SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
แนวคิดหลักใน 
การวัดและ 
ประเมินผลการ 
ศึกษา
ศัพท์สำาคัญ 
การวัด (measurement) หมายถึง การกำาหนดปริมาณให้กับสิ่ง 
ที่ต้องการวัด ไม่ว่าจะเป็น วัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ 
หรือพฤติกรรมต่าง ๆ โดยจะต้องมีความหมาย เป็นไปตามกฏเกณฑ์ 
ซึ่งการจะได้มาซึ่งปริมาณนั้น อาจต้องใช้เครื่องมือไปวัดเพื่อให้ได้ 
ปริมาณที่สามารถแทนคุณลักษณะต่าง ๆ ของสิงที่ต้องการวัด 
การวัดผลแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 
1. การวัดทางตรง เป็นการวัดคุณลักษณะที่ต้องการวัดได้ 
โดยตรง เรียกอีกอย่างว่า การวัดด้านวิทยาศาสตร์ หรือการวัดทาง 
กายภาพ 
2. การวัดทางอ้อม เป็นการวัดคุณลักษณะที่ต้องการโดยตรงไม่ 
ได้ สิ่งที่วัดเป็นนามธรรม ต้องวัดโดยผ่านกระบวนการทางสมองหรือ 
พฤติกรรม
การวัดทางอ้อมแบ่งออกเป็น 3 ด้านคือ 
2.1 ด้านสติปัญญา (Cognitive Domain) 
2.2 ด้านความรู้สึก (Affective Domain) 
2.3 ด้านทักษะกลไก (Psychomotor 
Domain)
การทดสอบ (testing) หมายถึง เครื่องมือหรือสิ่งเร้าที่ไปเร้าให้ผู้ 
ถูกทดสอบได้แสดงพฤติกรรมหรือความสามารถที่ต้องการออกมา ผล 
การทดสอบมักออกมาในรูปของคะแนน และคะแนนเป็นสิ่งที่แทน 
ความสามารถของบุคคล ดังนั้นการทดสอบจึงควรจะมีประสิทธิภาพ 
โดยใช้เครื่องมือการทดสอบวัดที่มีคุณภาพ และต้องพยายามดำาเนิน 
การทดสอบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และให้ความยุติธรรมแก่ผู้ 
ถูกทดสอบทุกคน ภายใต้สถานการณ์เดียวกัน องค์ประกอบของการ 
ทดสอบมีดังนี้ 
1. บุคคลที่ถูกทดสอบ 
2. เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ 
3. การดำาเนินการทดสอบ 
4. ผลการทดสอบในรูปของคะแนนที่แทนความสามารถ 
ของผู้ถูกทดสอบ
การวัดผลการศึกษา (educational 
measurement) คือการสอบและการวัดต่าง ๆ ที่ใช้ 
ในการจัดการศึกษา มักเกี่ยวข้องกับการวัดความ 
สามารถ วัดผลสัมฤทธิ์ วัดคุณลักษณะของผู้เรียน วัด 
ทักษะปฏิบัติต่าง ๆ ของผู้เรียน 
การประเมิน (assessment) มักนำามาใช้แทนการวัด 
ทางการศึกษา เป็นคำาที่ใช้แทนเพื่อแสดงให้เห็นถึงวิธี 
การวัดที่นอกเหนือจากการสอบแบบเดิม ซึ่งมีอยู่หลาก 
หลาย เช่น 
การประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) 
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นและอยู่ในการเรียนการสอน 
เป็นการวัดและประเมินตามสภาพแท้จริงของผู้เรียน 
ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
การประเมินทางเลือก (alternative 
assessment) เป็นการประเมินอื่น ๆ ที่นอก 
เหนือจากการใช้ข้อสอบแบบเดิม รวมถึงการ 
ประเมินภาคปฏิบัติ การสังเกต การสัมภาษณ์ 
การใช้แฟ้มสะสมงาน เป็นต้น 
การประเมินภาคปฏิบัติ (performance-base 
assessment) เป็นแบบหนึ่งของการประเมิน 
ทางเลือก เป็นการประเมินเกี่ยวกับทักษะการ 
แสดงออก การเคลื่อนไหวทางร่างกายและ 
ประสาทสัมผัส เช่น การสื่อสาร การเล่นเครื่อง 
ดนตรี การเล่นกีฬา เป็นต้น
การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การนำา 
ตัวเลขที่ได้จากการวัด (measurement) รวมกับ 
การใช้วิจารณญาณของผู้ประเมินมาตัดสินผล 
(judgement) โดยการตัดสินนั้นอาจไปเปรียบเทียบ 
กับเกณฑ์ เพื่อให้ได้ผลเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น 
เนื้อปลาชิ้นนี้หนัก 0.5 กิโลกรัมเป็นเนื้อปลาชิ้นที่ 
เบาที่สุดในร้าน เด็กชายแดงได้คะแนนวิชาภาษา 
ไทย 42 คะแนนซึ่งไม่ถึง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ 
ผ่าน เป็นต้น 
ประเมินผลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 
1. การประเมินแบบอิงกลุ่ม 
2. การประเมินแบบอิงเกณฑ์
องิกลมุ่ องิเกณฑ ์ 
1. การประเมนิผลเปน็การเปรยีบเทยีบคะแนน 
ทสี่อบไดก้บัคะแนนของคนอนื่ในกลมุ่ 
1. การประเมนิผลเปน็การเปรยีบเทยีบคะแนน 
ทสี่อบไดก้บัเกณฑท์กี่ำาหนดไว้ 
2. เหมาะสำาหรบัการคดัเลอืกแขง่ขนักนั 
มากกวา่การเรยีนการสอน 
2. เหมาะสำาหรบัการเรยีนการสอนเพราะเปน็ 
การสอบวดัเพอื่ปรบัปรงุการเรยีนการสอน 
3. เสนอคะแนนในรปูของอนัดบัทรี่อ้ยละ 
(percentile rank) หรือคะแนนมาต รฐาน 
3. เสนอคะแนนในรปูของการเรยีนรู้หรอืยงัไม่ 
เรยีนรู้ผา่นหรอืไมผ่า่นตามเกณฑท์กี่ำาหนดไว้ 
4. ใชแ้บบทดสอบเดยีวกนัสำาหรบันกัเรยีนทงั้ 
ชนั้ไดห้รอือาจใชแ้บบทดสอบคขู่นานเพอื่ทำาให้ 
สามารถเปรยีบเทยีบกนัได้ 
4. ไมจ่ำาเปน็ตอ้งใชแ้บบทดสอบฉบบัเดยีวกนั 
ทงั้ชนั้ เนอื่งจากไมม่กีารเปรยีบเทยีบกบัคนอนื่ 
5. แบบทดสอบมคีวามยากงา่ยพอเหมาะไม่ 
ยากเกนิไปหรอืงา่ยเกนิไป เนอื้หาทถี่ามตอ้ง 
เปน็ตวัอยา่งของเนอื้หาทงั้หมด 
5. แบบทดสอบคอ่นขา้งงา่ย เขยีนตามเนอื้หา 
และจดุมงุ่หมายทกี่ำาหนดไว้ 
6. ความเทยี่งตรงของแบบทดสอบทกุแบบมี 
ความสำาคญั 
6. ความเทยี่งตรงตามเนอื้หามคีวามสำาคญัมาก 
7. อำานาจจำาแนกของขอ้สอบ ควรสามารถ 
จำาแนกผสู้อบออกเปน็กลมุ่สงูและกลมุ่ตำ่า 
7. อำานาจจำาแนกของขอ้สอบ ควรสามารถ 
จำาแนกผสู้อบออกเปน็กลมุ่รอบร-ู้ไมร่อบรู้ 
หรอืผา่น-ไมผ่า่น
ขอ้ดี- ขอ้เสยีของการประเมนิผลแบบองิกลมุ่ 
ขอ้ดีขอ้เสยี 
1. สามารถเปรยีบเทยีบคะแนนความสามารถ 
ของนกัเรยีนกบับคุคลอนื่ 
1. การเปรยีบเทยีบคะแนนกนัภายในกลมุ่ 
กอ่ใหเ้กดิการแขง่ขนัชงิดชีงิเดน่ขาดการ 
ชว่ยเหลอืซงึ่กนัและกนั 
2. ใชไ้ดด้ใีนการสอบคดัเลอืกและพยากรณ ์2. ไมส่ามารถนำาคะแนนไปใชป้ระเมนิผลแบบ 
องิเกณฑไ์ด้ 
3. สง่เสรมิใหน้กัเรยีนพฒันาตนเองตลอดเวลา 
เพราะตอ้งนำาคะแนนไปเปรยีบเทยีบกบัคนอนื่ 
3. เปน็การประเมนิผเู้รยีนเปน็สว่นใหญ่ไมไ่ด้ 
ประเมนิผสู้อน หรอืกระบวนการเรยีนการสอน 
4. สะดวกในการออกขอ้สอบ เนอื่งจากใช้ 
ขอ้สอบเดยีวกนัทงั้หอ้ง 
4. เปน็ผลเสยีทางดา้นจติใจแกผ่ทู้ไี่ดค้ะแนนตำ่า 
กวา่ผอู้นื่
ขอ้ดี- ขอ้เสยีของการประเมนิผลแบบองิเกณฑ ์ 
ขอ้ดีขอ้เสยี 
1. เปน็การประเมนิเพอื่ปรบัปรงุการเรยีนการ 
สอนใหด้ขีนึ้สอดคลอ้งกบัปรชัญา “สอบเพอื่ 
คน้หาและพฒันาสมรรถภาพมนษุย”์ 
1. ไมค่ำานงึถงึความยากงา่ยของขอ้สอบ 
2. สง่เสรมิใหม้กีารชว่ยเหลอืซงึ่กนัและกนั 2. การกำาหนดเกณฑท์เี่หมาะสมทำาไดย้าก 
เนอื่งจากมลีกัษณะเปน็อตันยั 
3. เปน็การประเมนิทงั้ตวัผเู้รยีนและผสู้อน 
รวมทงั้กระบวนการเรยีนการสอนดว้ย 
4. สง่เสรมิใหผ้เู้รยีนเรยีนอยา่งมจีดุมงุ่หมาย 
3. วธิดีำาเนนิการสอบเปน็ภาระยงุ่ยากแกผ่สู้อน
การประเมินผลนั้นต้องมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการคือ 
1) ผลการวัด (measurement) 
2) เกณฑ์การพิจารณา (criteria) 
3) การตัดสินใจ (judgement) 
การประเมินผลที่เที่ยงธรรม ย่อมมาจากการวัดผลที่ดี 
คือควรวัดด้วยเครื่องมือหลาย ๆ อย่าง อย่างละหลาย ๆ 
ครั้ง ครั้งละมาก ๆ ข้อ นั่นคือการวัดซำ้า 4 ครั้งด้วยเครื่อง 
มือที่แตกต่างกัน ย่อมดีกว่าการวัดเพียงครั้งเดียว หรือ 
วัดด้วยข้อสอบ 20 ข้อย่อมดีกว่าวัดด้วยข้อสอบเพียง 5 
ข้อ
ลักษณะและข้อจำากัดของการวัดผลการ 
ศึกษา 
1. การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม เพราะเป็นการวัด 
คุณลักษณะนามธรรมที่อยู่ภายในตัวบุคคล ซึ่งไม่สามารถ 
สังเกตเห็นได้โดยตรง 
2. การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์ คือไม่สามารถวัด 
คุณลักษณะหรือพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ต้องการได้อย่างครบถ้วน 
สมบูรณ์ 
3. ผลจากการวัดย่อมเกิดความคลาดเคลื่อนเสมอ 
คะแนนจากการวัด จึงเท่ากับความสามารถที่แท้จริงกับ 
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัด เขียนเป็นสมการได้ 
ว่า 
X = T + E 
เมื่อ X แทนคะแนนที่ได้จากการวัด T แทนความสามารถ 
ที่แท้จริง และ E แทนความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัด
ระดับของผลการวัด 
1. ระดับนามบัญญัติ (nominal 
scale) 
2. ระดับเรียงอันดับ (ordinal scale) 
3. ระดับช่วง (interval scale) 
4. ระดับอัตราส่วน (ratio scale)
หลักการวัดผลการศึกษา 
การจะดำาเนินการวัดผลสิ่งใด หรือในโอกาส 
ใดก็ตาม ผู้วัดย่อมต้องการผลการวัดที่มีคุณภาพ 
เช่น ให้เชื่อถือได้ ให้ตรงกับความเป็นจริง เพื่อ 
จะนำาผลไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมั่นใจ การ 
ที่จะดำาเนินการตามความต้องการดังกล่าวนั้น 
จำาเป็นต้องมีหลักเกณฑ์ที่ดีสำาหรับยึดถือเป็น 
แนวทางของการปฏิบัติ หลักเกณฑ์หรือองค์ 
ประกอบสำาคัญที่ถือว่าเป็นหลักของการวัดผล 
การศึกษา มีดังนี้
1. วัดให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ 
1.1 ทำาความเข้าใจคุณลักษณะที่ต้องการวัด 
1.2 ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมถูกต้อง 
1.3 วัดให้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุม 
2. ใช้เครื่องมือวัดผลที่หลากหลายและมีคุณภาพ
3. มีความยุติธรรม 
3.1 เครื่องมือที่ใช้ 
- วัดครอบคลุมทุกเรื่องทุกแง่มุม 
- ไม่ควรให้ผู้เรียนเลือกตอบเพียงบางข้อได้ 
เช่น ออกข้อสอบ 6 ข้อให้เลือกทำา 3 ข้อ 
- ใช้ภาษาชัดเจน ไม่วกวน 
- คำาถามไม่ควรตอบกันเอง เช่น ข้อหลัง ๆ 
แนะนำาคำาตอบของข้อแรก ๆ เป็นต้น 
- ควรใช้แบบทดสอบชุดเดียวกัน หากใช้ 
ข้อสอบคนละชุดจะมีความยากง่ายแตกต่างกัน
3.2การใช้เครื่องมือ 
- บอกใบ้คำาตอบระหว่างที่มีการสอบวัด 
- ส่งเสียงรบกวนระหว่างที่ผู้สอบใช้ความคิด 
- ใช้เครื่องมือที่พิมพ์ผิดมาก ๆ ไม่มีคำาตอบ 
ถูก หรือมีคำาตอบถูกหลายตัว 
- ทำาเฉลยผิด ตรวจผิด ให้คะแนนอย่างไม่มี 
หลักเกณฑ์ 
4.ประเมินผลได้ถูกต้อง
5. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า 
- เด็กคนนี้มีความสามารถ เด่น – ด้อย 
ด้านไหน 
- เด็กงอกงามมากขึ้นเพียงใด 
- เครื่องมือที่ใช้มีคุณภาพอย่างไร
ขั้นตอนในการวัดผลการศึกษา 
1. ขั้นวางแผน 
1.1 กำาหนดจุดมุ่งหมาย 
- สอบใคร เพื่อทราบระดับความยากง่ายที่เหมาะกับกลุ่มผู้ 
สอบ 
- สอบไปทำาไม เพื่อทราบชนิด/ลักษณะเครื่องมือที่ใช้ 
- สอบอะไร เพื่อทราบสิ่งที่ต้องการวัด 
1.2 กำาหนดสิ่งที่จะวัด คือพยายามกำาหนดว่าเนื้อหา 
ใด คุณลักษณะหรือพฤติกรรมใดที่ต้องการสอบวัด แต่ละ 
เนื้อหาและพฤติกรรมนั้น ๆ จะวัดมากน้อยเพียงใด
1.3 กำาหนดเครื่องมือ การวัดคุณลักษณะหรือ 
พฤติกรรมที่ต้องการนั้น ควรใช้เครื่องมืออะไรบ้าง จึงจะ 
วัดได้ตรงตามความต้องการได้อย่างครบถ้วน 
- รูปแบบคำาถามที่ใช้ 
- จำานวนข้อคำาถามและเวลาที่ใช้ในการวัด 
- วิธีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 
- ผู้รับผิดชอบในการสร้างเครื่องมือ 
- กำาหนดเวลาในการสร้างเครื่องมือ 
- วิธีการที่จะให้ผู้เรียนตอบ 
- วิธีการตรวจให้คะแนน และการบันทึกผลคะแนน
2. ขั้นดำาเนินการสร้างเครื่องมือ 
2.1 เขียนข้อคำาถาม 
2.2 พิจารณาคัดเลือกข้อคำาถาม 
2.3 พิจารณาข้อคำาถามทั้งหมดที่ใช้ 
2.4 พิมพ์และอัดสำาเนาเครื่องมือ 
2.5 ทำาเฉลย 
2.6 จัดเตรียมเครื่องมือที่จะใช้
3. ขั้นใช้เครื่องมือ เป็นการนำาเครื่องมือไปทดสอบ 
กับผู้เรียน โดยต้องดำาเนินการสอบให้เกิดความ 
ยุติธรรมแก่ผู้เข้าสอบทุกคน พยายามหลีกเลี่ยง 
การรบกวนเวลาในการคิดของผู้เรียน ควรชี้แจง 
วิธีคิดคำาตอบ ชี้แจงวิธีการตอบ 
4. ขั้นตรวจและใช้ผลการวัด 
4.1 แปลงคำาตอบของผู้เรียนให้เป็นคะแนนตาม 
เกณฑ์ที่กำาหนด แล้วจดบันทึก 
4.2 รวบรวมคะแนนของผู้เรียนที่ได้จากการวัด 
ทุกชนิด ทุกระยะเพื่อนำาไปใช้ในการประเมินผล 
และใช้ผลตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการ
5. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ นำาผล 
การวัดมาใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบ 
คุณภาพของเครื่องมือเป็นรายข้อและทั้ง 
ฉบับเพื่อใช้พิจารณาว่าข้อสอบนั้นมี 
คุณภาพมากน้อยเพียงใด ควรแก้ไข 
ปรับปรุงในเรื่องใด รวมทั้งยังช่วยเก็บ 
รวบรวมข้อสอบที่ดีเอาไว้ใช้ต่อไป
แนวคิดหลักในการวัดและประเมินผลการศึกษา 
1. การประเมินที่เน้นการประเมินการปฏิบัติ 
(performance assessment) 
2. การประเมินที่เน้นการประเมินตามสภาพจริง 
(authentic assessment) 
2.1 อะไรที่มีคุณค่าที่เรียนไปและควรได้รับ 
การประเมินในบริบทที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริง 
2.2 กำาหนดแนวทางการประเมิน โดยใช้ 
ข้อมูลที่หลากหลาย
3. การประเมินเน้นการใช้เครื่องมือที่หลาก 
หลาย (multiple method) 
การใช้ข้อสอบอย่างเดียวไม่เพียงพอ แต่ 
ควรใช้เครื่องมือวัดที่หลากหลายที่เหมาะ 
กับสิ่งที่ต้องการวัด เช่น การสังเกต การ 
บันทึกเหตุการณ์ การเขียนอนุทิน การ 
ประเมินปฏิบัติ การทำางานกลุ่ม การ 
รายงานหน้าชั้น การใช้แฟ้มสะสมงาน 
เป็นต้น
4. การประเมินต้องให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในด้าน 
ต่าง ๆ 
- ประโยชน์ต่อผู้เรียน ประเมินเพื่อบอกว่าผู้เรียนทำาอะไรได้บ้าง 
อะไรที่ควรพัฒนา 
- ประโยชน์ต่อผู้สอน ช่วยปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน 
- ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง เห็นพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน 
- ประโยชน์ต่อสถานศึกษา เป็นข้อมูลสำาหรับสถานศึกษาในการ 
จัดชั้นเรียนให้เรียนในโปรแกรมที่เหมาะสม การจัดโปรแกรม 
เสริม การให้คำาแนะนำาในการศึกษาต่อและอาชีพ
คุณธรรมของผู้ทำาหน้าที่วัดผล 
1. มีความยุติธรรม ในทุกขั้นตอนของการประเมินผล 
ตัดสินผลด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่ลำาเอียง 
2. มีความซื่อสัตย์ ไม่บอกข้อสอบหรือขายข้อสอบ 
เปลี่ยนแปลงคะแนนโดยไม่ยึดหลักวิชา ฯ 
3. มีความรับผิดชอบ ดำาเนินการวัดและประเมินให้สำาเร็จ 
ไปด้วยดี สร้างข้อสอบหรือส่งคะแนนทันตามกำาหนด 
เวลา คุมสอบให้เป็นไปตามระเบียบ
4. มีความละเอียดรอบคอบ รอบคอบในการวัดและการ 
ตัดสินใจ ทำาให้ผลการวัดผลเชื่อถือได้มากที่สุด ทั้งการ 
ออกข้อสอบ การตรวจ การทานคะแนน การรวม 
คะแนน การตัดเกรด 
5. มีความอดทน เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมาย เช่น ตรวจ 
ข้อสอบอัตนัยที่ใช้เวลามาก ตรวจแบบฝึกหัดทุกครั้ง 
ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย ฯ 
6. มีความสนใจใฝ่รู้ในหลักการวัดและประเมินผลใหม่ ๆ 
เพื่อพัฒนางานและวิชาชีพของตนเอง

More Related Content

What's hot

การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อยการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อยAlisa Rakyart
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพAimy Blythe
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงCharming Love
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลNavie Bts
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 

What's hot (19)

การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อยการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 

Similar to แนวคิด

เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศThank Chiro
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,Itnanut Nunkaew
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8hadesza
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 

Similar to แนวคิด (20)

1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Science
ScienceScience
Science
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

More from TupPee Zhouyongfang

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวTupPee Zhouyongfang
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8TupPee Zhouyongfang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 

More from TupPee Zhouyongfang (20)

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
Affective2
Affective2Affective2
Affective2
 
Eva plan
Eva planEva plan
Eva plan
 
Grading1
Grading1Grading1
Grading1
 
Psychomotor
PsychomotorPsychomotor
Psychomotor
 
Itemcons
ItemconsItemcons
Itemcons
 
Item analysis
Item analysisItem analysis
Item analysis
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้ม
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 

แนวคิด

  • 2. ศัพท์สำาคัญ การวัด (measurement) หมายถึง การกำาหนดปริมาณให้กับสิ่ง ที่ต้องการวัด ไม่ว่าจะเป็น วัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ โดยจะต้องมีความหมาย เป็นไปตามกฏเกณฑ์ ซึ่งการจะได้มาซึ่งปริมาณนั้น อาจต้องใช้เครื่องมือไปวัดเพื่อให้ได้ ปริมาณที่สามารถแทนคุณลักษณะต่าง ๆ ของสิงที่ต้องการวัด การวัดผลแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. การวัดทางตรง เป็นการวัดคุณลักษณะที่ต้องการวัดได้ โดยตรง เรียกอีกอย่างว่า การวัดด้านวิทยาศาสตร์ หรือการวัดทาง กายภาพ 2. การวัดทางอ้อม เป็นการวัดคุณลักษณะที่ต้องการโดยตรงไม่ ได้ สิ่งที่วัดเป็นนามธรรม ต้องวัดโดยผ่านกระบวนการทางสมองหรือ พฤติกรรม
  • 3. การวัดทางอ้อมแบ่งออกเป็น 3 ด้านคือ 2.1 ด้านสติปัญญา (Cognitive Domain) 2.2 ด้านความรู้สึก (Affective Domain) 2.3 ด้านทักษะกลไก (Psychomotor Domain)
  • 4. การทดสอบ (testing) หมายถึง เครื่องมือหรือสิ่งเร้าที่ไปเร้าให้ผู้ ถูกทดสอบได้แสดงพฤติกรรมหรือความสามารถที่ต้องการออกมา ผล การทดสอบมักออกมาในรูปของคะแนน และคะแนนเป็นสิ่งที่แทน ความสามารถของบุคคล ดังนั้นการทดสอบจึงควรจะมีประสิทธิภาพ โดยใช้เครื่องมือการทดสอบวัดที่มีคุณภาพ และต้องพยายามดำาเนิน การทดสอบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และให้ความยุติธรรมแก่ผู้ ถูกทดสอบทุกคน ภายใต้สถานการณ์เดียวกัน องค์ประกอบของการ ทดสอบมีดังนี้ 1. บุคคลที่ถูกทดสอบ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ 3. การดำาเนินการทดสอบ 4. ผลการทดสอบในรูปของคะแนนที่แทนความสามารถ ของผู้ถูกทดสอบ
  • 5. การวัดผลการศึกษา (educational measurement) คือการสอบและการวัดต่าง ๆ ที่ใช้ ในการจัดการศึกษา มักเกี่ยวข้องกับการวัดความ สามารถ วัดผลสัมฤทธิ์ วัดคุณลักษณะของผู้เรียน วัด ทักษะปฏิบัติต่าง ๆ ของผู้เรียน การประเมิน (assessment) มักนำามาใช้แทนการวัด ทางการศึกษา เป็นคำาที่ใช้แทนเพื่อแสดงให้เห็นถึงวิธี การวัดที่นอกเหนือจากการสอบแบบเดิม ซึ่งมีอยู่หลาก หลาย เช่น การประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นและอยู่ในการเรียนการสอน เป็นการวัดและประเมินตามสภาพแท้จริงของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
  • 6. การประเมินทางเลือก (alternative assessment) เป็นการประเมินอื่น ๆ ที่นอก เหนือจากการใช้ข้อสอบแบบเดิม รวมถึงการ ประเมินภาคปฏิบัติ การสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แฟ้มสะสมงาน เป็นต้น การประเมินภาคปฏิบัติ (performance-base assessment) เป็นแบบหนึ่งของการประเมิน ทางเลือก เป็นการประเมินเกี่ยวกับทักษะการ แสดงออก การเคลื่อนไหวทางร่างกายและ ประสาทสัมผัส เช่น การสื่อสาร การเล่นเครื่อง ดนตรี การเล่นกีฬา เป็นต้น
  • 7. การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การนำา ตัวเลขที่ได้จากการวัด (measurement) รวมกับ การใช้วิจารณญาณของผู้ประเมินมาตัดสินผล (judgement) โดยการตัดสินนั้นอาจไปเปรียบเทียบ กับเกณฑ์ เพื่อให้ได้ผลเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เนื้อปลาชิ้นนี้หนัก 0.5 กิโลกรัมเป็นเนื้อปลาชิ้นที่ เบาที่สุดในร้าน เด็กชายแดงได้คะแนนวิชาภาษา ไทย 42 คะแนนซึ่งไม่ถึง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ ผ่าน เป็นต้น ประเมินผลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. การประเมินแบบอิงกลุ่ม 2. การประเมินแบบอิงเกณฑ์
  • 8. องิกลมุ่ องิเกณฑ ์ 1. การประเมนิผลเปน็การเปรยีบเทยีบคะแนน ทสี่อบไดก้บัคะแนนของคนอนื่ในกลมุ่ 1. การประเมนิผลเปน็การเปรยีบเทยีบคะแนน ทสี่อบไดก้บัเกณฑท์กี่ำาหนดไว้ 2. เหมาะสำาหรบัการคดัเลอืกแขง่ขนักนั มากกวา่การเรยีนการสอน 2. เหมาะสำาหรบัการเรยีนการสอนเพราะเปน็ การสอบวดัเพอื่ปรบัปรงุการเรยีนการสอน 3. เสนอคะแนนในรปูของอนัดบัทรี่อ้ยละ (percentile rank) หรือคะแนนมาต รฐาน 3. เสนอคะแนนในรปูของการเรยีนรู้หรอืยงัไม่ เรยีนรู้ผา่นหรอืไมผ่า่นตามเกณฑท์กี่ำาหนดไว้ 4. ใชแ้บบทดสอบเดยีวกนัสำาหรบันกัเรยีนทงั้ ชนั้ไดห้รอือาจใชแ้บบทดสอบคขู่นานเพอื่ทำาให้ สามารถเปรยีบเทยีบกนัได้ 4. ไมจ่ำาเปน็ตอ้งใชแ้บบทดสอบฉบบัเดยีวกนั ทงั้ชนั้ เนอื่งจากไมม่กีารเปรยีบเทยีบกบัคนอนื่ 5. แบบทดสอบมคีวามยากงา่ยพอเหมาะไม่ ยากเกนิไปหรอืงา่ยเกนิไป เนอื้หาทถี่ามตอ้ง เปน็ตวัอยา่งของเนอื้หาทงั้หมด 5. แบบทดสอบคอ่นขา้งงา่ย เขยีนตามเนอื้หา และจดุมงุ่หมายทกี่ำาหนดไว้ 6. ความเทยี่งตรงของแบบทดสอบทกุแบบมี ความสำาคญั 6. ความเทยี่งตรงตามเนอื้หามคีวามสำาคญัมาก 7. อำานาจจำาแนกของขอ้สอบ ควรสามารถ จำาแนกผสู้อบออกเปน็กลมุ่สงูและกลมุ่ตำ่า 7. อำานาจจำาแนกของขอ้สอบ ควรสามารถ จำาแนกผสู้อบออกเปน็กลมุ่รอบร-ู้ไมร่อบรู้ หรอืผา่น-ไมผ่า่น
  • 9. ขอ้ดี- ขอ้เสยีของการประเมนิผลแบบองิกลมุ่ ขอ้ดีขอ้เสยี 1. สามารถเปรยีบเทยีบคะแนนความสามารถ ของนกัเรยีนกบับคุคลอนื่ 1. การเปรยีบเทยีบคะแนนกนัภายในกลมุ่ กอ่ใหเ้กดิการแขง่ขนัชงิดชีงิเดน่ขาดการ ชว่ยเหลอืซงึ่กนัและกนั 2. ใชไ้ดด้ใีนการสอบคดัเลอืกและพยากรณ ์2. ไมส่ามารถนำาคะแนนไปใชป้ระเมนิผลแบบ องิเกณฑไ์ด้ 3. สง่เสรมิใหน้กัเรยีนพฒันาตนเองตลอดเวลา เพราะตอ้งนำาคะแนนไปเปรยีบเทยีบกบัคนอนื่ 3. เปน็การประเมนิผเู้รยีนเปน็สว่นใหญ่ไมไ่ด้ ประเมนิผสู้อน หรอืกระบวนการเรยีนการสอน 4. สะดวกในการออกขอ้สอบ เนอื่งจากใช้ ขอ้สอบเดยีวกนัทงั้หอ้ง 4. เปน็ผลเสยีทางดา้นจติใจแกผ่ทู้ไี่ดค้ะแนนตำ่า กวา่ผอู้นื่
  • 10. ขอ้ดี- ขอ้เสยีของการประเมนิผลแบบองิเกณฑ ์ ขอ้ดีขอ้เสยี 1. เปน็การประเมนิเพอื่ปรบัปรงุการเรยีนการ สอนใหด้ขีนึ้สอดคลอ้งกบัปรชัญา “สอบเพอื่ คน้หาและพฒันาสมรรถภาพมนษุย”์ 1. ไมค่ำานงึถงึความยากงา่ยของขอ้สอบ 2. สง่เสรมิใหม้กีารชว่ยเหลอืซงึ่กนัและกนั 2. การกำาหนดเกณฑท์เี่หมาะสมทำาไดย้าก เนอื่งจากมลีกัษณะเปน็อตันยั 3. เปน็การประเมนิทงั้ตวัผเู้รยีนและผสู้อน รวมทงั้กระบวนการเรยีนการสอนดว้ย 4. สง่เสรมิใหผ้เู้รยีนเรยีนอยา่งมจีดุมงุ่หมาย 3. วธิดีำาเนนิการสอบเปน็ภาระยงุ่ยากแกผ่สู้อน
  • 11. การประเมินผลนั้นต้องมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการคือ 1) ผลการวัด (measurement) 2) เกณฑ์การพิจารณา (criteria) 3) การตัดสินใจ (judgement) การประเมินผลที่เที่ยงธรรม ย่อมมาจากการวัดผลที่ดี คือควรวัดด้วยเครื่องมือหลาย ๆ อย่าง อย่างละหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละมาก ๆ ข้อ นั่นคือการวัดซำ้า 4 ครั้งด้วยเครื่อง มือที่แตกต่างกัน ย่อมดีกว่าการวัดเพียงครั้งเดียว หรือ วัดด้วยข้อสอบ 20 ข้อย่อมดีกว่าวัดด้วยข้อสอบเพียง 5 ข้อ
  • 12. ลักษณะและข้อจำากัดของการวัดผลการ ศึกษา 1. การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม เพราะเป็นการวัด คุณลักษณะนามธรรมที่อยู่ภายในตัวบุคคล ซึ่งไม่สามารถ สังเกตเห็นได้โดยตรง 2. การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์ คือไม่สามารถวัด คุณลักษณะหรือพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ต้องการได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ 3. ผลจากการวัดย่อมเกิดความคลาดเคลื่อนเสมอ คะแนนจากการวัด จึงเท่ากับความสามารถที่แท้จริงกับ ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัด เขียนเป็นสมการได้ ว่า X = T + E เมื่อ X แทนคะแนนที่ได้จากการวัด T แทนความสามารถ ที่แท้จริง และ E แทนความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัด
  • 13. ระดับของผลการวัด 1. ระดับนามบัญญัติ (nominal scale) 2. ระดับเรียงอันดับ (ordinal scale) 3. ระดับช่วง (interval scale) 4. ระดับอัตราส่วน (ratio scale)
  • 14. หลักการวัดผลการศึกษา การจะดำาเนินการวัดผลสิ่งใด หรือในโอกาส ใดก็ตาม ผู้วัดย่อมต้องการผลการวัดที่มีคุณภาพ เช่น ให้เชื่อถือได้ ให้ตรงกับความเป็นจริง เพื่อ จะนำาผลไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างมั่นใจ การ ที่จะดำาเนินการตามความต้องการดังกล่าวนั้น จำาเป็นต้องมีหลักเกณฑ์ที่ดีสำาหรับยึดถือเป็น แนวทางของการปฏิบัติ หลักเกณฑ์หรือองค์ ประกอบสำาคัญที่ถือว่าเป็นหลักของการวัดผล การศึกษา มีดังนี้
  • 15. 1. วัดให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ 1.1 ทำาความเข้าใจคุณลักษณะที่ต้องการวัด 1.2 ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมถูกต้อง 1.3 วัดให้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุม 2. ใช้เครื่องมือวัดผลที่หลากหลายและมีคุณภาพ
  • 16. 3. มีความยุติธรรม 3.1 เครื่องมือที่ใช้ - วัดครอบคลุมทุกเรื่องทุกแง่มุม - ไม่ควรให้ผู้เรียนเลือกตอบเพียงบางข้อได้ เช่น ออกข้อสอบ 6 ข้อให้เลือกทำา 3 ข้อ - ใช้ภาษาชัดเจน ไม่วกวน - คำาถามไม่ควรตอบกันเอง เช่น ข้อหลัง ๆ แนะนำาคำาตอบของข้อแรก ๆ เป็นต้น - ควรใช้แบบทดสอบชุดเดียวกัน หากใช้ ข้อสอบคนละชุดจะมีความยากง่ายแตกต่างกัน
  • 17. 3.2การใช้เครื่องมือ - บอกใบ้คำาตอบระหว่างที่มีการสอบวัด - ส่งเสียงรบกวนระหว่างที่ผู้สอบใช้ความคิด - ใช้เครื่องมือที่พิมพ์ผิดมาก ๆ ไม่มีคำาตอบ ถูก หรือมีคำาตอบถูกหลายตัว - ทำาเฉลยผิด ตรวจผิด ให้คะแนนอย่างไม่มี หลักเกณฑ์ 4.ประเมินผลได้ถูกต้อง
  • 18. 5. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า - เด็กคนนี้มีความสามารถ เด่น – ด้อย ด้านไหน - เด็กงอกงามมากขึ้นเพียงใด - เครื่องมือที่ใช้มีคุณภาพอย่างไร
  • 19. ขั้นตอนในการวัดผลการศึกษา 1. ขั้นวางแผน 1.1 กำาหนดจุดมุ่งหมาย - สอบใคร เพื่อทราบระดับความยากง่ายที่เหมาะกับกลุ่มผู้ สอบ - สอบไปทำาไม เพื่อทราบชนิด/ลักษณะเครื่องมือที่ใช้ - สอบอะไร เพื่อทราบสิ่งที่ต้องการวัด 1.2 กำาหนดสิ่งที่จะวัด คือพยายามกำาหนดว่าเนื้อหา ใด คุณลักษณะหรือพฤติกรรมใดที่ต้องการสอบวัด แต่ละ เนื้อหาและพฤติกรรมนั้น ๆ จะวัดมากน้อยเพียงใด
  • 20. 1.3 กำาหนดเครื่องมือ การวัดคุณลักษณะหรือ พฤติกรรมที่ต้องการนั้น ควรใช้เครื่องมืออะไรบ้าง จึงจะ วัดได้ตรงตามความต้องการได้อย่างครบถ้วน - รูปแบบคำาถามที่ใช้ - จำานวนข้อคำาถามและเวลาที่ใช้ในการวัด - วิธีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ - ผู้รับผิดชอบในการสร้างเครื่องมือ - กำาหนดเวลาในการสร้างเครื่องมือ - วิธีการที่จะให้ผู้เรียนตอบ - วิธีการตรวจให้คะแนน และการบันทึกผลคะแนน
  • 21. 2. ขั้นดำาเนินการสร้างเครื่องมือ 2.1 เขียนข้อคำาถาม 2.2 พิจารณาคัดเลือกข้อคำาถาม 2.3 พิจารณาข้อคำาถามทั้งหมดที่ใช้ 2.4 พิมพ์และอัดสำาเนาเครื่องมือ 2.5 ทำาเฉลย 2.6 จัดเตรียมเครื่องมือที่จะใช้
  • 22. 3. ขั้นใช้เครื่องมือ เป็นการนำาเครื่องมือไปทดสอบ กับผู้เรียน โดยต้องดำาเนินการสอบให้เกิดความ ยุติธรรมแก่ผู้เข้าสอบทุกคน พยายามหลีกเลี่ยง การรบกวนเวลาในการคิดของผู้เรียน ควรชี้แจง วิธีคิดคำาตอบ ชี้แจงวิธีการตอบ 4. ขั้นตรวจและใช้ผลการวัด 4.1 แปลงคำาตอบของผู้เรียนให้เป็นคะแนนตาม เกณฑ์ที่กำาหนด แล้วจดบันทึก 4.2 รวบรวมคะแนนของผู้เรียนที่ได้จากการวัด ทุกชนิด ทุกระยะเพื่อนำาไปใช้ในการประเมินผล และใช้ผลตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการ
  • 23. 5. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ นำาผล การวัดมาใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบ คุณภาพของเครื่องมือเป็นรายข้อและทั้ง ฉบับเพื่อใช้พิจารณาว่าข้อสอบนั้นมี คุณภาพมากน้อยเพียงใด ควรแก้ไข ปรับปรุงในเรื่องใด รวมทั้งยังช่วยเก็บ รวบรวมข้อสอบที่ดีเอาไว้ใช้ต่อไป
  • 24. แนวคิดหลักในการวัดและประเมินผลการศึกษา 1. การประเมินที่เน้นการประเมินการปฏิบัติ (performance assessment) 2. การประเมินที่เน้นการประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) 2.1 อะไรที่มีคุณค่าที่เรียนไปและควรได้รับ การประเมินในบริบทที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริง 2.2 กำาหนดแนวทางการประเมิน โดยใช้ ข้อมูลที่หลากหลาย
  • 25. 3. การประเมินเน้นการใช้เครื่องมือที่หลาก หลาย (multiple method) การใช้ข้อสอบอย่างเดียวไม่เพียงพอ แต่ ควรใช้เครื่องมือวัดที่หลากหลายที่เหมาะ กับสิ่งที่ต้องการวัด เช่น การสังเกต การ บันทึกเหตุการณ์ การเขียนอนุทิน การ ประเมินปฏิบัติ การทำางานกลุ่ม การ รายงานหน้าชั้น การใช้แฟ้มสะสมงาน เป็นต้น
  • 26. 4. การประเมินต้องให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในด้าน ต่าง ๆ - ประโยชน์ต่อผู้เรียน ประเมินเพื่อบอกว่าผู้เรียนทำาอะไรได้บ้าง อะไรที่ควรพัฒนา - ประโยชน์ต่อผู้สอน ช่วยปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน - ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง เห็นพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน - ประโยชน์ต่อสถานศึกษา เป็นข้อมูลสำาหรับสถานศึกษาในการ จัดชั้นเรียนให้เรียนในโปรแกรมที่เหมาะสม การจัดโปรแกรม เสริม การให้คำาแนะนำาในการศึกษาต่อและอาชีพ
  • 27. คุณธรรมของผู้ทำาหน้าที่วัดผล 1. มีความยุติธรรม ในทุกขั้นตอนของการประเมินผล ตัดสินผลด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่ลำาเอียง 2. มีความซื่อสัตย์ ไม่บอกข้อสอบหรือขายข้อสอบ เปลี่ยนแปลงคะแนนโดยไม่ยึดหลักวิชา ฯ 3. มีความรับผิดชอบ ดำาเนินการวัดและประเมินให้สำาเร็จ ไปด้วยดี สร้างข้อสอบหรือส่งคะแนนทันตามกำาหนด เวลา คุมสอบให้เป็นไปตามระเบียบ
  • 28. 4. มีความละเอียดรอบคอบ รอบคอบในการวัดและการ ตัดสินใจ ทำาให้ผลการวัดผลเชื่อถือได้มากที่สุด ทั้งการ ออกข้อสอบ การตรวจ การทานคะแนน การรวม คะแนน การตัดเกรด 5. มีความอดทน เพื่อให้งานบรรลุเป้าหมาย เช่น ตรวจ ข้อสอบอัตนัยที่ใช้เวลามาก ตรวจแบบฝึกหัดทุกครั้ง ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย ฯ 6. มีความสนใจใฝ่รู้ในหลักการวัดและประเมินผลใหม่ ๆ เพื่อพัฒนางานและวิชาชีพของตนเอง