SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
หนา ๓
                                                                                                       ้

                                        ส่ วนที่ ๑
                                              4




                  คานํา สารบัญ และตารางสรุปผลการประเมินตนเองรายตวบ่งชี้
                  4ํ                                            ั



คํานํา
4




         มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการประกัน
คุณภาพการศึกษาและถื อว่าเป็ นหัว ใจสําคัญ และเป็ นนโยบายหลักของวิทยาลย ในการขับเคลื่อนการมีการ
                                                                               ั
ดาเนินงานที่มีคุณภาพในทุกพันธกิจ เริ่ มตั้งแต่การผลิตบัณฑิต การวิจย การส่งเสริ มพระพุทธศาสนาและบริ การ
  ํ                                                               ั
วิชาการแก่สงคม ตลอดจนการทํานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
             ั                   ํ
         รายงานการประเมินตนเอง (Self AssessmentReport)ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๔ (๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ –
๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕) ฉบับนี้จดทําขึ้นเพื่อรวบรวม และนําเสนอข้อมูลผลการดําเนินงานตามภารกิจด้านต่างๆ
                              ั
ของวิทยาลัย ตามเกณฑ์มาตรฐานของตัวบ่ งชี้ ต่างๆ ที่กาหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
                                                      ํ
จํานวน ๔๑ ตวบ่งช้ ี
               ั
         ในการจัดทํารายงานการประเมินตนเองประจําปี การศึกษา ๒๕๕๔ สาหรับใชในการตรวจสอบและ
                                                                            ํ       ้
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนากลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้
เพื่อให้ได้ผลการประเมิน ตรงตามความเป็ นจริ งมากที่ สุด เพื่อจะได้น ําผลการประเมิ นไปปรั บปรุ งแผนงาน
โครงการ และกิจกรรมต่อไป




                                     พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี
                                     ผอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย
                                      ู้ ํ




                                                            รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๔
                                                                                                     ้

                                             สารบัญ

                                                                                             หนา
                                                                                               ้
ส่ วนที่ ๑ คํานํา สารบัญ และตารางสรุ ปผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้
              4




            คํานํา                                                                               ๓
            สารบญ                  ั                                                             ๔
         4  ตารางสรุ ปผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้
                                                4                                                ๕
ส่ วนที่ ๒ ข้ อมูลเบืองต้นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาสงฆ์เลย
                                     ้                                                           ๘
            ๒.๑ ประวัติความเป็ นมาและสภาพปัจจุบน    ั                                            ๘
            ๒.๒ ปรัชญา ปณิ ธาน วิสยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์
                                          ั                                                      ๑๑
            ๒.๓ โครงสร้างการบริ หารงาน                                                           ๑๔
            ๒.๔ ข้อมูลพื้นฐานด้านกายภาพ                                                          ๑๖
            ๒.๕ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา                                                         ๒๐
ส่ วนที่ ๓ ผลการดําเนินงาน และ ผลการประเมินคุณภาพ เทียบกับเกณฑ์และเทียบกับ
           เปาหมายในรอบปี ปั จจุบัน ตามตัวบ่ งชี้ในแต่ละองค์ประกอบ
             ้                                                                                   ๒๐
            องคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการดําเนินการ
                 ์                                                                               ๒๑
            องคประกอบที่ ๒ การเรี ยนการสอน
                   ์                                                                             ๒๘
            องคประกอบที่ ๓ กิจกรรมการพฒนานิสิต
                     ์                      ั                                                    ๔๘
            องคประกอบที่ ๔ การวิจย
                       ์                ั                                                        ๕๓
            องคประกอบที่ ๕ การบริ การทางวิชาการแก่สงคม
                               ์                        ั                                        ๖๐
            องค์ประกอบที่ ๖ การทานุบารุงศิลปวฒนธรรม
                                       ํ ํ        ั                                              ๖๗
            องคประกอบที่ ๗ การบริ หารและการจัดการ
                             ์                                                                   ๗๒
            องคประกอบที่ ๘ การเงินและงบประมาณ
                           ์                                                                     ๘๒
            องคประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
                         ์                                                                       ๘๖
ส่วนที่ ๔ สรุ ปผลการประเมินและทิศทางการพัฒนา                                                     ๙๐
ส่วนที่ ๕ ภาคผนวก                                                                                ๙๗
            คําสังแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลยสงฆเ์ ลย
                                 ่                                 ั                             ๙๘
            ตารางคํานวน FTES ปี ๒๕๕๔ (ปี การศึกษาและปี งบประมาณ)                                 ๙๙




                                                          รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๕
                                                                                                                       ้

  ตารางสรุปผลการประเมนตนเอง : รายองค์ประกอบ
                     ิ

   องคประกอบ  ์                                                              คะแนนการประเมิน คะแนนการประเมิน
                                     เป้ าหมาย            ผลการดําเนินงาน
            คุณภาพ                                                            (ตามเกณฑ์ มจร.) (ตามเกณฑ์ สกอ.)
องค์ประกอบที่ ๑
  -ตวบ่งช้ ีที่ ๑.๑
    ั                                 ๖ ขอ
                                         ้                      ๘                      ๕                        ๕
  -ตวบ่งช้ ีที่ ๑.๒
      ั                         ไม่รับการประเมิน                 -                     -                        -
  -ตวบ่งช้ ีที่ ๑.๓
        ั                        ๓.๕๑ คะแนน                    ๓.๙๖                    ๕
  -ตวบ่งช้ ีที่ ๑.๔
          ั                     ไม่รับการประเมิน                 -                     -                         -

คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๑     ่                                                       ๕.๐๐                    ๕.๐๐
องค์ประกอบที่ ๒
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑
    ั                                  ๔ ขอ         ้           ๕                     ๔                        ๔
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๒
      ั                         ร้อยละ๒๒/๔.๕๐                 ๑๓.๘๙                   ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๓
        ั                          ร้อยละ๔๕/๙                 ๒.๔๘                  ๑.๐๓                      ๑.๐๓
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๔
          ั                            ๕ ขอ       ้             ๗                     ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๕
            ั                          ๖ ขอ
                                          ้                     ๗                     ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๖
                ั                      ๖ ขอ ้                   ๗                     ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๗
              ั                        ๔ ขอ     ้               ๕                     ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๘ั                    ๔ ขอ   ้                 ๕                     ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๙  ั               ร้อยละ ๘๐                 ๘๗.๕                  ๔.๓๘                        -
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑๐   ั           ๓.๕๑ คะแนน                   ๑๔๗                    ๕                         -
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑๑     ั       ไม่รับการประเมน       ิ         -                     -                         -
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑๒       ั     ไม่รับการประเมิน                -                     -                         -
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑๓         ั          ๔.๕๐                   ๒.๖๗                  ๒.๒๒                        -

คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๒
            ่                                                                        ๔.๒๔                     ๔.๓๘
องค์ประกอบที่ ๓
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๓.๑
    ั                     ๖ ขอ
                             ้                                  ๗                      ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๓.๒
      ั                   ๕ ขอ ้                                ๖                      ๕                        ๕

คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๓
         ่                                                                           ๕.๐๐                     ๕.๐๐


                                                                            รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๖
                                                                                                        ้

                องค์ประกอบ                                          คะแนนการประเมน คะแนนการประเมน
                                                                                   ิ               ิ
                                 เปาหมาย
                                   ้             ผลการดําเนินงาน
                  คุณภาพ                                             (ตามเกณฑ์ มจร.) (ตามเกณฑ์ สกอ.)
องค์ประกอบที่ ๔
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๑
    ั                               ๖ ขอ
                                       ้               ๕                     ๓                         ๓
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๒
      ั                            ๔ ขอ  ้             ๑                     ๑                         ๑
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๓
        ั                        ๒๐,๐๐๐             ๘๑๓๘.๕                 ๑.๖๓                      ๑.๖๓
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๔
          ั                      ร้อยละ ๘            ๒.๐๘                  ๑.๖๓
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๕
            ั                    ร้อยละ ๑๕           ๑๖.๖๗                 ๔.๑๗
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๖
              ั                   ร้อยละ๘              ๐                     ๐
คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๔
                ่                                                           ๒.๑๗                     ๑.๘๘
องค์ประกอบที่ ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๑
    ั                               ๔ ขอ   ้           ๕                      ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๒
              ั                     ๔ ขอ ้             ๕                      ๕                        ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๓
      ั                         ร้อยละ ๒๒              ๘๐                     ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๔
        ั                           ๔ ขอ
                                       ้               ๓                      ๓
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๕
          ั                   ไม่รับการประเมิน          -                     -
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๖
            ั                 ไม่รับการประเมิน          -                     -
คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๕
                      ่                                                     ๔.๕๐                     ๕.๐๐
องค์ประกอบที่ ๖
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๖.๑
    ั                              ๔ ขอ   ้            ๕                     ๕                         ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๖.๒
        ั                          ๔ ขอ ้              ๔                     ๔
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๖.๓
          ั                        ๔ ขอ
                                      ้                ๕                     ๕
คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๖
                        ่                                                   ๔.๖๗                     ๕.๐๐
องค์ประกอบที่ ๗
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๑
      ั                             ๖ ขอ
                                       ้               ๗                     ๕                         ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๒
              ั                     ๔ ขอ     ้         ๕                     ๕                         ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๓
                ั                   ๔ ขอ   ้           ๕                     ๕                         ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๔ั                 ๕ ขอ ้             ๖                     ๕                         ๕
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๕  ั         ไม่รับการประเมิน         -                      -
 -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๖
            ั                  ๓.๕๑ คะแนน              ๔                     ๔
คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๗ ่                                                 ๔.๘๙                     ๕.๐๐

                                                             รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๗
                                                                                                           ้


     องค์ประกอบ                                                  คะแนนการประเมน คะแนนการประเมน
                                                                                ิ               ิ
                                เปาหมาย
                                  ้           ผลการดําเนินงาน
        คุณภาพ                                                    (ตามเกณฑ์ มจร.) (ตามเกณฑ์ สกอ.)
องคประกอบที่ ๘
   ์
 - ตวบ่งช้ ีที่ ๘.๑
      ั                          ๖ ขอ
                                    ้               ๗                     ๕                        ๕


                  คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๘
                           ่                                            ๕.๐๐                      ๕.๐๐
องคประกอบที่ ๙
   ์
 - ตวบ่งช้ ีที่ ๙.๑
     ั                           ๘ ขอ
                                    ้               ๙                     ๕                         ๕


                      คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๙
                               ่                                        ๕.๐๐                      ๕.๐๐

                         รวมทุกองค์ประกอบ                                ๔.๒๐                    ๔.๒๓
                                                                         บรรลุ                    ๒๗
                           ตวชี้วด ๔๑ ตว
                            ั ั        ั                                ไม่บรรลุ                   ๗
                                                                   รับการประเมน  ิ                ๓๔
                                                                  ไม่ รับการประเมิน                ๗




                                                                รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๘
                                                                                                     ้


                                            ส่ วนที่ ๒
                              ข้อมูลเบื้องต้นของวิทยาลัยสงฆ์เลย



ชื่อหน่ วยงาน
         มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย

ที่ต้ง
     ั
         เลขที่ ๑๑๙ หมู่ที่ ๕ ตาบลศรี สองรัก อาเภอเมือง จังหวัดเลย รหัสไปรษณี ย ์ ๔๒๑๐๐
                               ํ              ํ
         โทรศพท/์ โทรสาร ๐๔๒-๘๐๑๒๐๓,๘๐๑๒๖๘
                ั
         Website : http://www.loei2@mcu.ac.th
         E-mail Song2516@hotmail.com

ประวัตความเป็ นมา และสภาพปัจจุบน
      ิ                        ั

๑.๑ ประวตและความเป็นมาของวทยาลัยสงฆ์เลย
        ั ิ               ิ
           มหาวิ ท ยาล ัย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาล ัย มหาวิ ท ยาล ัย สงฆ์แ ห่ งคณะสงฆ์ ไ ทย เป็ น
สถาบันการศึกษาชั้นสูงของคณะสงฆ์ ซึ่ งสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า สมเด็จพระปรมินทร์ รมหา
จุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหวได้ทรงสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ มีชื่อเดิมว่า "มหาธาตุวิทยาลัย"
                                  ่ ั
และมีพระบรมราชโองการเปลี่ยนนามใหม่ว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย" เมื่อ วันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ.
๒๔๓๙ โดยมีพระราชประสงค์จะให้เป็ นอนุสรณ์เฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์สืบไป
         เพื่อสื บสานพระราชปณิ ธานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้านการพัฒนาบุคลากร
ของประเทศให้มีความรู ้ ความเข้าใจวิชาการด้านพระพุทธศาสนา สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน
มีความสามารถในการรักษา และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มีความมันคงยิงขึ้น พระพิมลธรรม ( ช้อย ฐานทัต
                                                              ่ ่
ตมหาเถร) อธิ บดี สงฆ์ว ดมหาธาตุ ยุวราชรังสฤษฏ์ ในสมัยนั้นจึงจัดประชุ มพระเถรานุ เถระฝ่ ายมหานิ กาย
                        ั
จํานวน ๕๗ รู ป เมื่อวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และประกาศให้มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดําเนิ นการ
จดการศึกษาพระไตรปิ ฎกและวิชาชั้นสูงในระดับมหาวิทยาลัย เปิ ดสอนระดับปริ ญญาตรี คณะพุทธศาสตร์
  ั
เป็ นคณะแรกเมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และมีพฒนาการตามลําดับ
                                                     ั
         ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ เริ่ มขยายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปยังส่วนภูมิภาค เริ่ มตั้งวิทยาเขตแห่ ง
แรกที่ จังหวัดหนองคาย และได้ขยายไปยังจังหวัดอื่น ๆ ที่มีความพร้อมด้านบุคลากร งบประมาณ อาคาร
สถานที่ ปัจจุบนมหาวิทยาลัยมีวิทยาเขตในกํากับดูแลทัวประเทศ ๑๐ แห่ ง ในส่ วนของวิทยาสงฆ์เลย จัดตั้ง
                 ั                                ่
                                                               รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๙
                                                                                                               ้

เมื่อวันที่ ๒๗ สิ งหาคม ๒๕๔๑ การประชุมคร้ ั งที่๘/๒๕๔๑ ของสภามหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราช
วิทยาลัยให้ยกฐานะศูนย์การศึกษาเลยเป็ นวิทยาลัยสงฆ์จงหวัดเลย ั
           ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ รัฐบาล โดยการนําของ ฯพณฯ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ได้ดาเนินการ เสนอร่ าง
                                                                                      ํ
พระราชบัญญัติก าหนดวิ ทยฐานะ ผูสาเร็ จวิชาการพระพุทธศาสนา โดยรัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบ และ
                        ํ               ้ ํ
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงลงพระปรมาภิ ไธย แล้ว ประกาศใช้เป็ นกฎหมายตั้งแต่ ว น ที่ ๒๗  ั
กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็ นต้นมา มีผลทําให้ผสาเร็ จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
                                                       ู้ ํ
มีศกดิ์ และสิ ทธิ์แห่ งปริ ญญา เช่น เดียวกับผูสาเร็ จการศึกษาในระดับเดียวกันจากสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่รัฐ
     ั                                            ้ ํ
ให้การรับรอง
           พระเดชพระคุณพระสุ นทรปริ ยติเมธี (พระมหาพรหมา จนฺ ทโสภโณ)๑ เจ้าคณะจังหวัดเลย ได้ปรารภ
                                                ั
ที่จะดําเนินการพัฒนาขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสําหรับคณะสงฆ์จงหวัดเลย โดยมีความ
                                                                                   ั
ประสงค์ที่จะให้ภิกษุและสามเณรทั้งในเขตจังหวัดเลย จังหวัดใกล้เคียง และมาจากจังหวัดอื่นได้ศึกษาเล่า
เรี ยนวิชาการช้ ัน สูง โดยเน้น ให้ศึก ษาเข ้าใจวิชาการด ้านพระพุท ธศาสนาและศาสตร์ แขนงอื่น ๆ ที่จ ัด
การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่นอกเหนื อจากการศึกษาพระปริ ยติธรรมแผนกธรรม-บาลี ที่จดการศึกษาอยู่
                                                                 ั                        ั
แล้วให้กว้างขวางยิงขึ้น   ่
           เมื่อคราวประชุ มเมื่อวันที่ ๕ สิ งหาคม ๒๕๓๗ สภาสงฆ์จงหวัดโดยมีพระเดชพระคุณพระสุ นทร
                                                                     ั
ปริ ยติเมธี เจ้าคณะจังหวัดเลย เป็ นองค์ประธาน มีมติเห็นชอบให้ดาเนินการขออนุ มติจากวิทยาเขตขอนแก่น
       ั                                                           ํ             ั
เพื่อขยายห้องเรี ยน หลักสู ตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน วิชาเอกการสอนภาษาไทย
โดยให้มีการจัดการศึกษาขึ้นที่วดศรี วิชยวนาราม อําเภอเมือง จังหวัดเลย การบริ หารงานภายใต้สังกัดวิทยา
                                    ั       ั
เขตขอนแก่น
           เมื่ อวัน ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติ ให้สภาสงฆ์
จังหวัดเลยจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ และให้นิสิตรุ่ นแรกจํานวน ๓๘ รู ป เดิ นทางไปเรี ยนที่คณะครุ
ศาสตร์ วิทยาเขตขอนแก่น
           เมื่ อวันที่ ๒๒ กุมภาพน ธ์ ๒๕๓๙ สภามหาวิ ทยาลัยมี มติ อนุ มติ ให้วิทยาเขตขอนแก่ นจัดตั้งศูน ย์
                                  ั                                      ั
การศึกษาขึ้ นที่ วดศรี วิชยวนาราม ตําบลกุดป่ อง อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระเดชพระคุณพระสุ นทร
                      ั      ั
ปริ ยติเมธี (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) เป็ นผูช่วยอธิการบดีประจําศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
         ั                                    ้
วิทยาลัยจังหวัดเลยเป็ นรู ปแรก
           เมื่อวันที่ ๒๗ สิ งหาคม ๒๕๔๑ สภามหาวิทยาลัยมีมติให้ยกฐานะศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจังหวัดเลยขึ้นเป็ น “วทยาลยสงฆ์เลย”
                                                      ิ ั

การก่อสร้ างวิทยาลัยสงฆ์ เลยแห่งใหม่ (จากศรีวชัยสู่ ศรีสองรัก)
                                                 ิ
          เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๘ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร รองผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย พร้อมด้วยคณะ
                                                                  ้ํ
ผูบ ริ ห ารในขณะนั้น ได้ด ํา เนิ น การจัด หาพื้ น ที่ ที่เ หมาะสมเพื่อ จัด สร้ า งวิ ทยาลัย สงฆ์เ ลยแห่ ง ใหม่เ พื่ อ
  ้

                                                                        รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๐
                                                                                                     ้

ตอบสนองความต้องการการขยายตัวของนิ สิต/นักศึกษาของวิทยาลัยสงฆ์เลยซึ่ งนับวันจะเพิ่มมากขึ้น โดย
คณะผูบริ หารได้ดาเนิ นการติดต่อประสานงานขอใช้ที่ดินบริ เวณป่ าโคกใหญ่ (โซน-อี) หมู่ที่ ๕ ตาบลศรีสอง
        ้                ํ                                                                     ํ
รัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ต่อสํานักงานสํานักงานปฏิรูปที่ดิน (สปก.-๔๐๑) จังหวัดเลย
           เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙ ที่ ประชุ มคณะกรรมการปฏิรู ปที่ ดิน จังหวัดเลย โดยมีผูว่าราชการ
                                                                                                 ้
จังหวัดเลยเป็ นประธาน ได้มีมติเห็นชอบให้วิทยาลัยสงฆ์เลยใช้พ้ืนที่ดินเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่ง
ต้งอยหม่ที่ ๕ ตําบลศรี สองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีเนื้ อที่ ๕๐ ไร่ ๓ งาน ๗๖ ตารางวา ระยะห่ างจาก
  ั ู่ ู
กม.ศูนย์ ๑๓ กิ โลเมตร โดยมี นายธงชัย สิ งอุดม หัวหน้าฝ่ ายบริ หารงานทั่วไป เป็ นผูเ้ สนอขอใช้ที่ดินเพื่อ
ก่อสร้างวิทยาลัยสงฆ์เลยแห่ งใหม่ และสํานักงานปฏิรูปที่ ดินจังหวัดเลย ได้ส่งหนังสื อเสนอขอใช้ที่ดินต่อ
สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
           เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ คราวประชุมคร้ ังที่ ๓/๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ ดินเพื่อเกษตรกรรม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุ งเทพมหานคร มีมติอนุ มติให้วิทยาลัยสงฆ์เลยใช้ที่ดิ นเพื่อการก่ อสร้าง
                                                             ั
วิทยาลัยสงฆ์เลยแห่ งใหม่ โดยมีพระมหาลิขิต รตนรํสี รองผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย และ ผศ.ดร.ประชา
                                                            ้ํ
รัชต์ โพธิประชา เข้าร่ วมประชุมชี้แจงเหตุผลการขอใช้ที่ดิน
           เมื่อวันที่ ๔ ธนวาคม ๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                            ั
ได้ออกหนังสื ออนุ ญาตให้วิทยาลัยสงฆ์เลยใช้ที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูป
ที่ดิน ที่ ๔๐๗/๒๕๕๑ ซ่ึงต้งอยเู่ ลขที่ ๑๑๙ หมู่ ๕ ตําบลศรี สองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย
                                  ั
           เมื่อปี ๒๕๕๒ วิทยาลัยสงฆ์เลยได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรี ยนวิทยาลัยสงฆ์เลย ณ พื้นที่
แห่งใหม่น้ ี ในวงเงิน ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยได้รับความเมตตาอนุ เคราะห์จากเจ้าประคุ ณสมเด็จพระพุฒา
จารย์ ประธานคณะผูปฏิบติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ได้ประทานอนุ ญาตให้ใช้ชื่ออาคารเรี ยนว่า “อาคาร
                           ้ ั
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกียว อุปเสโณ)” การก่อสร้างอาคารเรี ยนได้เริ่ มตั้งแต่วนที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ –
                                ่                                              ั
๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓
           เมื่ อวัน ที่ ๑๕ มิ ถุน ายน ๒๕๕๓ วิทยาลยสงฆ์เลยได ้ทาการยายจากว ด ศรี วิชัยวนาราม มาต้ ัง ณ
                                                   ั                ํ     ้      ั
สํานักงานใหม่ เลขที่ ๑๑๙ หมู่ ๕ ตําบลศรี สองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เป็ นการถาวร โดยมีวตถุประสงค์
                                                                                             ั
เพื่อขยายโอกาสทางการศึก ษา เพื่อสนองนโยบายของรั ฐบาลและคณะสงฆ์ในการกระจายโอกาสทาง
การศึกษาให้ทวถึงแก่พระภิกษุสามเณรและประชาชนทัวไปในท้องถิน
                   ่ั                                   ่             ่

ผ้บริหารวทยาลยสงฆ์เลย อดีต-ปัจจบัน
  ู      ิ ั                        ุ
        ๑. พระสุ นทรปริ ยติเมธี (พรหมา จนฺ ทโสภโณ ป.ธ.๕,พธ.ม. (กิตติมศักดิ์),ศศ.ด.
                             ั
         (กิตติมศักดิ์) ผูช่วยอธิการบดี ประจําศูนย์การศึกษาวัดศรี วิชยวนาราม (พ.ศ. ๒๕๓๙-๒๕๔๑)
                          ้                                          ั
        ๒. พระรัตนกวี (เสาร์ อภินนฺ โท ป.ธ. ๗,พธ.บ.) รักษาการผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย
                                                                    ้ํ
         (พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๒)
        ๓. พระสุ วรรณธีราจารย์ (มูลตรี มหพฺพโล ป.ธ.๔,พธ.บ.,กศ.ม.) ผูอานวยวิทยาลัยสงฆ์เลย
                                                                         ้ํ

                                                                รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๑
                                                                                                  ้

          (พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๕๐)
      ๔. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร,ผศ.ดร.(,ป.ธ.๖,พธ.บ.,M.A.,Ph.D.)ผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย
                                                                        ้ํ
       (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔)
      ๕. พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี (ป.ธ.๙,พธ.บ,พธ.ม.) ผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย
                                                             ้ํ
          (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ปัจจุบน)  ั
คณะ/สาขาวิชาที่เป็ นสอน
      หลักสูตรปั จจุบนที่วิทยาลัยสงฆ์เลยได้เปิ ดดําเนินการเรี ยนการสอน การสอนอยู่ ๔ สาขาวิชา คือ
                      ั
      ๑. ครุ ศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
      ๒. คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาศาสนา
      ๓. คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
      ๔. คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง
      โครงการหลกสูตรประกาศนียบัตร มีอยู่ ๑ หลกสูตร คอ
                    ั                               ั      ื
      ๑. หลักสูตรประกาศนี ยบัตรการบริ หารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)



               สุ ภาษิต ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย

สุ ภาษิต
           ป�ฺ ญา โลกสฺ มิ ปชฺ โชโต
           แปลว่า ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก

ปรัชญาของมหาวิทยาลัย
       จดการการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม
        ั

ปณธานของมหาวทยาลย
  ิ          ิ ั
     ศึกษาพระไตรปิ ฎกและวิชาชั้นสูง สาหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหสถ์
                                     ํ                        ั

วสัยทัศน์ของมหาวทยาลย
 ิ               ิ ั
        ผลิตคนดีและเก่ง อย่างมีสมรรถภาพ จัดการศึกษาและวิจยดีอย่างมีคุณภาพ บริ การวิชาการดีอย่างมี
                                                         ั
สุขภาพ และบริ หารดีอย่างมีประสิทธิภาพ



                                                             รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๒
                                                                                                      ้

พนธกจของมหาวทยาลย
   ั ิ                ิ ั
          ๑. ผลตบัณฑต
                  ิ     ิ
          ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙ ประการ คือ มีปฏิปทาน่ าเลื่อมใส ใฝ่ รู้ใฝ่
คิด เป็ นผูนาด้านจิ ตใจและปั ญญา มีความสามารถในการแก้ปัญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา
           ้ ํ
รู้จกเสียสละเพื่อส่ วนรวม รู ้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม มีโลกทัศน์ กว้างไกล มีศกยภาพที่จะพัฒนา
    ั                                                                               ั
ตนเอง ให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริ ยธรรม
           ๒. วจยและพฒนา
                 ิั       ั
          การวิจยและค้นคว้า เพื่อสร้างองค์ความรู้ควบคู่ไปกับกระบวนการเรี ยนการสอน เน้นการพัฒนาองค์
                    ั
ความรู้ในพระไตรปิ ฎก โดยวิธีสหวิทยาการแล้วนําองค์ความรู้ที่คนพบมาประยุกต์ใช้แก้ปัญหา ศีลธรรม
                                                                 ้
และจริ ยธรรมของสังคม รวมทั้งพัฒนา คุณภาพงานวิชาการด้านพระพุทธศาสนา
          ๓. ส่ งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม
          ส่งเสริ มพระพุทธศาสนาและบริ การวิชาการแก่สังคม ตามปณิ ธานการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ด้วยการ
ปรับปรุ งกิจกรรมต่างๆ ให้ประสานสอดคล้อง เอื้อต่ อการส่ งเสริ ม สนับสนุ นกิ จการคณะสงฆ์ สร้ างความรู้
ความเข้าใจหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา สร้างจิตสํานึกด้านคุณธรรม จริ ยธรรมแก่ประชาชน จดประชุม  ั
สัมมนา และฝึ กอบรม เพื่อพัฒนาพระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้มีศกยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่
                                                                        ั
หลกคาสอน และเป็ นแกนหลักในการพัฒนาจิตใจในวงกว้าง
      ั ํ

        ๔. ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
        เสริ มสร้ างและพัฒนาแหล่งการเรี ยนรู้ดานการทํานุ บารุ งศิลปวัฒนธรรม ให้เอื้อต่อการศึกษา เพื่อ
                                              ้           ํ
สร้างจิตสํานึกและความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย สนับสนุนให้มีการนําภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเป็ นรากฐาน
ของการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ

วตถุประสงค์
 ั
        ๑. เพื่อให้มีโครงสร้างที่กะทัดรัด มีระบบการบริ หารที่มีความคล่องตัว สามารถดําเนิ นงานทุกด้าน
ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เกิดประสิ ทธิผล โปร่ งใสและตรวจสอบได ้
        ๒. เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรทุ ก ระด ับ เป็ นผู้มี ค วามรู้ ความสามารถและเป็ นผู้น ํา ทางวิ ช าการด ้า น
พระพุทธศาสนา
        ๓. เพื่อให้สามารถปฏิบติภารกิ จหลักทั้งในด้านการบริ หาร การจัดการศึกษาศาสนศึกษา การวิจย
                                  ั                                                                       ั
การบริ การวิชาการแก่ชุมชน และการทํานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมได้ตามเป้ าหมาย
                                              ํ
        ๔. เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็ นศูนย์กลางการศึกษา การวิจยด้านพระพุทธศาสนาและปรัชญา ใน
                                                                      ั
ระดับภูมิภาคและนานาชาติ


                                                                  รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๓
                                                                                                       ้

        ๕. เพื่อผลิ ต บัณ ฑิ ต ให้มีความเป็ นเลิศทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาสามารถประยุก ต์เข้ากับ
ศาสตร์สาขาต่าง ๆ มีปฏิปทาที่น่าเลื่อมใส ใฝ่ รู้ใฝ่ คิด มีความเป็ นผูนาทางจิตใจและปั ญญา มีความคิดริ เริ่ ม
                                                                    ้ ํ
สร้ างสรรค์ มีโ ลกทัศน์ กว้างไกล สามารถก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลกมีศรั ทธาที่ จ ะอุทิศตนเพื่อ
พระพุทธศาสนา มีคุณธรรม จริ ยธรรมและเสียสละเพื่อส่วนรวม
        ๖. เพื่อให้สามารถระดมทุ น จากแหล่งต่าง ๆ ให้เพียงพอต่อการจัด หาและพัฒ นาอาคาร สถานที่
บุคลากร ครุ ภณฑ์การศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเป้ าหมายที่กาหนด
             ั                                                          ํ

วสัยทัศน์ของวทยาลัยสงฆ์เลย
 ิ           ิ

        จดการศึกษาและเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
         ั

ยุทธศาสตร์ ของวิทยาลัยสงฆ์ เลย
       ๑. ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙ ประการ
       ๒. พัฒนากระบวนการเรี ยนการสอน
       ๓. บริ การวิชาการด้านพระพุทธศาสนา
       ๔. ทํานุ บารุ งศิลปวัฒนาธรรม
                 ํ
       ๕. พัฒนากระบวนการบริ หารอย่างมีประสิทธิภาพ
       ๖. การวิจยโดยร่วมมือกบสถาบนการศึกษาในทองถ่น
                   ั           ั    ั           ้ ิ




                                                                  รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๔
                                                                                                               ้



                         โครงสร้างการแบ่งส่วนงานและการบริหารระดับวทยาเขต
                                                                  ิ


                                  สภาวิทยาเขต

                                  รองอธิการบดี
คณะอนุกรรมการบริหารบุคคล                               คณะกรรมการประจําวิทยาเขต
     ประจําวิทยาเขต


 ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกจการทวไป
                      ิ    ่ั                           ผ้ ูช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

                                                             ทปรึกษารองอธการบดี
                                                              ี่         ิ



  สํานักงานวิทยาเขต               สํานักวิชาการ          วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                   วิทยาลัยสงฆ์เลย


- ฝ่ ายบริหารงานทั่วไป        - ฝ่ ายวิชาการและวิจัย     - ฝ่ ายบริหารงานทั่วไป             - ฝ่ ายบริหารงานทั่วไป
- ฝ่ายคลังและพัสดุ            - ฝ่ายทะเบียนและวัดผล      - ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ          - -สาขาวิชาหลักสูตรและกา
                                                                                              ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ
- ฝ่ ายนโยบายและแผน           - ฝ่ ายห้ องสมุดและ
                               เทคโนโลยีสารสนเทศ       - สาขาวิชาพระพุทธศาสนา             - สาขาหลักสูตรและการสอน
                                                       - สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน        - สาขาวิชาศาสนา
                                                       - สาขาวิชารัฐศาสตร์                - สาขาวิชารัฐศาสตร์
                                                       - สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ           - สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
                                                       - สาขาวิชาสังคมวิทยาและฯ
                                                       - โครงการขยายห้ องเรียน จ.ร้ อยเอ็ด
                                                       - ศูนย์วิทยบริการจังหวัดมหาสารคาม
                                                       - บัณฑิตวิทยาลัยห้ องเรียนวิทยาเขตขอนแก่น




                                                                       รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๕
                                                                                                                       ้



                                โครงสร้างการบริหารส่วนงานวทยาลัยสงฆ์เลย
                                                          ิ

                                     โครงสร้างการบริหารส่วนงานวิทยาลัยสงฆ์เลย



                                            ผูอานวยการวทยาลยสงฆเ์ ลย
                                              ้ํ       ิ ั


รองผูอานวยการวทยาลยสงฆเ์ ลยเลย(ฝ่ายวชาการ)
     ้ํ       ิ ั                   ิ                                  รองผูอานวยการวทยาลยสงฆเ์ ลยเลย(ฝ่ายบริหาร)
                                                                            ้ํ       ิ ั



                                                                                             สาขาวิชา
    ฝ่ายบริหารงานทวไป
                  ั่                           ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ


            - เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี       - เจ้าหน้าทีบรรณารักษ์
                                                           ่                           - สาขาวชาหลกสูตรและการสอน
                                                                                               ิ ั
            - เจา้ หนา้ ท่บริหารงานทวไป
                          ี         ั่         - กจการนิสิต
                                                   ิ                                   - สาขาวชาศาสนา
                                                                                                ิ
            -นกการภารโรง
               ั                               - ทะเบียนและวัดผล                        - สาขาวชารฐศาสตร ์
                                                                                                    ิ ั
            - เจ้าหน้าทีนกประชาสัมพันธ์
                         ่ ั                    - เจ้าหน้าทีเ่ ทคโนโลยีสานสนเทศ        - สาขาวชาพระพทธศาสนา
                                                                                                  ิ     ุ
            - พนกงานขบรถ
                   ั        ั
            - แม่บ ้าน
            - คนสวน
                                         ด้ านการบริหาร
        คณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆ์ มีอานาจหน้าที่ให้คาแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินการต่างๆภายใน
                                         ํ              ํ
วิทยาลัยสงฆ์เลย ประกอบด้วย
        ๑. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, ผศ.ดร.          ประธานกรรมการ
        ๒. พระมหาลิขิต รตนรํสี                        รองประธานกรรมการ
        ๓. พระครู ใบฎีกาจํานง ฉนฺ ทธมฺโม              กรรมการโดยตาแหน่ง
                                                                    ํ
        ๔. ดร.ชาญชัย ฮวดศรี                           กรรมการโดยตาแหน่ง
                                                                      ํ
        ๕. พระสุวรรณธีราจารย ์                        กรรมการจากคณาจารยประจา  ์ ํ
        ๖. พระมหาสุ ภวิชญ์ ปภสฺ สโร                   กรรมการจากคณาจารยประจา   ์ ํ
        ๗. ดร.วิทยา ทองดี                             กรรมการจากคณาจารยประจา    ์ ํ
        ๘. พันเอกพิชิต สัตถาผล                        กรรมการผทรงคุณวฒิ
                                                              ู้          ุ
        ๙. ดร.อุดร จันทวัน                            กรรมการผทรงคุณวฒิ
                                                              ู้            ุ
        ๑๐. ผศ.แสวง สาระสิ ทธิ์                       กรรมการผทรงคุณวฒิ
                                                              ู้        ุ

                                                                                  รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๖
                                                                                                       ้

          ๑๑. นายกองสิ นทร์ เกตะวันดี                        กรรมการผทรงคุณวฒิ
                                                                      ู้      ุ
          ๑๒. นายทองพูล ขุนเรศ                               กรรมการผูทรงคุณวุฒิ
                                                                         ้
          ๑๓. พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต                        กรรมการและเลขานุการ


งบประมาณ

                                   หน่วยนับ        สาขาวิชา          สาขาวิชา        สาขาวิชาหลักสูตรและ
   รายรับ/รายจ่ าย                (คน/บาท)       พระพุทธศาสนา        รัฐศาสตร์             การสอน
๑.รายรับท้งหมดของสถาบัน
              ั                 ๑๗๓๗๑๓๙.๓๓      ๖,๓๔๒,๙๖๐.๒๔      ๘,๓๖๕,๓๕๓.๓๖         ๒,๖๖๕,๘๘๑.๘๔
        (ปีงบประมาณ)
   ๒. รายรับจากการบริการ         ๓,๒๔๒,๑๐๕.      ๑,๑๘๓,๖๒๖         ๑,๕๖๑,๐๑๔             ๔๙๗,๔๖๖
      วิชาการและวิชาชีพ
   ๓. ค่าใช้ จ่ายทั้งหมดของ     ๑๖,๑๕๔,๑๕๗.๒๒   ๕,๘๙๗,๕๕๐.๐๕     ๗,๗๗๗,๙๒๘.๓๔          ๒,๔๗๘,๖๘๐.๔๖
 สถาบันโดยไม่รวมครุภัณฑ์
 อาคารสถานที่และที่ดิน(ปี
           การศึกษา)
   ๔. ค่าใช้ จ่ายทั้งหมดของ     ๑๖,๘๔๙,๑๗๐.๕๐   ๖,๑๕๑,๒๘๔.๔๕      ๘,๑๑๒,๕๖๓.๕๕         ๒,๕๘๕,๓๒๒.๔๕
 สถาบันโดยไม่รวมครุภัณฑ์
    อาคารสถานที่และที่ดิน
        (ปีงบประมาณ)
   ๕.ค่าใช้ จ่ายด้ านครุภัณฑ์    ๒,๖๔๑,๘๓๘       ๙๖๔,๔๘๑.๓๑      ๑,๒๗๑,๙๙๗.๐๙           ๔๐๕,๓๖๑.๗๑
   อาคาร สถานที่และที่ดิน
        (ปีงบประมาณ)
   ๖. ค่าใช้ จ่ายมูลค่าในการ     ๑๐,๘๗๘,๕๔๑     ๓,๙๗๑,๕๓๐.๙๘     ๕,๒๓๗,๘๑๖.๒๒          ๑,๖๖๙,๑๙๔.๑๘
 บริการวิชาการและวิชาชีพ
๗.ค่าใช้ จ่ายมูลค่าในการทํานุ     ๑๓๘,๕๐๐        ๕๐,๕๖๓.๘๙         ๖๖,๖๘๕.๗๑            ๒๑,๒๕๑.๔๙
     บํารุงศิลปวัฒนธรรม
    ๘.ค่าใช้ จ่ายเพื่อพัฒนา       ๑๘๖,๕๐๐        ๖๘,๐๘๖.๔๔         ๘๙,๗๙๕.๑๖             ๒๘,๖๑๖.๐๔
   อาจารย์และบุคลากรสาย
           ปฏบัติการ
                ิ
   ๙.ค่าใช้ จ่ายที่ใช้ ในระบบ      ๙๐,๓๖๐        ๓๒,๙๘๙.๕๙         ๔๓,๕๐๘.๐๑            ๑๓,๘๖๕.๑๙
ห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และ
        สูนย์สารสนเทศ
        (ปีงบประมาณ)
     ๑๐.เงินเหลือจ่ายสุทธิ      ๑,๑๒๕,๒๘๙.๘๕     ๔๑๐,๘๒๐.๔๘       ๕๔๑,๘๐๖.๗๒            ๑๗๒,๖๖๓.๖๘
        (ปีงบประมาณ)
      ๑๑.สินทรัพย์ถาวร           ๒,๖๔๑,๘๓๘       ๙๖๔,๔๘๑.๓๑      ๑,๒๗๑,๙๙๗.๐๙           ๔๐๕,๓๖๑.๗๑
        (ปีงบประมาณ)




                                                                  รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๗
                                                                                                   ้

 บุคลากรวิทยาลัยสงฆ์เลย
          ตาราง แสดงจํานวนบุคลากรทั้งหมด ประจาปี ๒๕๕๔ จําแนกตามประเภท
                                             ํ
                            บุคลากร                                 จานวน
                                                                      ํ
 ๑. อาจารยประจา
            ์     ํ                                                     ๖
 ๒. เจ้าหน้าที่สายปฏิบติการวิชาชีพ
                      ั                                                 ๒
 ๓. ลูกจ้างชัวคราว
              ่                                                         ๑๐
       ตาราง แสดงวุฒการศึกษาของเจ้ าหน้ าที่ และอาจารย์ประจา
                      ิ                                     ํ
         วุฒิการศึกษา        ตําแหน่งทาง            ปริ ญญาเอก                    ปริ ญญาโท
                                วิชาการ
 ๑. อาจารย์                         ๑                    ๑                             ๕
 ๒. เจ้าหน้ าที่                                         -                             ๒
                 รวม                                     ๑                             ๗
       ตาราง แสดง เลขประจาตาแหน่งและวนเดือนปีทบรรจุ
                            ํ ํ                ั      ี่
จานวน เลขประจาตาแหน่ง
  ํ              ํ ํ                  ชื่อตาแหน่ง
                                           ํ              ชื่อ-ฉายา/นามสกุล                ว/ด/ป/บรรจุ
สายวิชาการ
    ๑           ๗๙๓          อาจารย์                 พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี       ๑ พ.ค. ๒๕๕๔
    ๒           ๔๕๙          อาจารย์                 ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์พรพวณ ั     ๒ ๒ มิ.ย. ๒๕๔๗
    ๓           ๗๑๙          อาจารย์                 พระมหาลิขิต รตนรํสี            ๒ พ.ค. ๒๕๔๘
    ๔           ๗๘๓          อาจารย์                 พระมหาสุภวิชญ์ ปภสฺสโร         ๑๖ พ.ค.๒๕๔๙
    ๕           ๗๘๔          อาจารย์                 พระมหาสังเวช จนฺ ทโสภี         ๑๖ พ.ค.๒๕๔๙
    ๖           ๗๑๘          อาจารย์                 พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต        ๑ เม.ย.๒๕๕๑
สายปฏิบติการวิชาชีพและบริ หารทัวไป
           ั                        ่
    ๑           ๔๘๑          นักวิชาการ              นายธงชัย สิงอุดม               ๑ ส.ค.๒๕๓๔
    ๒           ๔๘๐          เจาหนาที่บริหารงานทวไป นายประสงค์ หัสริ นทร์
                               ้ ้                ั่                                ๒ พ.ค.๒๕๔๘
ลูกจ้างชั่วคราว
    ๑            -           เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ นางสาวยาติมา วงค์อินทร์          ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
    ๒            -           เจ้าหน้าที่การเงิน      นายศราวุธ สารพิมพา             ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
    ๓            -           เจ้าหน้าที่การเงิน      นางสาวมุทิตา โลขันสา           ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
    ๔            -           นกการภารโรง
                                ั                    นายสุริยา วงศ์พยัคฆ์           ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
    ๕            -           นกการภารโรง
                                  ั                  นายสัญญา ปิ ตุโส               ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
    ๖            -           พนักงานขับรถ            นายต่อ ผิวสิริ                 ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
                                                              รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๘
                                                                                                  ้

๗                -           แม่บาน
                                  ้               นายพิยดา ดาวงษา                  ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
๘                -           คนสวน                นายเสด็จ พรมพุทธา                ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
 ๙               -           เจ้าหน้าที่ธุรการ    นายเจียระไน แจ้งกระจ่าง          ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
๑๐               -           เจ้าหน้าที่พระสอน    นายนพพล ทองพูล                   ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔
                             ศีลธรรมในโรงเรียน

ทรัพยากรสารสนเทศ

                 ประเภท                                ปี ๒๕๕๓                         ปี ๒๕๕๔
หนังสือตําราภาษาไทย                          ๕,๕๑๘ เล่ม                     ๕,๕๑๘ เล่ม
หนังสือตําราภาษาอังกฤษ                       ๘๐๐ เล่ม                       ๘๐๐ เล่ม
วารสารภาษาไทย                                ๙๒ เรื่ อง                     ๘๐ เรื่ อง
งานวิจยั                                     ๕๗ เรื่ อง                     ๕๗ เรื่ อง
วิทยานิพนธ์                                  ๒๒ เรื่ อง                     ๒๒ เรื่ อง
สื่อโสต                                      ๗๔ เรื่ อง                     ๗๔ เรื่ อง
                                                                 (ที่มา : ฝ่ายหองสมุดและเทคโนโลย)
                                                                               ้                ี

หลักสู ตรและสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอน

        ตาราง แสดงจํานวนหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนในปี การศึกษา ๒๕๕๔ จําแนกตามสาขาวิชา
                 สาขาวิชา                 ปริญญาตรี          รวม                  หมายเหตุ
๑.สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา                        ๑             ๑
๒.สาขาวิชาหลกสูตรและการสอน
              ั
                                                              ๑
  - การสอนภาษาไทย                               ๑
๓. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
                                                ๑             ๑
  - พระพุทธศาสนา
๔. สาขาวิชารัฐศาสตร์
  - การปกครอง                                   ๑
                                                              ๒
  - ประกาศนี ยบัตรการบริ หารกิจการคณะ           ๑
สงฆ์ (ป.บส.)***                                                       ***หลักสูตรตํ่ากว่าปริ ญญาตรี
                                                                    (ที่มา : ฝ่ ายทะเบียนและวัดผล)

                                                             รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๑๙
                                                                                                   ้

จํานวนนิสิต

ตารางแสดง จํานวนนิสิตชั้นปี ที่ ๑ – ๔ แยกตามคณะ/สาขาวิชาเอก ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๔

                                                        ปี การศึกษา ๒๕๕๔
                    คณะ/สาขาวิชา
                                                      ปี ๑ ปี ๒ ปี ๓ ปี ๔           ปี ๕         รวม
                     สาขาวิชาศาสนา                      -     -   -    -              -
คณะพุทธศาสตร์
                     สาขาวิชาพระพุทธศาสนา             ๔๖ ๕๒ ๕๘ ๕๓                               ๒๐๗
 คณะครุ ศาสตร์       สาขาวิชาการสอนภาษาไทย            ๖๑ ๙       ๘ ๘                  ๑          ๘๗
                     สาขาวิชาการเมืองการปกครอง(พระ)   ๑๘ ๖       ๗ ๗                             ๓๘
      คณะ
                     สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอก                                                  ๒๓๕
  สังคมศาสตร์                                         ๑๐๕ ๘๕ ๔๕
                     การเมืองการปกครอง(คฤหัสถ์)
                       รวมทั้งสิ้น                    ๒๐๓ ๘๕ ๑๑๖ ๖๘          ๑       ๕๖๗
                                                                (ที่มา : งานทะเบียนและวัดผล)

จํานวนนิสิตที่สําเร็จการศึกษา ปี การศึกษา ๒๕๕๔

                                 สาขาวิชา                                           จานวน
                                                                                     ํ
๑.สาขาวิชาพระพุทธศาสนา                                                                 ๔๔
๒.สาขาวิชาหลกสูตรและการสอน
              ั
  - การสอนภาษาไทย                                                                      ๑
  - ประกาศนี ยบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู **                                                  -
๓. สาขาวิชารัฐศาสตร์
  - การปกครอง                                                                        ๓๒
  - ประกาศนียบัตรการบริ หารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) ***                                 ๓๒
                               รวม                                                   ๑๐๙

** หลักสูตรสูงกว่าปริ ญญาตรี
*** หลักสูตรตํ่ากว่าปริ ญญาตรี



                                                              รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
หนา ๒๐
                                                                                                   ้



  ระบบและกลไกประกันคุณภาพการศึกษาของส่ วนงาน

        ระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษานั้น มีคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายใน
      การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง กิจกรรมควบคุมคุณภาพในวิทยาลัยสงฆ์เลย โดยการดําเนินการ
 ของวิทยาลัยสงฆ์เลยเอง เพื่อให้มีความมันใจว่าวิทยาลัยสงฆ์เลย ดําเนินการตามภารกิจหลักอย่างมีคุณภาพ
                                       ่
        กระบวนการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย
        ๑. ระบบการคุมคุณภาพ
        ๒. การตรวจสอบคุณภาพ
        ๓. การประเมินคุณภาพ


                         โครงสร้ างการประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยสงฆ์เลย




  ระบบการควบคมคุณภาพ
             ุ                      ระบบการตรวจสอบคุณภาพ                ระบบการประเมนคุณภาพ
                                                                                    ิ


 พัฒนาการควบคุมการ                 พัฒนาระบบการตรวจสอบการ              พัฒนาระบบการประเมินผลภายใน
ปฏิบติงานให้เกิดคุณภาพ โดย
    ั                              ปฏิบติงานโดยตนเองและรายงาน
                                        ั                              และสนับสนุนส่ งเสริ มให้
การ กําหนดนโยบายเกณฑ์/             การดําเนินตามเกณฑ์ / มาตรฐาน        พัฒนาการจัดการศึกษาโดย
มาตรฐานตัวบ่งชี้ของ                ตวบ่งช้ ีโดย
                                    ั                                  - การประเมินภายใน
    - ตัวป้ อน                            -จดกระบวนการตรวจ สอบ
                                            ั                          - การจดทากรอบการประเมิน
                                                                                 ั ํ
    - กระบวนการ                    ภายในเพื่อให้มีการปฏิบติตาม/
                                                         ั             - เครื่องมือการประเมิน นาผลการ
                                                                                                  ํ
    - ผลผลิต                       มาตรฐานตัวบ่งชี้                    ประเมินมาพิจารณาสนับสนุน
    - ผลลพธ์ั                          -การตรวจสอบการปฏิบติจากั        ส่ งเสริ มให้เป็ นการพัฒนาอย่าง
                                   คณะกรรมการ                          ต่อเนื่อง
                                          -ตรวจสอบหลักฐาน




                                                              รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
๒๑



                                                                                 ส่ วนที่ ๓
                                         ผลการดําเนินงานและผลการประเมินคุณภาพ เทียบกับเกณฑ์และเทียบกับเปาหมาย
                                                                                                        ้
                                                       ในรอบปี ปัจจุบัน ตามตัวบ่ งชี้ในแต่ละองค์ประกอบ


                                         องค์ประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการดําเนินการ
ตัวบ่ งชี้ที่ ๑.๑ กระบวนการพัฒนาแผน
                        เกณฑ์การประเมิน                                              การดําเนินงาน                                          เอกสาร/หลักฐาน
 ๑. มีก ารจัด ท า แผนพ ัฒนาที่ ส อดคลอ งก ับ นโยบายของสภา
                  ํ                  ้                       ๑. ทาแผนพฒนาที่สอดคลองกบพนธกิจ ปรัชญา ปณิธาน และ
                                                                    ํ     ั           ้ ั ั                               ๑.๑.๑-๑ แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะที่ ๑๐
 มหาวิทยาลัย โดยการมีส่วนร่ วมของบุคลากรในมหาวิทยาลัย        วตถุประสงค์ ของมหาวิทยาลัย
                                                              ั                                                           ๑.๑.๑-๒ ประเดนยทธศาสตร์
                                                                                                                                           ็ ุ
 และได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย โดยเป็ นแผนที่         ๒. ตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัย และมีการประชุม  ๑.๑.๒.๑-๑ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํา
 เชื่ อ มโยงก ั บ ปรั ชญาหรื อปณิ ธานและพระราชบ ั ญ ญ ั ติ   คณะกรรมการฯเพื่อจัดทําแผน                                   แผนพัฒนามหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัย ตลอดจนสอดคล้องกับจุ ดเน้นของกลุ่มสถาบัน                                                                      ๑.๑.๒.๑-๒ รายงานการประชุมคณะกรรมการจดทา      ั ํ
 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบบที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑
                                        ั                                                                                แผนพฒนาั
 – ๒๕๖๕) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่            ๓. ทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัย โดยการระดมความคิดเพื่อใหบุคลากร  ๑.๑.๓.๑ ลายมือชื่อบุคลากรที่เข้าร่ วมการระดม
                                                                                                                 ้
 ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๑ – ๒๕๕๔)                                        ทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วม                                         ความคิด/ประชาพิจารณ์แผน
                                                              ๔. วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแผนพัฒนากับปรัชญา ปณิ ธาน  ๑.๑.๔.๑-๑ ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่าง
                                                             พระราชบัญญัติ และ นโยบายของมหาวิทยาลัย                      แผนพฒนากบปรัชญา ปณิธาน พระราชบญญติและ
                                                                                                                              ั    ั                            ั ั
                                                                                                                         นโยบายของมหาวิทยาลัย
                                                                                                                          ๑.๑.๔.๑-๒ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
                                                                                                                         ๑.๑.๔.๑-๓นโยบายสภามหาวิทยาลัยปรัชญา ปณิธาน

                                                                                                                              รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554

More Related Content

What's hot

กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 i_cavalry
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007wutichai
 
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐานPochchara Tiamwong
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงstjohnbatch753
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดPrisana Suksusart
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...WaruneeThanitsorn
 

What's hot (18)

กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556 กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
กลยุทธ์ กส.ทบ. ประจำปี 2556
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
 
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระบุตัวชี้วัด
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
 

Similar to เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554

คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 
ปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะChao Chao
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
ถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลChao Chao
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553Kasem S. Mcu
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
ระเบียบวัดผลปก
ระเบียบวัดผลปกระเบียบวัดผลปก
ระเบียบวัดผลปกkrupornpana55
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2kruliew
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าkruliew
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUPises Tantimala
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 

Similar to เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554 (20)

คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
ปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะ
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
ถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิล
 
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2553
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
คุณภาพชีวิตการทำงาน
คุณภาพชีวิตการทำงานคุณภาพชีวิตการทำงาน
คุณภาพชีวิตการทำงาน
 
ระเบียบวัดผลปก
ระเบียบวัดผลปกระเบียบวัดผลปก
ระเบียบวัดผลปก
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554

  • 1. หนา ๓ ้ ส่ วนที่ ๑ 4 คานํา สารบัญ และตารางสรุปผลการประเมินตนเองรายตวบ่งชี้ 4ํ ั คํานํา 4 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการประกัน คุณภาพการศึกษาและถื อว่าเป็ นหัว ใจสําคัญ และเป็ นนโยบายหลักของวิทยาลย ในการขับเคลื่อนการมีการ ั ดาเนินงานที่มีคุณภาพในทุกพันธกิจ เริ่ มตั้งแต่การผลิตบัณฑิต การวิจย การส่งเสริ มพระพุทธศาสนาและบริ การ ํ ั วิชาการแก่สงคม ตลอดจนการทํานุ บารุ งศิลปะและวัฒนธรรม ั ํ รายงานการประเมินตนเอง (Self AssessmentReport)ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๔ (๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ – ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕) ฉบับนี้จดทําขึ้นเพื่อรวบรวม และนําเสนอข้อมูลผลการดําเนินงานตามภารกิจด้านต่างๆ ั ของวิทยาลัย ตามเกณฑ์มาตรฐานของตัวบ่ งชี้ ต่างๆ ที่กาหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ํ จํานวน ๔๑ ตวบ่งช้ ี ั ในการจัดทํารายงานการประเมินตนเองประจําปี การศึกษา ๒๕๕๔ สาหรับใชในการตรวจสอบและ ํ ้ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนากลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อให้ได้ผลการประเมิน ตรงตามความเป็ นจริ งมากที่ สุด เพื่อจะได้น ําผลการประเมิ นไปปรั บปรุ งแผนงาน โครงการ และกิจกรรมต่อไป พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี ผอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย ู้ ํ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 2. หนา ๔ ้ สารบัญ หนา ้ ส่ วนที่ ๑ คํานํา สารบัญ และตารางสรุ ปผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ 4 คํานํา ๓ สารบญ ั ๔ 4 ตารางสรุ ปผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ 4 ๕ ส่ วนที่ ๒ ข้ อมูลเบืองต้นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาสงฆ์เลย ้ ๘ ๒.๑ ประวัติความเป็ นมาและสภาพปัจจุบน ั ๘ ๒.๒ ปรัชญา ปณิ ธาน วิสยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ ั ๑๑ ๒.๓ โครงสร้างการบริ หารงาน ๑๔ ๒.๔ ข้อมูลพื้นฐานด้านกายภาพ ๑๖ ๒.๕ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา ๒๐ ส่ วนที่ ๓ ผลการดําเนินงาน และ ผลการประเมินคุณภาพ เทียบกับเกณฑ์และเทียบกับ เปาหมายในรอบปี ปั จจุบัน ตามตัวบ่ งชี้ในแต่ละองค์ประกอบ ้ ๒๐ องคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการดําเนินการ ์ ๒๑ องคประกอบที่ ๒ การเรี ยนการสอน ์ ๒๘ องคประกอบที่ ๓ กิจกรรมการพฒนานิสิต ์ ั ๔๘ องคประกอบที่ ๔ การวิจย ์ ั ๕๓ องคประกอบที่ ๕ การบริ การทางวิชาการแก่สงคม ์ ั ๖๐ องค์ประกอบที่ ๖ การทานุบารุงศิลปวฒนธรรม ํ ํ ั ๖๗ องคประกอบที่ ๗ การบริ หารและการจัดการ ์ ๗๒ องคประกอบที่ ๘ การเงินและงบประมาณ ์ ๘๒ องคประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ์ ๘๖ ส่วนที่ ๔ สรุ ปผลการประเมินและทิศทางการพัฒนา ๙๐ ส่วนที่ ๕ ภาคผนวก ๙๗ คําสังแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาลยสงฆเ์ ลย ่ ั ๙๘ ตารางคํานวน FTES ปี ๒๕๕๔ (ปี การศึกษาและปี งบประมาณ) ๙๙ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 3. หนา ๕ ้ ตารางสรุปผลการประเมนตนเอง : รายองค์ประกอบ ิ องคประกอบ ์ คะแนนการประเมิน คะแนนการประเมิน เป้ าหมาย ผลการดําเนินงาน คุณภาพ (ตามเกณฑ์ มจร.) (ตามเกณฑ์ สกอ.) องค์ประกอบที่ ๑ -ตวบ่งช้ ีที่ ๑.๑ ั ๖ ขอ ้ ๘ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๑.๒ ั ไม่รับการประเมิน - - - -ตวบ่งช้ ีที่ ๑.๓ ั ๓.๕๑ คะแนน ๓.๙๖ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๑.๔ ั ไม่รับการประเมิน - - - คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๑ ่ ๕.๐๐ ๕.๐๐ องค์ประกอบที่ ๒ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑ ั ๔ ขอ ้ ๕ ๔ ๔ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๒ ั ร้อยละ๒๒/๔.๕๐ ๑๓.๘๙ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๓ ั ร้อยละ๔๕/๙ ๒.๔๘ ๑.๐๓ ๑.๐๓ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๔ ั ๕ ขอ ้ ๗ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๕ ั ๖ ขอ ้ ๗ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๖ ั ๖ ขอ ้ ๗ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๗ ั ๔ ขอ ้ ๕ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๘ั ๔ ขอ ้ ๕ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๙ ั ร้อยละ ๘๐ ๘๗.๕ ๔.๓๘ - -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑๐ ั ๓.๕๑ คะแนน ๑๔๗ ๕ - -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑๑ ั ไม่รับการประเมน ิ - - - -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑๒ ั ไม่รับการประเมิน - - - -ตวบ่งช้ ีที่ ๒.๑๓ ั ๔.๕๐ ๒.๖๗ ๒.๒๒ - คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๒ ่ ๔.๒๔ ๔.๓๘ องค์ประกอบที่ ๓ -ตวบ่งช้ ีที่ ๓.๑ ั ๖ ขอ ้ ๗ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๓.๒ ั ๕ ขอ ้ ๖ ๕ ๕ คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๓ ่ ๕.๐๐ ๕.๐๐ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 4. หนา ๖ ้ องค์ประกอบ คะแนนการประเมน คะแนนการประเมน ิ ิ เปาหมาย ้ ผลการดําเนินงาน คุณภาพ (ตามเกณฑ์ มจร.) (ตามเกณฑ์ สกอ.) องค์ประกอบที่ ๔ -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๑ ั ๖ ขอ ้ ๕ ๓ ๓ -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๒ ั ๔ ขอ ้ ๑ ๑ ๑ -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๓ ั ๒๐,๐๐๐ ๘๑๓๘.๕ ๑.๖๓ ๑.๖๓ -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๔ ั ร้อยละ ๘ ๒.๐๘ ๑.๖๓ -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๕ ั ร้อยละ ๑๕ ๑๖.๖๗ ๔.๑๗ -ตวบ่งช้ ีที่ ๔.๖ ั ร้อยละ๘ ๐ ๐ คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๔ ่ ๒.๑๗ ๑.๘๘ องค์ประกอบที่ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๑ ั ๔ ขอ ้ ๕ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๒ ั ๔ ขอ ้ ๕ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๓ ั ร้อยละ ๒๒ ๘๐ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๔ ั ๔ ขอ ้ ๓ ๓ -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๕ ั ไม่รับการประเมิน - - -ตวบ่งช้ ีที่ ๕.๖ ั ไม่รับการประเมิน - - คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๕ ่ ๔.๕๐ ๕.๐๐ องค์ประกอบที่ ๖ -ตวบ่งช้ ีที่ ๖.๑ ั ๔ ขอ ้ ๕ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๖.๒ ั ๔ ขอ ้ ๔ ๔ -ตวบ่งช้ ีที่ ๖.๓ ั ๔ ขอ ้ ๕ ๕ คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๖ ่ ๔.๖๗ ๕.๐๐ องค์ประกอบที่ ๗ -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๑ ั ๖ ขอ ้ ๗ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๒ ั ๔ ขอ ้ ๕ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๓ ั ๔ ขอ ้ ๕ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๔ั ๕ ขอ ้ ๖ ๕ ๕ -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๕ ั ไม่รับการประเมิน - - -ตวบ่งช้ ีที่ ๗.๖ ั ๓.๕๑ คะแนน ๔ ๔ คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๗ ่ ๔.๘๙ ๕.๐๐ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 5. หนา ๗ ้ องค์ประกอบ คะแนนการประเมน คะแนนการประเมน ิ ิ เปาหมาย ้ ผลการดําเนินงาน คุณภาพ (ตามเกณฑ์ มจร.) (ตามเกณฑ์ สกอ.) องคประกอบที่ ๘ ์ - ตวบ่งช้ ีที่ ๘.๑ ั ๖ ขอ ้ ๗ ๕ ๕ คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๘ ่ ๕.๐๐ ๕.๐๐ องคประกอบที่ ๙ ์ - ตวบ่งช้ ีที่ ๙.๑ ั ๘ ขอ ้ ๙ ๕ ๕ คะแนนเฉลียองค์ประกอบที่ ๙ ่ ๕.๐๐ ๕.๐๐ รวมทุกองค์ประกอบ ๔.๒๐ ๔.๒๓ บรรลุ ๒๗ ตวชี้วด ๔๑ ตว ั ั ั ไม่บรรลุ ๗ รับการประเมน ิ ๓๔ ไม่ รับการประเมิน ๗ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 6. หนา ๘ ้ ส่ วนที่ ๒ ข้อมูลเบื้องต้นของวิทยาลัยสงฆ์เลย ชื่อหน่ วยงาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ที่ต้ง ั เลขที่ ๑๑๙ หมู่ที่ ๕ ตาบลศรี สองรัก อาเภอเมือง จังหวัดเลย รหัสไปรษณี ย ์ ๔๒๑๐๐ ํ ํ โทรศพท/์ โทรสาร ๐๔๒-๘๐๑๒๐๓,๘๐๑๒๖๘ ั Website : http://www.loei2@mcu.ac.th E-mail Song2516@hotmail.com ประวัตความเป็ นมา และสภาพปัจจุบน ิ ั ๑.๑ ประวตและความเป็นมาของวทยาลัยสงฆ์เลย ั ิ ิ มหาวิ ท ยาล ัย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาล ัย มหาวิ ท ยาล ัย สงฆ์แ ห่ งคณะสงฆ์ ไ ทย เป็ น สถาบันการศึกษาชั้นสูงของคณะสงฆ์ ซึ่ งสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า สมเด็จพระปรมินทร์ รมหา จุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหวได้ทรงสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ มีชื่อเดิมว่า "มหาธาตุวิทยาลัย" ่ ั และมีพระบรมราชโองการเปลี่ยนนามใหม่ว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย" เมื่อ วันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยมีพระราชประสงค์จะให้เป็ นอนุสรณ์เฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์สืบไป เพื่อสื บสานพระราชปณิ ธานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้านการพัฒนาบุคลากร ของประเทศให้มีความรู ้ ความเข้าใจวิชาการด้านพระพุทธศาสนา สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน มีความสามารถในการรักษา และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มีความมันคงยิงขึ้น พระพิมลธรรม ( ช้อย ฐานทัต ่ ่ ตมหาเถร) อธิ บดี สงฆ์ว ดมหาธาตุ ยุวราชรังสฤษฏ์ ในสมัยนั้นจึงจัดประชุ มพระเถรานุ เถระฝ่ ายมหานิ กาย ั จํานวน ๕๗ รู ป เมื่อวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และประกาศให้มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดําเนิ นการ จดการศึกษาพระไตรปิ ฎกและวิชาชั้นสูงในระดับมหาวิทยาลัย เปิ ดสอนระดับปริ ญญาตรี คณะพุทธศาสตร์ ั เป็ นคณะแรกเมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และมีพฒนาการตามลําดับ ั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๑ เริ่ มขยายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปยังส่วนภูมิภาค เริ่ มตั้งวิทยาเขตแห่ ง แรกที่ จังหวัดหนองคาย และได้ขยายไปยังจังหวัดอื่น ๆ ที่มีความพร้อมด้านบุคลากร งบประมาณ อาคาร สถานที่ ปัจจุบนมหาวิทยาลัยมีวิทยาเขตในกํากับดูแลทัวประเทศ ๑๐ แห่ ง ในส่ วนของวิทยาสงฆ์เลย จัดตั้ง ั ่ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 7. หนา ๙ ้ เมื่อวันที่ ๒๗ สิ งหาคม ๒๕๔๑ การประชุมคร้ ั งที่๘/๒๕๔๑ ของสภามหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราช วิทยาลัยให้ยกฐานะศูนย์การศึกษาเลยเป็ นวิทยาลัยสงฆ์จงหวัดเลย ั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ รัฐบาล โดยการนําของ ฯพณฯ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ได้ดาเนินการ เสนอร่ าง ํ พระราชบัญญัติก าหนดวิ ทยฐานะ ผูสาเร็ จวิชาการพระพุทธศาสนา โดยรัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบ และ ํ ้ ํ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงลงพระปรมาภิ ไธย แล้ว ประกาศใช้เป็ นกฎหมายตั้งแต่ ว น ที่ ๒๗ ั กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็ นต้นมา มีผลทําให้ผสาเร็ จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ู้ ํ มีศกดิ์ และสิ ทธิ์แห่ งปริ ญญา เช่น เดียวกับผูสาเร็ จการศึกษาในระดับเดียวกันจากสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่รัฐ ั ้ ํ ให้การรับรอง พระเดชพระคุณพระสุ นทรปริ ยติเมธี (พระมหาพรหมา จนฺ ทโสภโณ)๑ เจ้าคณะจังหวัดเลย ได้ปรารภ ั ที่จะดําเนินการพัฒนาขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสําหรับคณะสงฆ์จงหวัดเลย โดยมีความ ั ประสงค์ที่จะให้ภิกษุและสามเณรทั้งในเขตจังหวัดเลย จังหวัดใกล้เคียง และมาจากจังหวัดอื่นได้ศึกษาเล่า เรี ยนวิชาการช้ ัน สูง โดยเน้น ให้ศึก ษาเข ้าใจวิชาการด ้านพระพุท ธศาสนาและศาสตร์ แขนงอื่น ๆ ที่จ ัด การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่นอกเหนื อจากการศึกษาพระปริ ยติธรรมแผนกธรรม-บาลี ที่จดการศึกษาอยู่ ั ั แล้วให้กว้างขวางยิงขึ้น ่ เมื่อคราวประชุ มเมื่อวันที่ ๕ สิ งหาคม ๒๕๓๗ สภาสงฆ์จงหวัดโดยมีพระเดชพระคุณพระสุ นทร ั ปริ ยติเมธี เจ้าคณะจังหวัดเลย เป็ นองค์ประธาน มีมติเห็นชอบให้ดาเนินการขออนุ มติจากวิทยาเขตขอนแก่น ั ํ ั เพื่อขยายห้องเรี ยน หลักสู ตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน วิชาเอกการสอนภาษาไทย โดยให้มีการจัดการศึกษาขึ้นที่วดศรี วิชยวนาราม อําเภอเมือง จังหวัดเลย การบริ หารงานภายใต้สังกัดวิทยา ั ั เขตขอนแก่น เมื่ อวัน ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติ ให้สภาสงฆ์ จังหวัดเลยจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ และให้นิสิตรุ่ นแรกจํานวน ๓๘ รู ป เดิ นทางไปเรี ยนที่คณะครุ ศาสตร์ วิทยาเขตขอนแก่น เมื่ อวันที่ ๒๒ กุมภาพน ธ์ ๒๕๓๙ สภามหาวิ ทยาลัยมี มติ อนุ มติ ให้วิทยาเขตขอนแก่ นจัดตั้งศูน ย์ ั ั การศึกษาขึ้ นที่ วดศรี วิชยวนาราม ตําบลกุดป่ อง อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระเดชพระคุณพระสุ นทร ั ั ปริ ยติเมธี (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) เป็ นผูช่วยอธิการบดีประจําศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช ั ้ วิทยาลัยจังหวัดเลยเป็ นรู ปแรก เมื่อวันที่ ๒๗ สิ งหาคม ๒๕๔๑ สภามหาวิทยาลัยมีมติให้ยกฐานะศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจังหวัดเลยขึ้นเป็ น “วทยาลยสงฆ์เลย” ิ ั การก่อสร้ างวิทยาลัยสงฆ์ เลยแห่งใหม่ (จากศรีวชัยสู่ ศรีสองรัก) ิ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๘ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร รองผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย พร้อมด้วยคณะ ้ํ ผูบ ริ ห ารในขณะนั้น ได้ด ํา เนิ น การจัด หาพื้ น ที่ ที่เ หมาะสมเพื่อ จัด สร้ า งวิ ทยาลัย สงฆ์เ ลยแห่ ง ใหม่เ พื่ อ ้ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 8. หนา ๑๐ ้ ตอบสนองความต้องการการขยายตัวของนิ สิต/นักศึกษาของวิทยาลัยสงฆ์เลยซึ่ งนับวันจะเพิ่มมากขึ้น โดย คณะผูบริ หารได้ดาเนิ นการติดต่อประสานงานขอใช้ที่ดินบริ เวณป่ าโคกใหญ่ (โซน-อี) หมู่ที่ ๕ ตาบลศรีสอง ้ ํ ํ รัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ต่อสํานักงานสํานักงานปฏิรูปที่ดิน (สปก.-๔๐๑) จังหวัดเลย เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙ ที่ ประชุ มคณะกรรมการปฏิรู ปที่ ดิน จังหวัดเลย โดยมีผูว่าราชการ ้ จังหวัดเลยเป็ นประธาน ได้มีมติเห็นชอบให้วิทยาลัยสงฆ์เลยใช้พ้ืนที่ดินเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่ง ต้งอยหม่ที่ ๕ ตําบลศรี สองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีเนื้ อที่ ๕๐ ไร่ ๓ งาน ๗๖ ตารางวา ระยะห่ างจาก ั ู่ ู กม.ศูนย์ ๑๓ กิ โลเมตร โดยมี นายธงชัย สิ งอุดม หัวหน้าฝ่ ายบริ หารงานทั่วไป เป็ นผูเ้ สนอขอใช้ที่ดินเพื่อ ก่อสร้างวิทยาลัยสงฆ์เลยแห่ งใหม่ และสํานักงานปฏิรูปที่ ดินจังหวัดเลย ได้ส่งหนังสื อเสนอขอใช้ที่ดินต่อ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ คราวประชุมคร้ ังที่ ๓/๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุ งเทพมหานคร มีมติอนุ มติให้วิทยาลัยสงฆ์เลยใช้ที่ดิ นเพื่อการก่ อสร้าง ั วิทยาลัยสงฆ์เลยแห่ งใหม่ โดยมีพระมหาลิขิต รตนรํสี รองผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย และ ผศ.ดร.ประชา ้ํ รัชต์ โพธิประชา เข้าร่ วมประชุมชี้แจงเหตุผลการขอใช้ที่ดิน เมื่อวันที่ ๔ ธนวาคม ๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ั ได้ออกหนังสื ออนุ ญาตให้วิทยาลัยสงฆ์เลยใช้ที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูป ที่ดิน ที่ ๔๐๗/๒๕๕๑ ซ่ึงต้งอยเู่ ลขที่ ๑๑๙ หมู่ ๕ ตําบลศรี สองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ั เมื่อปี ๒๕๕๒ วิทยาลัยสงฆ์เลยได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรี ยนวิทยาลัยสงฆ์เลย ณ พื้นที่ แห่งใหม่น้ ี ในวงเงิน ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยได้รับความเมตตาอนุ เคราะห์จากเจ้าประคุ ณสมเด็จพระพุฒา จารย์ ประธานคณะผูปฏิบติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ได้ประทานอนุ ญาตให้ใช้ชื่ออาคารเรี ยนว่า “อาคาร ้ ั สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกียว อุปเสโณ)” การก่อสร้างอาคารเรี ยนได้เริ่ มตั้งแต่วนที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ – ่ ั ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ เมื่ อวัน ที่ ๑๕ มิ ถุน ายน ๒๕๕๓ วิทยาลยสงฆ์เลยได ้ทาการยายจากว ด ศรี วิชัยวนาราม มาต้ ัง ณ ั ํ ้ ั สํานักงานใหม่ เลขที่ ๑๑๙ หมู่ ๕ ตําบลศรี สองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เป็ นการถาวร โดยมีวตถุประสงค์ ั เพื่อขยายโอกาสทางการศึก ษา เพื่อสนองนโยบายของรั ฐบาลและคณะสงฆ์ในการกระจายโอกาสทาง การศึกษาให้ทวถึงแก่พระภิกษุสามเณรและประชาชนทัวไปในท้องถิน ่ั ่ ่ ผ้บริหารวทยาลยสงฆ์เลย อดีต-ปัจจบัน ู ิ ั ุ ๑. พระสุ นทรปริ ยติเมธี (พรหมา จนฺ ทโสภโณ ป.ธ.๕,พธ.ม. (กิตติมศักดิ์),ศศ.ด. ั (กิตติมศักดิ์) ผูช่วยอธิการบดี ประจําศูนย์การศึกษาวัดศรี วิชยวนาราม (พ.ศ. ๒๕๓๙-๒๕๔๑) ้ ั ๒. พระรัตนกวี (เสาร์ อภินนฺ โท ป.ธ. ๗,พธ.บ.) รักษาการผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย ้ํ (พ.ศ. ๒๕๔๑-๒๕๔๒) ๓. พระสุ วรรณธีราจารย์ (มูลตรี มหพฺพโล ป.ธ.๔,พธ.บ.,กศ.ม.) ผูอานวยวิทยาลัยสงฆ์เลย ้ํ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 9. หนา ๑๑ ้ (พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๕๐) ๔. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร,ผศ.ดร.(,ป.ธ.๖,พธ.บ.,M.A.,Ph.D.)ผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย ้ํ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) ๕. พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี (ป.ธ.๙,พธ.บ,พธ.ม.) ผูอานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย ้ํ (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ปัจจุบน) ั คณะ/สาขาวิชาที่เป็ นสอน หลักสูตรปั จจุบนที่วิทยาลัยสงฆ์เลยได้เปิ ดดําเนินการเรี ยนการสอน การสอนอยู่ ๔ สาขาวิชา คือ ั ๑. ครุ ศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ๒. คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาศาสนา ๓. คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๔. คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง โครงการหลกสูตรประกาศนียบัตร มีอยู่ ๑ หลกสูตร คอ ั ั ื ๑. หลักสูตรประกาศนี ยบัตรการบริ หารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) สุ ภาษิต ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย สุ ภาษิต ป�ฺ ญา โลกสฺ มิ ปชฺ โชโต แปลว่า ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก ปรัชญาของมหาวิทยาลัย จดการการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม ั ปณธานของมหาวทยาลย ิ ิ ั ศึกษาพระไตรปิ ฎกและวิชาชั้นสูง สาหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหสถ์ ํ ั วสัยทัศน์ของมหาวทยาลย ิ ิ ั ผลิตคนดีและเก่ง อย่างมีสมรรถภาพ จัดการศึกษาและวิจยดีอย่างมีคุณภาพ บริ การวิชาการดีอย่างมี ั สุขภาพ และบริ หารดีอย่างมีประสิทธิภาพ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 10. หนา ๑๒ ้ พนธกจของมหาวทยาลย ั ิ ิ ั ๑. ผลตบัณฑต ิ ิ ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙ ประการ คือ มีปฏิปทาน่ าเลื่อมใส ใฝ่ รู้ใฝ่ คิด เป็ นผูนาด้านจิ ตใจและปั ญญา มีความสามารถในการแก้ปัญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา ้ ํ รู้จกเสียสละเพื่อส่ วนรวม รู ้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม มีโลกทัศน์ กว้างไกล มีศกยภาพที่จะพัฒนา ั ั ตนเอง ให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริ ยธรรม ๒. วจยและพฒนา ิั ั การวิจยและค้นคว้า เพื่อสร้างองค์ความรู้ควบคู่ไปกับกระบวนการเรี ยนการสอน เน้นการพัฒนาองค์ ั ความรู้ในพระไตรปิ ฎก โดยวิธีสหวิทยาการแล้วนําองค์ความรู้ที่คนพบมาประยุกต์ใช้แก้ปัญหา ศีลธรรม ้ และจริ ยธรรมของสังคม รวมทั้งพัฒนา คุณภาพงานวิชาการด้านพระพุทธศาสนา ๓. ส่ งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม ส่งเสริ มพระพุทธศาสนาและบริ การวิชาการแก่สังคม ตามปณิ ธานการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ด้วยการ ปรับปรุ งกิจกรรมต่างๆ ให้ประสานสอดคล้อง เอื้อต่ อการส่ งเสริ ม สนับสนุ นกิ จการคณะสงฆ์ สร้ างความรู้ ความเข้าใจหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา สร้างจิตสํานึกด้านคุณธรรม จริ ยธรรมแก่ประชาชน จดประชุม ั สัมมนา และฝึ กอบรม เพื่อพัฒนาพระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้มีศกยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่ ั หลกคาสอน และเป็ นแกนหลักในการพัฒนาจิตใจในวงกว้าง ั ํ ๔. ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เสริ มสร้ างและพัฒนาแหล่งการเรี ยนรู้ดานการทํานุ บารุ งศิลปวัฒนธรรม ให้เอื้อต่อการศึกษา เพื่อ ้ ํ สร้างจิตสํานึกและความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย สนับสนุนให้มีการนําภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเป็ นรากฐาน ของการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ วตถุประสงค์ ั ๑. เพื่อให้มีโครงสร้างที่กะทัดรัด มีระบบการบริ หารที่มีความคล่องตัว สามารถดําเนิ นงานทุกด้าน ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เกิดประสิ ทธิผล โปร่ งใสและตรวจสอบได ้ ๒. เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรทุ ก ระด ับ เป็ นผู้มี ค วามรู้ ความสามารถและเป็ นผู้น ํา ทางวิ ช าการด ้า น พระพุทธศาสนา ๓. เพื่อให้สามารถปฏิบติภารกิ จหลักทั้งในด้านการบริ หาร การจัดการศึกษาศาสนศึกษา การวิจย ั ั การบริ การวิชาการแก่ชุมชน และการทํานุบารุ งศิลปวัฒนธรรมได้ตามเป้ าหมาย ํ ๔. เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็ นศูนย์กลางการศึกษา การวิจยด้านพระพุทธศาสนาและปรัชญา ใน ั ระดับภูมิภาคและนานาชาติ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 11. หนา ๑๓ ้ ๕. เพื่อผลิ ต บัณ ฑิ ต ให้มีความเป็ นเลิศทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาสามารถประยุก ต์เข้ากับ ศาสตร์สาขาต่าง ๆ มีปฏิปทาที่น่าเลื่อมใส ใฝ่ รู้ใฝ่ คิด มีความเป็ นผูนาทางจิตใจและปั ญญา มีความคิดริ เริ่ ม ้ ํ สร้ างสรรค์ มีโ ลกทัศน์ กว้างไกล สามารถก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลกมีศรั ทธาที่ จ ะอุทิศตนเพื่อ พระพุทธศาสนา มีคุณธรรม จริ ยธรรมและเสียสละเพื่อส่วนรวม ๖. เพื่อให้สามารถระดมทุ น จากแหล่งต่าง ๆ ให้เพียงพอต่อการจัด หาและพัฒ นาอาคาร สถานที่ บุคลากร ครุ ภณฑ์การศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศตามเป้ าหมายที่กาหนด ั ํ วสัยทัศน์ของวทยาลัยสงฆ์เลย ิ ิ จดการศึกษาและเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ั ยุทธศาสตร์ ของวิทยาลัยสงฆ์ เลย ๑. ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙ ประการ ๒. พัฒนากระบวนการเรี ยนการสอน ๓. บริ การวิชาการด้านพระพุทธศาสนา ๔. ทํานุ บารุ งศิลปวัฒนาธรรม ํ ๕. พัฒนากระบวนการบริ หารอย่างมีประสิทธิภาพ ๖. การวิจยโดยร่วมมือกบสถาบนการศึกษาในทองถ่น ั ั ั ้ ิ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 12. หนา ๑๔ ้ โครงสร้างการแบ่งส่วนงานและการบริหารระดับวทยาเขต ิ สภาวิทยาเขต รองอธิการบดี คณะอนุกรรมการบริหารบุคคล คณะกรรมการประจําวิทยาเขต ประจําวิทยาเขต ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกจการทวไป ิ ่ั ผ้ ูช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ทปรึกษารองอธการบดี ี่ ิ สํานักงานวิทยาเขต สํานักวิชาการ วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น วิทยาลัยสงฆ์เลย - ฝ่ ายบริหารงานทั่วไป - ฝ่ ายวิชาการและวิจัย - ฝ่ ายบริหารงานทั่วไป - ฝ่ ายบริหารงานทั่วไป - ฝ่ายคลังและพัสดุ - ฝ่ายทะเบียนและวัดผล - ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ - -สาขาวิชาหลักสูตรและกา ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ - ฝ่ ายนโยบายและแผน - ฝ่ ายห้ องสมุดและ เทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาพระพุทธศาสนา - สาขาหลักสูตรและการสอน - สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน - สาขาวิชาศาสนา - สาขาวิชารัฐศาสตร์ - สาขาวิชารัฐศาสตร์ - สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ - สาขาวิชาพระพุทธศาสนา - สาขาวิชาสังคมวิทยาและฯ - โครงการขยายห้ องเรียน จ.ร้ อยเอ็ด - ศูนย์วิทยบริการจังหวัดมหาสารคาม - บัณฑิตวิทยาลัยห้ องเรียนวิทยาเขตขอนแก่น รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 13. หนา ๑๕ ้ โครงสร้างการบริหารส่วนงานวทยาลัยสงฆ์เลย ิ โครงสร้างการบริหารส่วนงานวิทยาลัยสงฆ์เลย ผูอานวยการวทยาลยสงฆเ์ ลย ้ํ ิ ั รองผูอานวยการวทยาลยสงฆเ์ ลยเลย(ฝ่ายวชาการ) ้ํ ิ ั ิ รองผูอานวยการวทยาลยสงฆเ์ ลยเลย(ฝ่ายบริหาร) ้ํ ิ ั สาขาวิชา ฝ่ายบริหารงานทวไป ั่ ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ - เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี - เจ้าหน้าทีบรรณารักษ์ ่ - สาขาวชาหลกสูตรและการสอน ิ ั - เจา้ หนา้ ท่บริหารงานทวไป ี ั่ - กจการนิสิต ิ - สาขาวชาศาสนา ิ -นกการภารโรง ั - ทะเบียนและวัดผล - สาขาวชารฐศาสตร ์ ิ ั - เจ้าหน้าทีนกประชาสัมพันธ์ ่ ั - เจ้าหน้าทีเ่ ทคโนโลยีสานสนเทศ - สาขาวชาพระพทธศาสนา ิ ุ - พนกงานขบรถ ั ั - แม่บ ้าน - คนสวน ด้ านการบริหาร คณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆ์ มีอานาจหน้าที่ให้คาแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินการต่างๆภายใน ํ ํ วิทยาลัยสงฆ์เลย ประกอบด้วย ๑. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, ผศ.ดร. ประธานกรรมการ ๒. พระมหาลิขิต รตนรํสี รองประธานกรรมการ ๓. พระครู ใบฎีกาจํานง ฉนฺ ทธมฺโม กรรมการโดยตาแหน่ง ํ ๔. ดร.ชาญชัย ฮวดศรี กรรมการโดยตาแหน่ง ํ ๕. พระสุวรรณธีราจารย ์ กรรมการจากคณาจารยประจา ์ ํ ๖. พระมหาสุ ภวิชญ์ ปภสฺ สโร กรรมการจากคณาจารยประจา ์ ํ ๗. ดร.วิทยา ทองดี กรรมการจากคณาจารยประจา ์ ํ ๘. พันเอกพิชิต สัตถาผล กรรมการผทรงคุณวฒิ ู้ ุ ๙. ดร.อุดร จันทวัน กรรมการผทรงคุณวฒิ ู้ ุ ๑๐. ผศ.แสวง สาระสิ ทธิ์ กรรมการผทรงคุณวฒิ ู้ ุ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 14. หนา ๑๖ ้ ๑๑. นายกองสิ นทร์ เกตะวันดี กรรมการผทรงคุณวฒิ ู้ ุ ๑๒. นายทองพูล ขุนเรศ กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ้ ๑๓. พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต กรรมการและเลขานุการ งบประมาณ หน่วยนับ สาขาวิชา สาขาวิชา สาขาวิชาหลักสูตรและ รายรับ/รายจ่ าย (คน/บาท) พระพุทธศาสนา รัฐศาสตร์ การสอน ๑.รายรับท้งหมดของสถาบัน ั ๑๗๓๗๑๓๙.๓๓ ๖,๓๔๒,๙๖๐.๒๔ ๘,๓๖๕,๓๕๓.๓๖ ๒,๖๖๕,๘๘๑.๘๔ (ปีงบประมาณ) ๒. รายรับจากการบริการ ๓,๒๔๒,๑๐๕. ๑,๑๘๓,๖๒๖ ๑,๕๖๑,๐๑๔ ๔๙๗,๔๖๖ วิชาการและวิชาชีพ ๓. ค่าใช้ จ่ายทั้งหมดของ ๑๖,๑๕๔,๑๕๗.๒๒ ๕,๘๙๗,๕๕๐.๐๕ ๗,๗๗๗,๙๒๘.๓๔ ๒,๔๗๘,๖๘๐.๔๖ สถาบันโดยไม่รวมครุภัณฑ์ อาคารสถานที่และที่ดิน(ปี การศึกษา) ๔. ค่าใช้ จ่ายทั้งหมดของ ๑๖,๘๔๙,๑๗๐.๕๐ ๖,๑๕๑,๒๘๔.๔๕ ๘,๑๑๒,๕๖๓.๕๕ ๒,๕๘๕,๓๒๒.๔๕ สถาบันโดยไม่รวมครุภัณฑ์ อาคารสถานที่และที่ดิน (ปีงบประมาณ) ๕.ค่าใช้ จ่ายด้ านครุภัณฑ์ ๒,๖๔๑,๘๓๘ ๙๖๔,๔๘๑.๓๑ ๑,๒๗๑,๙๙๗.๐๙ ๔๐๕,๓๖๑.๗๑ อาคาร สถานที่และที่ดิน (ปีงบประมาณ) ๖. ค่าใช้ จ่ายมูลค่าในการ ๑๐,๘๗๘,๕๔๑ ๓,๙๗๑,๕๓๐.๙๘ ๕,๒๓๗,๘๑๖.๒๒ ๑,๖๖๙,๑๙๔.๑๘ บริการวิชาการและวิชาชีพ ๗.ค่าใช้ จ่ายมูลค่าในการทํานุ ๑๓๘,๕๐๐ ๕๐,๕๖๓.๘๙ ๖๖,๖๘๕.๗๑ ๒๑,๒๕๑.๔๙ บํารุงศิลปวัฒนธรรม ๘.ค่าใช้ จ่ายเพื่อพัฒนา ๑๘๖,๕๐๐ ๖๘,๐๘๖.๔๔ ๘๙,๗๙๕.๑๖ ๒๘,๖๑๖.๐๔ อาจารย์และบุคลากรสาย ปฏบัติการ ิ ๙.ค่าใช้ จ่ายที่ใช้ ในระบบ ๙๐,๓๖๐ ๓๒,๙๘๙.๕๙ ๔๓,๕๐๘.๐๑ ๑๓,๘๖๕.๑๙ ห้ องสมุด คอมพิวเตอร์ และ สูนย์สารสนเทศ (ปีงบประมาณ) ๑๐.เงินเหลือจ่ายสุทธิ ๑,๑๒๕,๒๘๙.๘๕ ๔๑๐,๘๒๐.๔๘ ๕๔๑,๘๐๖.๗๒ ๑๗๒,๖๖๓.๖๘ (ปีงบประมาณ) ๑๑.สินทรัพย์ถาวร ๒,๖๔๑,๘๓๘ ๙๖๔,๔๘๑.๓๑ ๑,๒๗๑,๙๙๗.๐๙ ๔๐๕,๓๖๑.๗๑ (ปีงบประมาณ) รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 15. หนา ๑๗ ้ บุคลากรวิทยาลัยสงฆ์เลย ตาราง แสดงจํานวนบุคลากรทั้งหมด ประจาปี ๒๕๕๔ จําแนกตามประเภท ํ บุคลากร จานวน ํ ๑. อาจารยประจา ์ ํ ๖ ๒. เจ้าหน้าที่สายปฏิบติการวิชาชีพ ั ๒ ๓. ลูกจ้างชัวคราว ่ ๑๐ ตาราง แสดงวุฒการศึกษาของเจ้ าหน้ าที่ และอาจารย์ประจา ิ ํ วุฒิการศึกษา ตําแหน่งทาง ปริ ญญาเอก ปริ ญญาโท วิชาการ ๑. อาจารย์ ๑ ๑ ๕ ๒. เจ้าหน้ าที่ - ๒ รวม ๑ ๗ ตาราง แสดง เลขประจาตาแหน่งและวนเดือนปีทบรรจุ ํ ํ ั ี่ จานวน เลขประจาตาแหน่ง ํ ํ ํ ชื่อตาแหน่ง ํ ชื่อ-ฉายา/นามสกุล ว/ด/ป/บรรจุ สายวิชาการ ๑ ๗๙๓ อาจารย์ พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี ๑ พ.ค. ๒๕๕๔ ๒ ๔๕๙ อาจารย์ ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์พรพวณ ั ๒ ๒ มิ.ย. ๒๕๔๗ ๓ ๗๑๙ อาจารย์ พระมหาลิขิต รตนรํสี ๒ พ.ค. ๒๕๔๘ ๔ ๗๘๓ อาจารย์ พระมหาสุภวิชญ์ ปภสฺสโร ๑๖ พ.ค.๒๕๔๙ ๕ ๗๘๔ อาจารย์ พระมหาสังเวช จนฺ ทโสภี ๑๖ พ.ค.๒๕๔๙ ๖ ๗๑๘ อาจารย์ พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต ๑ เม.ย.๒๕๕๑ สายปฏิบติการวิชาชีพและบริ หารทัวไป ั ่ ๑ ๔๘๑ นักวิชาการ นายธงชัย สิงอุดม ๑ ส.ค.๒๕๓๔ ๒ ๔๘๐ เจาหนาที่บริหารงานทวไป นายประสงค์ หัสริ นทร์ ้ ้ ั่ ๒ พ.ค.๒๕๔๘ ลูกจ้างชั่วคราว ๑ - เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ นางสาวยาติมา วงค์อินทร์ ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ๒ - เจ้าหน้าที่การเงิน นายศราวุธ สารพิมพา ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ๓ - เจ้าหน้าที่การเงิน นางสาวมุทิตา โลขันสา ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ๔ - นกการภารโรง ั นายสุริยา วงศ์พยัคฆ์ ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ๕ - นกการภารโรง ั นายสัญญา ปิ ตุโส ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ๖ - พนักงานขับรถ นายต่อ ผิวสิริ ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 16. หนา ๑๘ ้ ๗ - แม่บาน ้ นายพิยดา ดาวงษา ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ๘ - คนสวน นายเสด็จ พรมพุทธา ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ๙ - เจ้าหน้าที่ธุรการ นายเจียระไน แจ้งกระจ่าง ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ๑๐ - เจ้าหน้าที่พระสอน นายนพพล ทองพูล ๑ ต.ค. ๕๓– ๓๐ก.ย.๕๔ ศีลธรรมในโรงเรียน ทรัพยากรสารสนเทศ ประเภท ปี ๒๕๕๓ ปี ๒๕๕๔ หนังสือตําราภาษาไทย ๕,๕๑๘ เล่ม ๕,๕๑๘ เล่ม หนังสือตําราภาษาอังกฤษ ๘๐๐ เล่ม ๘๐๐ เล่ม วารสารภาษาไทย ๙๒ เรื่ อง ๘๐ เรื่ อง งานวิจยั ๕๗ เรื่ อง ๕๗ เรื่ อง วิทยานิพนธ์ ๒๒ เรื่ อง ๒๒ เรื่ อง สื่อโสต ๗๔ เรื่ อง ๗๔ เรื่ อง (ที่มา : ฝ่ายหองสมุดและเทคโนโลย) ้ ี หลักสู ตรและสาขาวิชาทีเ่ ปิ ดสอน ตาราง แสดงจํานวนหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิ ดสอนในปี การศึกษา ๒๕๕๔ จําแนกตามสาขาวิชา สาขาวิชา ปริญญาตรี รวม หมายเหตุ ๑.สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา ๑ ๑ ๒.สาขาวิชาหลกสูตรและการสอน ั ๑ - การสอนภาษาไทย ๑ ๓. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๑ ๑ - พระพุทธศาสนา ๔. สาขาวิชารัฐศาสตร์ - การปกครอง ๑ ๒ - ประกาศนี ยบัตรการบริ หารกิจการคณะ ๑ สงฆ์ (ป.บส.)*** ***หลักสูตรตํ่ากว่าปริ ญญาตรี (ที่มา : ฝ่ ายทะเบียนและวัดผล) รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 17. หนา ๑๙ ้ จํานวนนิสิต ตารางแสดง จํานวนนิสิตชั้นปี ที่ ๑ – ๔ แยกตามคณะ/สาขาวิชาเอก ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๔ ปี การศึกษา ๒๕๕๔ คณะ/สาขาวิชา ปี ๑ ปี ๒ ปี ๓ ปี ๔ ปี ๕ รวม สาขาวิชาศาสนา - - - - - คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๔๖ ๕๒ ๕๘ ๕๓ ๒๐๗ คณะครุ ศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ๖๑ ๙ ๘ ๘ ๑ ๘๗ สาขาวิชาการเมืองการปกครอง(พระ) ๑๘ ๖ ๗ ๗ ๓๘ คณะ สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอก ๒๓๕ สังคมศาสตร์ ๑๐๕ ๘๕ ๔๕ การเมืองการปกครอง(คฤหัสถ์) รวมทั้งสิ้น ๒๐๓ ๘๕ ๑๑๖ ๖๘ ๑ ๕๖๗ (ที่มา : งานทะเบียนและวัดผล) จํานวนนิสิตที่สําเร็จการศึกษา ปี การศึกษา ๒๕๕๔ สาขาวิชา จานวน ํ ๑.สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๔๔ ๒.สาขาวิชาหลกสูตรและการสอน ั - การสอนภาษาไทย ๑ - ประกาศนี ยบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ** - ๓. สาขาวิชารัฐศาสตร์ - การปกครอง ๓๒ - ประกาศนียบัตรการบริ หารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) *** ๓๒ รวม ๑๐๙ ** หลักสูตรสูงกว่าปริ ญญาตรี *** หลักสูตรตํ่ากว่าปริ ญญาตรี รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 18. หนา ๒๐ ้ ระบบและกลไกประกันคุณภาพการศึกษาของส่ วนงาน ระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษานั้น มีคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง กิจกรรมควบคุมคุณภาพในวิทยาลัยสงฆ์เลย โดยการดําเนินการ ของวิทยาลัยสงฆ์เลยเอง เพื่อให้มีความมันใจว่าวิทยาลัยสงฆ์เลย ดําเนินการตามภารกิจหลักอย่างมีคุณภาพ ่ กระบวนการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย ๑. ระบบการคุมคุณภาพ ๒. การตรวจสอบคุณภาพ ๓. การประเมินคุณภาพ โครงสร้ างการประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยสงฆ์เลย ระบบการควบคมคุณภาพ ุ ระบบการตรวจสอบคุณภาพ ระบบการประเมนคุณภาพ ิ พัฒนาการควบคุมการ พัฒนาระบบการตรวจสอบการ พัฒนาระบบการประเมินผลภายใน ปฏิบติงานให้เกิดคุณภาพ โดย ั ปฏิบติงานโดยตนเองและรายงาน ั และสนับสนุนส่ งเสริ มให้ การ กําหนดนโยบายเกณฑ์/ การดําเนินตามเกณฑ์ / มาตรฐาน พัฒนาการจัดการศึกษาโดย มาตรฐานตัวบ่งชี้ของ ตวบ่งช้ ีโดย ั - การประเมินภายใน - ตัวป้ อน -จดกระบวนการตรวจ สอบ ั - การจดทากรอบการประเมิน ั ํ - กระบวนการ ภายในเพื่อให้มีการปฏิบติตาม/ ั - เครื่องมือการประเมิน นาผลการ ํ - ผลผลิต มาตรฐานตัวบ่งชี้ ประเมินมาพิจารณาสนับสนุน - ผลลพธ์ั -การตรวจสอบการปฏิบติจากั ส่ งเสริ มให้เป็ นการพัฒนาอย่าง คณะกรรมการ ต่อเนื่อง -ตรวจสอบหลักฐาน รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔
  • 19. ๒๑ ส่ วนที่ ๓ ผลการดําเนินงานและผลการประเมินคุณภาพ เทียบกับเกณฑ์และเทียบกับเปาหมาย ้ ในรอบปี ปัจจุบัน ตามตัวบ่ งชี้ในแต่ละองค์ประกอบ องค์ประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการดําเนินการ ตัวบ่ งชี้ที่ ๑.๑ กระบวนการพัฒนาแผน เกณฑ์การประเมิน การดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ๑. มีก ารจัด ท า แผนพ ัฒนาที่ ส อดคลอ งก ับ นโยบายของสภา ํ ้ ๑. ทาแผนพฒนาที่สอดคลองกบพนธกิจ ปรัชญา ปณิธาน และ ํ ั ้ ั ั  ๑.๑.๑-๑ แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะที่ ๑๐ มหาวิทยาลัย โดยการมีส่วนร่ วมของบุคลากรในมหาวิทยาลัย วตถุประสงค์ ของมหาวิทยาลัย ั  ๑.๑.๑-๒ ประเดนยทธศาสตร์ ็ ุ และได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย โดยเป็ นแผนที่  ๒. ตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัย และมีการประชุม  ๑.๑.๒.๑-๑ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํา เชื่ อ มโยงก ั บ ปรั ชญาหรื อปณิ ธานและพระราชบ ั ญ ญ ั ติ คณะกรรมการฯเพื่อจัดทําแผน แผนพัฒนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ตลอดจนสอดคล้องกับจุ ดเน้นของกลุ่มสถาบัน  ๑.๑.๒.๑-๒ รายงานการประชุมคณะกรรมการจดทา ั ํ กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบบที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑ ั แผนพฒนาั – ๒๕๖๕) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่  ๓. ทําแผนพัฒนามหาวิทยาลัย โดยการระดมความคิดเพื่อใหบุคลากร  ๑.๑.๓.๑ ลายมือชื่อบุคลากรที่เข้าร่ วมการระดม ้ ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๑ – ๒๕๕๔) ทุกฝ่ ายมีส่วนร่ วม ความคิด/ประชาพิจารณ์แผน  ๔. วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแผนพัฒนากับปรัชญา ปณิ ธาน  ๑.๑.๔.๑-๑ ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่าง พระราชบัญญัติ และ นโยบายของมหาวิทยาลัย แผนพฒนากบปรัชญา ปณิธาน พระราชบญญติและ ั ั ั ั นโยบายของมหาวิทยาลัย  ๑.๑.๔.๑-๒ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ๑.๑.๔.๑-๓นโยบายสภามหาวิทยาลัยปรัชญา ปณิธาน รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี ๒๕๕๔