุที่
ใหญ่มากทาให้ภาพมีสีเพี้ยน เนื่องจากการหักเหของแต่ละสีไม่เท่ากัน
ทาให้ต้องมีการเคลือบเลนส์เพื่อแก้ไข ทาให้ราคาสูงขึ้นอีก และกล้อง
ชนิดนี้มักมากับกระจกสะท้อน เพื่อความสะดวกในการดูดาว ทาให้ภาพ
ที่ได้กลับจากซ้ายไปขวา ยากต่อการเปรียบเทียบกับแผนที่ฟ้า
2. กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง
เป็นกล้องโทรทรรศน์ ที่อาศัยหลักการสะท้อนของ
แสงผ่านกระจกโค้ง (Concave Objective Mirror) แล้ว
หักเหอีกครั้ง ผ่านเลนส์ตา (Eye piece) กล้องชนิดนี้
พัฒนาโดยไอแซ็ค นิวตัน จึงมีอีกชื่อหนึ่ง คือ กล้อง
โทรทรรศน์แบบนิวตัน (Newtonian Telescope) ซึ่ง
เหมาะสาหรับ การสารวจกระจุกดาว, เนบิวลา วัตถุ
ท้องฟ้า หรือกาแล็กซี่ที่ค่อนข้างจาง เป็นต้น
2. กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง
กระจกโค้งจะสะท้อนแสงให้แสงรวมกันยังจุด
โฟกัสจุดเดียว เพื่อทาให้ภาพที่ได้มีความคมชัด ดังนั้น
กระจกสะท้อน จึงต้องมีความโค้งแบบพาราโบลา
(Parabola) ไม่ใช่โค้งแบบส่วนของทรงกลม (Sphere)
2. กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง
ข้อดี เหมาะสาหรับทั่วไป เนื่องจากภาพที่ได้มีคุณภาพดี ราคาไม่
สูงมาก นอกจากนี้ภาพที่ได้ก็เหมือนจริง (ไม่กลับข้าง) นอกจากนี้ ขนาด
ของหน้ากล้องซึ่งมีความสาคัญต่อการรับแสงมีขนาดให้เลือกมากกว่า
ข้อเสีย คือ กระจกสะท้อนทาหน้าที่สะท้อนภาพมายังเลนส์ตานั้น
จะลดพื้นที่รับแสงของกล้องแบบนี้ ทาให้เมื่อขนาดของหน้ากล้องเท่ากัน
กล้องแบบหักเหแสงจะรับแสงได้มากกว่า ทาให้เห็นภาพวัตถุที่จางกว่า
ได้ และกล้องแบบนี้ ก็ต้องการการดูแลรักษา โดยเฉพาะการป้องกันฝุ่น
หรือน้าค้าง เนื่องจากด้านหน้าของกล้อง เปิดออกรับแสงโดยตรงไม่มี
อะไรมาปิดไว้
3. กล้องโทรทรรศน์แบบผสม
อาศัยทั้งหลักการสะท้อนและการหักเหของแสง
เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งกล้องชนิดนี้ ใช้ทั้งกระจกโค้งสะท้อน
และเลนส์ในการหักหของแสง และเรียกกล้องชนิดนี้ว่า
"Catadioptric“ หมายถึง กระจก-เลนส์ (mirror-lens)
เช่น กล้องแบบ Schmidt-Cassegrain, Maksutov-
Cassegrain เป็นต้น กล้องชนิดนี้ จาหน่ายครั้งแรกในยุค
ค.ศ. 1970s กล้องชนิดนี้ เหมาะสาหรับ การสารวจ
กระจุกดาว เนบิวลา วัตถุ
ท้องฟ้ า หรือกาแล็กซี่ที่
ค่อนข้างจาง เป็นต้น
ข้อดี ของกล้องโทรทรรศน์แบบนี้ ทาให้มีขนาดเล็ก (ขณะที่หน้า
กล้องใหญ่ขึ้น) ทาให้เคลื่อนย้ายสะดวก, ขนาดที่ของกล้องสั้น ทาให้
ติดตั้งมอเตอร์ติดตามดาวได้ง่าย เนื่องจากน้าหนักสมดุลกว่า และติดตั้ง
อุปกรณ์ประกอบได้ง่าย เช่น กล้อง CCD สาหรับถ่ายภาพ เป็นต้น
ข้อเสีย คือ ราคาที่สูงกว่ากล้องแบบอื่นๆ (ในขนาดที่เท่ากัน) และ
ภาพที่ได้ มีความคมสู้แบบสะท้อนแสงไม่ได้ (ในขนาดที่เท่ากัน)
เนื่องจาก เลนส์ตาที่ทาหน้าที่หักเหแสง และกล้องโทรทรรศน์ชนิดนี้ มัก
มากับกระจกสะท้อนเพื่อช่วยให้สะดวกในการดูดาว ทาให้ภาพที่ได้กลับ
จากซ้ายไปชวา เช่นเดียวกับกล้องโทรทรรศน์แบบหักเหแสง ทาให้ยาก
ต่อการเปรียบเทียบ กับแผนที่ฟ้าได้
3. กล้องโทรทรรศน์แบบผสม
การขนส่งและ
การโคจรของดาวเทียม
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
การเดินทางจากโลกไปยังดาวดวงอื่น ๆ หรือมี
ความอยากรู้อยากเห็นว่าโลกของเราเป็นอย่างไรเมื่อ
ออกไปมองจากอวกาศ ในขณะที่ความรู้พื้นฐานทาง
วิทยาศาสตร์ที่มีอยู่คือ ความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วง
ของโลก
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
การส่งดาวเทียมและยานอวกาศขึ้นสู่อวกาศต้องสู้กับแรง
โน้มถ่วงของโลก ดาวเทียมต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
พอเหมาะจึงจะสู้กับแรงโน้มถ่วงได้ โดยต้องอาศัยจรวดที่มีแรง
ขับดันและความเร็วสูงมากกว่า 7.91 กิโลเมตรต่อวินาที
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
การส่งดาวเทียมและยานอวกาศขึ้นสู่อวกาศต้องสู้กับแรง
โน้มถ่วงของโลก ดาวเทียมต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง
พอเหมาะจึงจะสู้กับแรงโน้มถ่วงได้ โดยต้องอาศัยจรวดที่มีแรง
ขับดันและความเร็วสูงมากกว่า 7.91 กิโลเมตรต่อวินาที
จรวด
อุปกรณ์สาหรับสร้างแรงขับดัน เพื่อนายานอวกาศ
ดาวเทียม หรืออุปกรณ์อื่นขึ้นสู่อวกาศ
แรงโน้มถ่วงของโลก ณ พื้นผิวโลกมีความเร่งเท่ากับ 9.8
เมตร/วินาที2 ดังนั้นจรวดจะต้องมีแรงขับเคลื่อนสูงมาก เพื่อ
เอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลก
จรวด
ประเภทของจรวดตามชนิดของเชื้อเพลิงออกเป็น 2
ประเภท คือ
1. จรวดเชื้อเพลิงแข็ง มีโครงสร้างไม่สลับซับซ้อน แต่เมื่อ
การเผาไหม้เชื้อเพลิงเกิดขึ้นแล้ว ไม่สามารถหยุดได้
2. จรวดเชื้อเพลิงเหลว มีโครงสร้างสลับซับซ้อน เพราะ
ต้องมีถังเก็บเชื้อเพลิงเหลว และออกซิเจนเหลว (เพื่อช่วยให้เกิด
การสันดาป) ซึ่งมีอุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็ง และยังต้องมีท่อ
และปั๊มเพื่อลาเลียงเชื้อเพลิงเข้าสู่ห้องเครื่องยนต์เพื่อทาการเผา
ไหม้ จรวดเชื้อเพลิงเหลวมีข้อดีคือ สามารถควบคุมปริมาณการ
เผาไหม้ และปรับทิศทางของกระแสก๊าซได้
จรวด
จรวด
การออกแบบให้จรวดมีแรงผลักสูงและกาเนิดแรงผลักได้
เป็นเวลานานนั้น ต้องอาศัยเชื้อเพลิงจานวนมาก แต่เมื่อ
พิจารณากฏการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน จะพบว่ามวลรวม
ของจรวดเองนั้นจะต้านการเคลื่อนที่เนื่องจากแรงผลัก ดังนั้นจึง
ได้มีการออกแบบจรวดให้เป็นท่อนเพื่อลดมวลรวมระบบในแต่ละ
ขั้นตอนของการเดินทางเข้าสู่วงโคจร การประกอบท่อนของจรวด
นั้นแบ่งได้เป็นสองแบบ คือการต่อแบบอนุกรมและการต่อ
แบบขนาน
จรวด
การต่อแบบอนุกรม การต่อแบบขนาน
จรวด
นอกจากการใช้เชื้อเพลิงเหลวแล้ว ยังได้มีการพัฒนาการใช้
การเร่งโดยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าหรือไอออนของธาตุ ซึ่งได้
ทดลองใช้ก๊าซซีนอนและทาให้เป็นประจุพร้อมทั้งเร่งด้วยความ
ต่างศักย์แล้วปล่อยออกทางหัวฉีด ด้วยความเร่งประมาณ 35
กิโลเมตรต่อวินาที2 ซึ่งเร็วกว่า
เชื้อเพลิงเหลวที่ถูกสันดาปและ
พ่นออกทางหัวฉีดกว่า 10 เท่า
ส่งผลให้เกิดแรงผลักที่สูงกว่า
การใช้เชื้อเพลิงเหลว
การทางานของระบบขับดันด้วยไอออน
ขณะทดลองในห้องสุญญากาศ
ระบบการ
ขนส่งอวกาศ
ระบบการขนส่งอวกาศ
ระบบขนส่งอวกาศประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ
1. จรวจเชื้อเพลิงแข็ง
2. ถังเชื้อเพลิงภายนอก
คือ ส่วนที่ยานขนส่งอวกาศเกาะอยู่
ซึ่งเป็นที่เก็บเชื้อเพลิงไฮโดรเจนเหลวและ
ออกซิเจนเหลว
ระบบการขนส่งอวกาศ
ระบบขนส่งอวกาศประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ
มีมวลรวมเมื่อขึ้นจากฐานประมาณ
2,041,200 กิโลเมตร มวลเมื่อยานร่อนลงจอด
ประมาณ 96,163 กิโลกรัม ยานขนส่งอวกาศทา
หน้าที่ในการปล่อยดาวเทียม โดยใช้แขนกลยก
ดาวเทียมออกไปปล่อยในอวกาศ ซึ่งบังคับด้วย
สปริงดีดดาวเทียมออกไปจากห้องบรรทุก
สัมภาระ หรือยื่นไปจับดาวเทียมที่ชารุดเข้ามา
เก็บในห้องบรรทุกสัมภาระเพื่อเชื่อซ่อมต่อไป
3. ยานขนส่งอวกาศ
ระบบการขนส่งอวกาศ
เมื่อปล่อยออกจากฐานจรวดเชื้อเพลิงแข็งเป็นตัวขับเคลื่อน
โดยจะให้ความเร็วมากกว่าความเร็วหลุดพ้น
เมือถึงระดับหนึ่งจรวดเชื้อเพลิงแข็งจะแยกตัวจากระบบ
และกางร่มลงสู่ท้องทะเล ถังเชื้อเพลิงภายนอกเมื่อจ่ายเชื้อเพลิง
หมดจะแยกตัวออกจากยานขนส่งอวกาศ เพื่อให้เหลือแต่ยาน
ขนส่งอวกาศปฏิบัติงานต่อไป
ระบบการขนส่งอวกาศ
ระบบการขนส่งอวกาศ
ในการส่งระบบยานขนส่งอวกาศหรือกระสวยอวกาศแต่ละ
ครั้งสามารถบรรทุกนักบินอวกาศได้ 7-10 คน และมีห้องบรรจุ
ดาวเทียม หรืออุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งส่วนประกอบของสถานี
อวกาศนานาชาติ เพื่อเข้าสู่วงโคจร ปฏิบัติการแต่ละครั้งจะกิน
เวลาประมาณ 1 สัปดาห์ถึง 1 เดือน
การกลับสู่พื้นโลกนั้นใช้การร่อนลงจอดคล้ายกับเครื่องบิน
โดยมีวัสดุป้องกันความร้อนที่เกิดจากการเสียดสีกับชั้น
บรรยากาศของโลกติดป้องกันไว้ด้านล่างตลอดลาตัวเครื่อง
ระบบการขนส่งอวกาศ
ยานขนส่งอวกาศนั้นมีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 6 โครงการ คือ
1. โครงการเอนเตอร์ไพรส์ (Enterprise)
2. โครงการโคลัมเบีย (Columbia)
3. โครงการดิสคัฟเวอรี (Discovery)
4. โครงการแอตแลนติส (Atlantis)
5. โครงการแชลแลนเจอร์ (Challenger)
6. โครงการเอนเดฟเวอร์ (Endeavour)
ระบบการขนส่งอวกาศ
ยานขนส่งอวกาศนั้นสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ แต่
ค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาก็ยังสูง รวมทั้งอาจเกิดความผิดพลาด
ที่คาดไม่ถึงได้ ดังนั้นหากเป็นการส่งดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรหรือ
ส่งยานสารวจต่างๆ นั้น จะใช้จรวดอย่างอื่นในการนาส่ง ส่วน
ภารกิจของยานขนส่งอวกาศเหลือเพียงการขนส่งนักบินอวกาศ
ปฏิบัติงานและทาการทดลองพิเศษในสถานีอวกาศนานาชาติ
และการติดตั้งกล้องโทรทรรศน์อวกาศเท่านั้น
ชีวิตในอวกาศ
1. สภาพไร้น้าหนัก
- ทาให้กล้ามเนื้อออกแรงน้อยกว่าปกติ
- ของเหลวในร่างกายจะเคลื่อนตัวจาก
ร่างกายส่วนล่างมายังส่วนบน
2. สภาพความดันและอุณหภูมิ
- อาจจะทาให้เส้นโลหิตแตกถึงแก่
ความตาย
ชีวิตในอวกาศ
3. ภาวะแวดล้อมทั่วไป
- ภาวะแวดล้อมที่จะต้องประสบใน
การปฏิบัติงาน การรับประทาน
อาหาร การดื่มน้า การขับถ่าย การ
อาบน้า และการนอน
การใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีอวกาศ
1. ดาวเทียมสื่อสาร
(communication satellite: comsat)
- มีจุดประสงค์เพื่อการสื่อสารและโทรคมนาคม
- มีความห่างจากพื้นโลกโดยประมาณ 35.786 กิโลเมตร
- โคจรรอบโลกตามการหมุนของโลก
PALAPA
ของอินโดนีเซีย
INTELSAT :
International
Telecommunication
Satellite Consortium
COMSTAR
ของอเมริกา
THAICOM
ของประเทศไทย
1. ดาวเทียมสื่อสาร
(communication satellite: comsat)
ประเทศไทยใช้ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม INTELSAT และ
ดาวเทียม PALAPA โดยใช้สถานีดาวเทียมภาคพื้นดินที่ อ.ศรีราชา
จ.ชลบุรี เพื่อให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ การถ่ายทอด
สัญญาณโทนทัศน์ การโทรคมนาคมภภายในประเทศ
PALAPA
ของอินโดนีเซีย
INTELSAT :
International
Telecommunication
Satellite Consortium
COMSTAR
ของอเมริกา
THAICOM
ของประเทศไทย
1. ดาวเทียมสื่อสาร
(communication satellite: comsat)
มีดาวเทียมสื่อสารจานวนมากที่มีวงจรค้างฟ้ า เช่นดาวเทียม
ไทยคม ดาวเทียมปาลาปา ดาวเทียมเอเชียแซท เป็นต้น
ดาวเทียมค้างฟ้ า โดยจะโคจรรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุม
เท่ากับโลกหมุนรอบตัวเองทาให้ดูเหมือนลอยนิ่งอยู่ตลอดเวลา
PALAPA
ของอินโดนีเซีย
INTELSAT :
International
Telecommunication
Satellite Consortium
COMSTAR
ของอเมริกา
THAICOM
ของประเทศไทย
2. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
(Meteorological Satellites)
- มีอุปกรณ์ถ่ายภาพเมฆ และเก็บข้อมูลของบรรยากาศด้วย
ภาพถ่ายเรดาร์ และภาพถ่ายอินฟาเรด หรือสัญญาณวิทยุมายัง
สถานีรับภาคพื้นดิน
- ใช้เป็นข้อมูลในการพยากรณ์อากาศ
GMS-5:
Geostationary
Meteorological
Satellite
NOAA:
National Oceanographic
and Atmospheric
Administration)
METEOSAT
2. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
(Meteorological Satellites)
ภาพถ่ายสภาพพายุจาก Asia Satellite
ที่เป็นสีแดง คือบริเวณที่มีร่องน้าฝนพาดผ่าน
3. ดาวเทียมสารวจทรัพยากร
(Earth observation satellites)
- ใช้เป็นสถานีเคลื่อนที่สารวจดูพื้นผิวโลกและการ
เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลก ช่วยเตือนเรื่องอุทกภัย และ
ความแห้งแล้งที่เกิดขึ้น การตัดไม้ทาลายป่า การทับถมของตะกอน
ปากแม่น้า รวมไปถึงที่มีปลาชุกชม
LANDSAT-5 spot1 MOS 1 THEOS:
Thailand Earth
Observation System)
3. ดาวเทียมสารวจทรัพยากร
(Earth observation satellites)
ไทย ร่วมมือกับ
บริษัท EADS
ASTRIUM ประเทศ
ฝรั่งเศส มีผลให้คน
ไทยได้มีโอกาสนา
ข้อมูลไปใช้ประโยชน์
ในด้านต่าง ๆ
ดาวเทียม THEOS (Thailand Earth Observation
System) เป็นดาวเทียมสารวจทรัพยากรดวงแรงของประเทศ
3. ดาวเทียมสารวจทรัพยากร
(Earth observation satellites)
สถานีรับสัญญาณดาวเทียมสารวจทรัพยากร THEOS
ตั้งอยู่ที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ
ภาพถ่ายจากดาวเทียมธีออส
เกาะภูเก็ต จากกล้องถ่ายภาพสี ค่าความชัด
15 เมตร บันทึกภาพเมื่อวันที่3 ตุลาคม 2551
เกาะพระทอง จ.พังงา บันทึกภาพ
เมื่อวันที่3 กุมภาพันธ์ 2552
3. ดาวเทียมสารวจทรัพยากร
(Earth observation satellites)
ภาพถ่ายจากดาวเทียมเทอร์รา แสดง
จุดที่เกิดไฟป่า (จุดสีแดงบนภาพ)
ดาวเทียมที่ใช้ถ่ายภาพเป็นดาวเทียมรายละเอียดปานกลาง
Terra เป็นดาวเทียมของ NASA
ใช้กล้อง MODIS ซึ่งสามารถ
ประยุกต์ในการตรวจหาจุดไฟ
ป่าที่ไหม้ในประเทศไทย โดยใช้
กระบวนการสีผสม และการ
เลือกช่วงคลื่นที่สามารถ
ตรวจวัดความร้อนในจุดภาพ
4. ดาวเทียมสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
(Astronomical satellites )
- เป็นดาวเทียมที่มีกล้องโทรทรรศน์และอุปกรณ์ดาราศาสตร์
สาหรับศึกษา สารวจ ตรวจวัด วัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ทาง
ดาราศาสตร์
- มีทั้งประเภทที่โคจรรอบโลก และประเภทที่โคจรผ่านไปใกล้
ดาวเคราะห์หรือลงสารวจดาวเคราะห์
Voyager 1 Viking 1Voyager 2
4. ดาวเทียมสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
(Astronomical satellites )
เป้าหมายหลักของยาน Voyager 1
และ 2 คือ การสารวจดาวเคราะห์ชั้นนอก
ของระบบสุริยะเพียงสองดวงคือดาว
พฤหัสบดี และดาวเสาร์ รวมทั้งดวง
จันทร์ขนาดใหญ่ของดาวเคราะห์ทั้งสอง
นอกจากนี้ยังปฏิบัติภารกิจสารวจ
ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูนโดยยอาศัย
แรงเหวี่ยงของดาวเสาร์และท้ายที่สุดให้
ยานทั้งสองลาเดินทางไปยังขอบระบบ
สุริยะ และกาแล็กซีทางช้างเผือก
Voyager 1
Voyager 2
4. ดาวเทียมสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
(Astronomical satellites )
ยาน Voyager 1 พบว่าจุดแดงใหญ่
บนดาวพฤหัสบดีนั้นมีขนาดใหญ่มากและ
เกิดจากพายุหมุนขนาดใหญ่หลายสิบลูกใน
บรรยากาศ และพบวงแหวนบางๆ และเผย
ให้เห็นสภาพทางธรณีของดวงจันทร์ที่
แตกต่างกัน
5. กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
(Hubble Space Telescope)
เป็นกล้อง
โทรทรรศน์แบบสะท้อน
แสง ถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้า
ด้วยกระจกรับแสงขนาด
ใหญ่ด้วยเลนส์ขนาด 2.4
เมตรส่องได้ไกลถึง 14,000
ล้านปีแสง (กล้องปกติ 2
ล้านปีแสง) และมีกล้องนิ
กมอส ถ่ายภาพวัตถุ
ในช่วงคลื่นใกล้อินฟราเรด
5. กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
(Hubble Space Telescope)
โคจรสูงจากพื้น
โลกประมาณ 600
กิโลเมตร โคจรรอบ
โลกทุก ๆ 96 นาที
และส่งข้อมูลถึงโลก
ภายใน 48 ชั่วโมง
5. กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
(Hubble Space Telescope)
ในระยะ 10 ปีของการ
ปฏิบัติงานในอวกาศ กล้อง
ฮับเบิลถ่ายภาพ วัตถุท้องฟ้า
นานาชนิดกว่า 12,000 รายการ
รวมจานวนมากกว่า 240,000
ภาพ โดยเฉลี่ยแล้วถ่ายภาพได้
ประมาณ 1,000 ภาพต่อเดือน มี
อายุการใช้งานนานถึง 20 ปี
ปลดระวางในปี พ.ศ. 2553
5. กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
(Hubble Space Telescope)
ส่วนกล้องโทรทรรศน์รุ่น
ที่สองคือ กล้องโทรทรรศน์
อวกาศเจมป์ เวบบ์(James
Webb Space Telescope) มี
กระจก 6.5 เมตร และวางแผน
ส่งสู่วงโคจรที่อยู่ห่างจากโลก
เป็นระยะ 1.5 ล้านกิโลเมตรในปี
ค.ศ. 2013

More Related Content

What's hot

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Similar to บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403Purinut Wongmaneeroj
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407Palm Siripakorn
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401Png Methakullachat
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402Sirawich Wuvanich
 
เทคโนโลยีอวกาศ .pptx
เทคโนโลยีอวกาศ .pptxเทคโนโลยีอวกาศ .pptx
เทคโนโลยีอวกาศ .pptxMarkChaitawat
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมNasri Sulaiman
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศSukumal Ekayodhin
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงtaioddntw
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงmayuree_jino
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 

Similar to บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ (20)

Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Start
StartStart
Start
 
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
ดาวเทียม(ภูริณัฐ+ปุญญิศา)403
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
ดาวเทียม(แววปราชญ์+สิรวิชญ์)402
 
เทคโนโลยีอวกาศ .pptx
เทคโนโลยีอวกาศ .pptxเทคโนโลยีอวกาศ .pptx
เทคโนโลยีอวกาศ .pptx
 
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
Earth system2009
Earth system2009Earth system2009
Earth system2009
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 

More from Ta Lattapol

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติTa Lattapol
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาTa Lattapol
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 

More from Ta Lattapol (10)

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ