SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
แรง (Force)
แรงหมายถึงสิ่งที่สามารถทาให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่
หรือทาให้วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือช้าลง
หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้
แรง (Force)
แรง(Force)
แรงจัดเป็นปริมาณเวกเตอร์เพราะมีทั้งขนาดและทิศทาง
หน่วยของแรงในระบบเอสไอคือ นิวตัน(N)
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
1.1การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
คือการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงที่ไปแนวเดียวกันตลอดเช่นการขับรถยนต์
อัตราเร็วความเร่งและความหน่วงในการเคลื่อนที่ของวัตถุมาเกี่ยวข้อง
อัตราเร็ว(Speed)
ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
มีหน่วยเป็นเมตร/วินาที หรือกิโลเมตร/ชั่วโมง
อัตราเร็ว(v) =ระยะทาง(s)/เวลา(t)
ตัวอย่าง(1)
รถยนต์แล่นด้วยความเร็วคงที่จากบรรพตพิสัยไปนครสวรรค์รวมระยะทาง
40 กิโลเมตร ใช้เวลา 1 ชั่วโมง รถคนนั้นนี้วิ่งด้วยอัตราเร็วเท่าไร
มีหน่วยเป็นเมตร/วินาที หรือกิโลเมตร/ชั่วโมง
อัตราเร็ว(v) = ระยะทาง(s)
เวลา(t)
อัตราเร็ว(v) = 40 กม. = 40กม./ชม.
1 ชม.
ตัวอย่าง(2)
รถยนต์แล่นด้วยความเร็วคงที่ รวมระยะทาง6 กิโลเมตร ใช้เวลา 10 นาที
รถคนนี้วิ่งด้วยอัตราเร็วเท่าไร
มีหน่วยเป็นเมตร/วินาที
หรือกิโลเมตร/ชั่วโมง
อัตราเร็ว(v) = ระยะทาง(s)
เวลา(t)
เปลี่ยนกม.เป็นเมตร1กม.= 1,000ม.
6กม.X 1,000= 6,000ม.
อัตราเร็ว(v) = 6,000 = 10ม./วินาที
600
เปลี่ยนนาทีเป็นวินาที1นาที=60วินาที
10นาทีX 60= 600 วินาที
ตัวอย่าง(3)
รถยนต์แล่นด้วยอัตราเร็วคงที่ 60กิโลเมตร/ชั่วโมง จากนครสวรรค์ ไป
พิษณุโลก รวมระยะทาง120 กิโลเมตร รถคันนี้จะใช้เวลาเดินทางเท่าไร
มีหน่วยเป็นเมตร/วินาที หรือกิโลเมตร/ชั่วโมง
อัตราเร็ว(v) = ระยะทาง(s)
เวลา(t)
อัตราเร็วเฉลี่ย
ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วย
โดยไม่ได้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่
อัตราเร็วเฉลี่ย(v) =ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่(s)/เวลาที่ใช้ไป(t)
ความเร่ง ( Acceleration)
ความเร็วของวัตถุที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา
มีหน่วยเป็นเมตร/วินาที2 (m/s2)หรือกิโลเมตร/ชั่วโมง2 (km/h2)
มีค่าเป็น+ กรณีความเร็วเพิ่มขึ้น มีค่าเป็น- กรณีความเร็วลดลง
ความเร่ง ( Acceleration)
ความเร่ง(a)= ความเร็วที่เปลี่ยนไป = v2 - v1 = v
ช่วงเวลาที่ความเร็วเปลี่ยน t2– t1 t
ตัวอย่าง รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่งจนมีความเร็วเป็น20 กม./ชม.
ในเวลา5 วินาทีรถคันนี้มีความเร่งเท่าไร
V1 = 0 V2 = 20 t1= 0 t2= 5
ความเร่ง(a)= v2 - v1 = 20 - 0 = 20 = 4 m/s2
t2– t1 5 - 0 5
ตัวอย่าง(1)
รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 36เมตร/วินาที และหยุดเมื่อถึงที่หมายโดย
ใช้เวลาหยุดรถ6 วินาทีจงหาความเร่งของรถคันนี้
V1 = 36 V2 = 0 t1= 0 t2= 6
ความเร่ง(a)= v2 - v1 = 0 -36 = -36 = -6 m/s2
t2– t1 6 - 0 6
1.2การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
ไม่ว่าเคลื่อนที่ขึ้นหรือลงจะมีแรงโน้มถ่วงมากระทาต่อวัตถุตลอดเส้นทาง
มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลกโดยมีขนาดความเร่ง(g)= 9.80665 m/s2
โดยค่าg แตกต่างกันไปตามปัจจัยต่างๆ(แต่เฉลี่ย=10 )
มวลและน้าหนัก
น้าหนักของวัตถุ คือแรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทาต่อวัตถุนั้นๆมีหน่วยเป็นนิวตัน
มวลของวัตถุคือขนาดที่แท้จริงของวัตถุมีหน่วยเป็นกิโลกรัม
โดยน้าหนัก = มวลx ค่าความเร่งจากแรงโน้มถ่วง(g)
1.3การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
1.3 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
1.4ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
แรงกิริยา - แรงปฏิกิริยา
แรงกิริยาคือแรงที่เกิดจากการกระทาโดยสิ่งใดๆเช่นการออกแรงกดโต๊ะ
น้าหนักของวัตถุก็เป็นแรงกิริยาที่โลกออกแรงดึงดูดวัตถุให้เข้าสู่ศูนย์กลางของโลก
แรงกิริยา -แรงปฏิกิริยา
แรงปฏิกิริยาคือแรงอันเนื่องมาจากแรงกริยาโดยมีทิศทางตรงกันข้ามและ
ขนาดเท่ากับแรงกริยาเสมอ
กรณีรถชนสุนัข
แรงกิริยาคือ แรงที่รถชนสุนัขจึงทาให้สุนัขกระเด็นไป
แรงปฏิกิริยาเป็นแรงที่สุนัขชนรถจึงทาให้รถบุบ
แสดงให้เห็นว่าแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาไม่สามารถหักล้างกันได้
แรงกิริยา -แรงปฏิกิริยา
แรงกิริยา -แรงปฏิกิริยา
แรงกิริยา -แรงปฏิกิริยา
แรงลอยตัว/แรงพยุง
คือแรงที่ของเหลวพยุงวัตถุไว้เมื่อวัตถุนั้นอยู่ในของเหลว
 น้าหนักของวัตถุที่ชั่งในของเหลวจะมีค่าน้อยกว่าน้าหนักของวัตถุที่ชั่งใน
อากาศเนื่องจากแรงพยุงของของเหลวมีมากกว่าแรงพยุงของอากาศ
ลักษณะของวัตถุที่อยู่ในของเหลว
ลักษณะของวัตถุที่อยู่ในของเหลว
ตัวอย่าง
เมื่อนาดินน้ามันก้อนหนึ่งแขวนด้วยเครื่องชั่งสปริงพบว่าอ่านค่าน้าหนักได้ 5.45
นิวตันแต่เมื่อไปชั่งในน้าพบว่าอ่านค่าได้4.20นิวตัน แรงพยุงที่น้ากระทาต่อดินน้ามัน
มีค่าเท่าไร
แรงพยุง= น้าหนักที่ชั่งในอากาศ- น้าหนักที่ชั่งในน้า
แรงพยุง= 5.45– 4.20 =1.25นิวตัน
เรือลอยอยู่ในน้า
แรงลอยตัวของเรือ เท่ากับ/มากกว่าน้าหนักของเรือ
ส่วนที่จมอยู่ใต้ผิวน้าเท่ากับ/มากกว่าน้าหนักของเรือ
เรือลอยอยู่ในน้า
แรงเสียดทาน
ในการออกแรงกระทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปบนพื้นจะมีแรงต้านเกิดขึ้นที่ผิวสัมผัส
 มีทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่เรียกว่าแรงเสียดทาน(friction :f)
 แบ่งเป็นแรงเสียดทานสถิต(เริ่มเคลื่อน)และแรงเสียดทานจลน์(เคลื่อนที่แล้ว)
แรงเสียดทานขึ้นอยู่กับ
น้าหนักของวัตถุ : ยิ่งน้าหนักมากแรงเสียดทานก็มากขึ้น
 พื้นที่ผิวสัมผัส: ชนิดของวัสดุ,ความเรียบความขรุขระ
 ความลาดเอียงของพื้นผิว
แรงเสียดทานขึ้นอยู่กับ
แรงเสียดทานขึ้นอยู่กับ
ตัวอย่างการลดแรงเสียดทาน
ใช้น้ามันหล่อลื่นและจาระบี
ระบบลูกปืน
การออกแบบรูปร่างของยานพาหนะให้เพรียวลมลดแรงต้าน
ทาให้พื้นมีผิวเรียบเป็นการลดแรงเสียดทานให้น้อยลงเช่นถนนลาดยาง
ตัวอย่างการเพิ่มแรงเสียดทาน
ลวดลายของยางรถยนต์ช่วยเพิ่มแรงเสียดทาน
พื้นรองเท้าที่ทาจากยางช่วยเพิ่มแรงเสียดทาน
รองเท้ากีฬามีปุ่มยางที่พื้นรองเท้าทาให้ยึดเกาะพื้นได้ดี
ตัวอย่างการลดแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
แบบฝึกหัดประจาเรื่อง
2 ชั่วโมงคิดเป็นกี่วินาที และ40 กิโลเมตรคิดเป็นกี่เมตร
รถแล่นไป100เมตรในเวลา5 วินาทีมีอัตราเร็วเฉลี่ยเท่าไร
รถคันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็วคงที่40 กิโลเมตร/ชั่วโมงในเวลา5 ชั่วโมงจะวิ่งได้
ระยะทางเท่าไร
รถสปอร์ตเร่งจากความเร็ว4 เมตร/วินาทีไปจนมีความเร็ว25 เมตร/วินาที
ในเวลา10 วินาทีรถคันนี้มีความเร่งเท่าไร
โมเมนต์ของแรง
โดยครูปินัชยา นาคจารูญ
โมเมนต์ของแรง
หมายถึงผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุเพื่อให้วัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน
มี 2 ทิศทางคือ โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา และโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา
คาน
หลักการของโมเมนต์ นามาใช้กับอุปกรณ์ที่เรียกว่าคาน(lever)
คาน เป็นเครื่องกลชนิดหนึ่งที่ใช้ดีดงัดวัตถุให้เคลื่อนที่รอบจุดหมุน
ถูกสร้างขั้นมาเผื่อผ่อนแรงในกิจกรรมต่างๆ
การหาโมเมนต์ของแรง
ผลคูณของแรงกับระยะตั้งฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน
จากภาพโมเมนต์ของแรง= E x L1 (ทวนเข็ม) และ= Wx L2 (ตามเข็ม)
สมดุลของคาน/โมเมนต์
คือผลรวมของโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา= ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
หรือฝั่งซ้ายและขวาของคานต้องมีโมเมนต์ของแรงที่เท่ากันนั่นเอง
กิจกรรม“หาจุดสมดุล”
โดยครูปินัชยา นาคจารูญ
กิจกรรม“หาจุดสมดุล”
ให้นักเรียนทาคานจาลองจากดินสอไม้บรรทัดและยางวง
โดยให้วางไม้บรรทัดลงบนบิกเกอร์โดยที่ไม้บรรทัดไม่ตกพร้อมทั้งเขียน
อธิบายว่าทาอย่างไร
กิจกรรม“หาจุดสมดุล”
1.จากคานที่สมดุลแล้วให้นักเรียนวางเหรียญ1 บาท(2 เหรียญ)ลงบนไม้
บรรทัดทั้ง2 ฝั่งโดยไม่ให้เหรียญตก พร้อมทั้งเขียนอธิบายว่าทาอย่างไร
2.ทาซ้าตามข้อ1 แต่เปลี่ยนเป็น เหรียญ1 บาทกับเหรียญ10 บาทลงบนไม้
บรรทัดทั้ง2 ฝั่งโดยไม่ให้เหรียญตก พร้อมทั้งเขียนอธิบายว่าทาอย่างไร
ตัวอย่างการหาโมเมนต์ของแรง
ช่าง ใช้แรง200N ที่ปลายประแจขันน๊อตยาว20 cm จะมีโมเมนต์ที่
กระทาต่อน๊อตเท่าไร
จากภาพต้องให้ระยะห่างจากจุดหมุนของแรง1 เป็นเท่าไรถึงจะสมดุล
ตัวอย่างการหาโมเมนต์ของแรง
จากภาพคานนี้สมดุลหรือไม่จงอธิบาย
ตัวอย่างการหาโมเมนต์ของแรง
ต้องนาวัตถุหนัก16 นิวตันแขวนไว้ที่ใดคานจึงสมดุล
ส่วนประกอบของคาน
จุดหมุนหรือจุดฟัลกรัม(Fulcrum)F
แรงความต้านทาน(W)หรือน้าหนักของวัตถุ
แรงความพยายาม(E)หรือแรงที่กระทาต่อคาน
การจาแนกคาน
คานอันดับที่1
เป็นคานที่มีจุด(F)อยู่ระหว่างแรงความพยายาม(E)และแรงความต้านทาน(W)
เช่นกรรไกรตัดผ้ากรรไกรตัดเล็บ คีมตัดลวด เรือแจว ไม้กระดกเป็นต้น
คานอันดับที่2
มีแรงความต้านทาน(W)อยู่ระหว่างแรงความพยายาม(E)และจุดหมุน(F)
เช่นที่เปิดขวดน้าอัดลมรถเข็นทรายที่ตัดกระดาษเป็นต้น
คานอันดับที่2
คานอันดับที่3
มีแรงความพยายาม(E)อยู่ระหว่างแรงความต้านทาน(W)และจุดหมุน(F)
เช่นตะเกียบ คีมคีบถ่าน แหนบเป็นต้น
คานอันดับที่3

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานkrulef1805
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 

More from Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 

More from Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 

บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่