SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แรงดึงดูดระหว่างมวล
ครูตอเหลบ ปอหรา
รายวิชาฟิสิกส์1 รหัสวิชา ว30201
โรงเรียนท่าแพผดุงวิทย์ จ.สตูล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต16
𝒎 𝟏
วัตถุทั่งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูด
ระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆจะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสอง
และจะแปรผกผันกับกาลังสองชองระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสองนั่น”
𝑟
𝐹
นิวตันได้ทาการศึกษาแรงดึงดูดระหว่างมวลของวัตถุ
และสรุปได้ว่า
𝒎 𝟐
𝐹 =
𝐺𝑚1 𝑚2
𝑟2
แรงดึงดูดระหว่างมวล
• F คือ แรงดึงดูดระหว่างมวล
• G คือ ค่าคงที่ของการดึงดูด
• m1 คือ มวลของวัตถุก้อนที่ 1
• m1 คือ มวลของวัตถุก้อนที่ 2
• r คือ ระยะห่างระหว่างมวลของวัตถุทั้งสอง
แรงดึงดูดระหว่างมวล คือ แรงที่เกิดขึ้นโดยมวลพยายามดึงดูดซึ่ง
กันและกัน
𝑚1
𝑚2
𝑟
𝐺 = 6.67 × 10−11 𝑁𝑚2/𝑘𝑔2
𝐹
น้าหนัก
ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
𝑚1 คือ มวลของโลก
𝑚2 คือ มวลของวัตถุที่ชั่ง
𝑊 = 𝑚2 𝑔 คือ น้าหนักของวัตถุ
แรงดึงดูดระหว่างมวล
𝑊 = 𝐹 =
𝐺𝑚1 𝑚2
𝑅2
𝑔 =
𝐺𝑚1
𝑅2
= 9.8 𝑚/𝑠2
ตัวเลขที่วัดได้บนตาชั่ง คือ มวลของวัตถุ (kg) ไม่ใช่ น้าหนัก (N)
𝑅 คือ รัศมีของโลก
แรงดึงดูดระหว่างมวลของโมเลกุลชนิดเดียวกัน (Cohesion force) คือ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวชนิดเดียวกันแรงนี้
สามารถรับความเค้นดึง (tensile stress) ได้เล็กน้อย
• น้้าที่เป็นของเหลวในแก้วน้้าเดียวกัน
• เหล็กที่ยังเป็นของแข็งไม่แยกจากกัน
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน (Adhesion force) คือ แรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับสารชนิดอื่น เช่น น้้ากับแก้ว
ปรอทกับแก้ว เป็นต้น
– หยดน้้าฝนบนกระจกหน้ารถ เวลาเราขับรถกลางฝน
– หยดน้้ามันบนผิวน้้าที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน
แรงดึงดูดระหว่างมวล
ตัวอย่าง นายหน่อลุมีมวล 40 กิโลกรัม น้องใหม่ดาวิกา มี
มวล 40 กิโลกรัม เท่ากันถ้าทั้งคู่อยู่ห่างกัน 1 เมตร
ทั้งคู่จะมีแรงดึงดูดระหว่างมวลเท่าไร
F =
𝐺(40𝑘𝑔)(40𝑘𝑔)
1 m 2
=
= 10,672 x 10−11
N
= 1.07 𝐱 𝟏𝟎−𝟕 𝐍
(6.67 × 10−11
Nm2
/kg2
) (1600 kg2 )
แรงดึงดูดระหว่างนักศึกษาที่มีมวล 45 กิโลกรัม ที่ยืนที่ผิวโลกกับ
โลกมีค่าเท่าไร? โดยให้โลกมีมวล 5.98 x 1024 กิโลกรัม และมีรัศมี
ประมาณ 6,378 กิโลเมตร
mW = 45 kg
ME = 5.98 x 1024 kg
RE = 6,378 km
G = 6.67 × 10−11 Nm2/kg2
ตัวอย่าง
F =
𝐺(45𝑘𝑔)(5.98x1024 𝑘𝑔)
6,378x103m 2
=
1,794.89 x 10 𝟕
6,378 m 2 N
= 441.23 𝐍
G = 6.67 × 10−11 Nm2/kg2
ตัวอย่าง
จึงได้ R2 =
𝐺𝑚 𝐸
𝑔
4
=
𝟒 6.67 x 10−𝟏𝟏 𝟓.𝟗𝟖 x 10 𝟕
9.8
=
1,595.4 x 10 𝟏𝟐
9.8
R =
12.75 x 106
𝑚 (ระยะนี้คือระยะจากดาวเทียมไปถึงศูนย์กลางโลก)
ดังนั้น ดาวเทียมอยู่สูงจากผิวโลกเท่ากับ (12.75 x 106 - 6.4 x 106) = 6.4 x 106m
ดาวเทียมดวงหนึ่งจะต้องโครจรสูงจากผิวโลกเท่าไร จึงจะทา
ให้ความเร่งเนื่องจากสนามโน้มถ่วงลดลง เหลือ 1 ใน 4 ของ
ที่ผิวโลก เมื่อรัศมีของโลกเท่ากับ 6.4x106 m
จากสมการ 𝑊 = 𝐹 =
𝐺𝑚1 𝑚2
𝑅2
ตัวอย่าง
จะได้ว่า 𝑔 =
𝐺𝑚1
𝑅2
=
6.67 x 10−𝟏𝟏Nm2/kg2 6 x 10 𝟐𝟒 𝒌𝒈
(10,000 x 10 𝟑 𝑚)2
= 40.02 x 10−𝟏 m/s2 = 4 m/s2
จากสมการ 𝑊 = 𝐹 =
𝐺𝑚1 𝑚2
𝑅2
G = 6.67 × 10−11 Nm2/kg2
ขั้นต่อไปให้นักเรียน
ทาแบบฝึกทบทวนความเข้าใจ
นะครับ

More Related Content

What's hot

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxsathanpromda
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 

Similar to แรงดึงดูดระหว่างมวล2560

แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานkrulef1805
 
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56krupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน krupornpana55
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 

Similar to แรงดึงดูดระหว่างมวล2560 (9)

แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction Sci31101 force-friction
Sci31101 force-friction
 

แรงดึงดูดระหว่างมวล2560

  • 1. แรงดึงดูดระหว่างมวล ครูตอเหลบ ปอหรา รายวิชาฟิสิกส์1 รหัสวิชา ว30201 โรงเรียนท่าแพผดุงวิทย์ จ.สตูล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต16
  • 2. 𝒎 𝟏 วัตถุทั่งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูด ระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆจะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสอง และจะแปรผกผันกับกาลังสองชองระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสองนั่น” 𝑟 𝐹 นิวตันได้ทาการศึกษาแรงดึงดูดระหว่างมวลของวัตถุ และสรุปได้ว่า 𝒎 𝟐
  • 3. 𝐹 = 𝐺𝑚1 𝑚2 𝑟2 แรงดึงดูดระหว่างมวล • F คือ แรงดึงดูดระหว่างมวล • G คือ ค่าคงที่ของการดึงดูด • m1 คือ มวลของวัตถุก้อนที่ 1 • m1 คือ มวลของวัตถุก้อนที่ 2 • r คือ ระยะห่างระหว่างมวลของวัตถุทั้งสอง แรงดึงดูดระหว่างมวล คือ แรงที่เกิดขึ้นโดยมวลพยายามดึงดูดซึ่ง กันและกัน 𝑚1 𝑚2 𝑟 𝐺 = 6.67 × 10−11 𝑁𝑚2/𝑘𝑔2 𝐹
  • 4. น้าหนัก ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก 𝑚1 คือ มวลของโลก 𝑚2 คือ มวลของวัตถุที่ชั่ง 𝑊 = 𝑚2 𝑔 คือ น้าหนักของวัตถุ แรงดึงดูดระหว่างมวล 𝑊 = 𝐹 = 𝐺𝑚1 𝑚2 𝑅2 𝑔 = 𝐺𝑚1 𝑅2 = 9.8 𝑚/𝑠2 ตัวเลขที่วัดได้บนตาชั่ง คือ มวลของวัตถุ (kg) ไม่ใช่ น้าหนัก (N) 𝑅 คือ รัศมีของโลก
  • 5. แรงดึงดูดระหว่างมวลของโมเลกุลชนิดเดียวกัน (Cohesion force) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวชนิดเดียวกันแรงนี้ สามารถรับความเค้นดึง (tensile stress) ได้เล็กน้อย • น้้าที่เป็นของเหลวในแก้วน้้าเดียวกัน • เหล็กที่ยังเป็นของแข็งไม่แยกจากกัน แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลต่างชนิดกัน (Adhesion force) คือ แรงยึด เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับสารชนิดอื่น เช่น น้้ากับแก้ว ปรอทกับแก้ว เป็นต้น – หยดน้้าฝนบนกระจกหน้ารถ เวลาเราขับรถกลางฝน – หยดน้้ามันบนผิวน้้าที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน แรงดึงดูดระหว่างมวล
  • 6. ตัวอย่าง นายหน่อลุมีมวล 40 กิโลกรัม น้องใหม่ดาวิกา มี มวล 40 กิโลกรัม เท่ากันถ้าทั้งคู่อยู่ห่างกัน 1 เมตร ทั้งคู่จะมีแรงดึงดูดระหว่างมวลเท่าไร F = 𝐺(40𝑘𝑔)(40𝑘𝑔) 1 m 2 = = 10,672 x 10−11 N = 1.07 𝐱 𝟏𝟎−𝟕 𝐍 (6.67 × 10−11 Nm2 /kg2 ) (1600 kg2 )
  • 7. แรงดึงดูดระหว่างนักศึกษาที่มีมวล 45 กิโลกรัม ที่ยืนที่ผิวโลกกับ โลกมีค่าเท่าไร? โดยให้โลกมีมวล 5.98 x 1024 กิโลกรัม และมีรัศมี ประมาณ 6,378 กิโลเมตร mW = 45 kg ME = 5.98 x 1024 kg RE = 6,378 km G = 6.67 × 10−11 Nm2/kg2 ตัวอย่าง F = 𝐺(45𝑘𝑔)(5.98x1024 𝑘𝑔) 6,378x103m 2 = 1,794.89 x 10 𝟕 6,378 m 2 N = 441.23 𝐍
  • 8. G = 6.67 × 10−11 Nm2/kg2 ตัวอย่าง จึงได้ R2 = 𝐺𝑚 𝐸 𝑔 4 = 𝟒 6.67 x 10−𝟏𝟏 𝟓.𝟗𝟖 x 10 𝟕 9.8 = 1,595.4 x 10 𝟏𝟐 9.8 R = 12.75 x 106 𝑚 (ระยะนี้คือระยะจากดาวเทียมไปถึงศูนย์กลางโลก) ดังนั้น ดาวเทียมอยู่สูงจากผิวโลกเท่ากับ (12.75 x 106 - 6.4 x 106) = 6.4 x 106m ดาวเทียมดวงหนึ่งจะต้องโครจรสูงจากผิวโลกเท่าไร จึงจะทา ให้ความเร่งเนื่องจากสนามโน้มถ่วงลดลง เหลือ 1 ใน 4 ของ ที่ผิวโลก เมื่อรัศมีของโลกเท่ากับ 6.4x106 m จากสมการ 𝑊 = 𝐹 = 𝐺𝑚1 𝑚2 𝑅2
  • 9. ตัวอย่าง จะได้ว่า 𝑔 = 𝐺𝑚1 𝑅2 = 6.67 x 10−𝟏𝟏Nm2/kg2 6 x 10 𝟐𝟒 𝒌𝒈 (10,000 x 10 𝟑 𝑚)2 = 40.02 x 10−𝟏 m/s2 = 4 m/s2 จากสมการ 𝑊 = 𝐹 = 𝐺𝑚1 𝑚2 𝑅2 G = 6.67 × 10−11 Nm2/kg2