SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
การใหร้ะดบัผลการเรยีน 
KHON KAEN 
UNIVERSITY 
สมพงษ์พนัธุรตัน์ 
สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา 
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การตดัเกรด (Grading) 
• การตัดสนิผลการเรียน การใหร้ะดับผลการเรียน 
หรือ การตัดเกรด เป็นขัน้ตอนของการ 
ประเมินผล (evaluation) โดยการนาผลทไี่ด้ 
จากการวัดผลการเรียนรูต้ลอดภาคเรียนมา 
พิจารณาตัดสนิหรือกาหนดระดับคุณภาพของ 
ผลการเรียนรูว้่า เก่ง-อ่อน อยใู่นระดับใด 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
KHON KAEN 
UNIVERSITY 
ระบบเกรด 
2 เกรด 3 เกรด 5 เกรด 
8 เกรด 
สญัลกัษ 
ณ์ 
ระดบัความหมาย 
S (ผ่าน) 
G (ดี) 
A A 4.0 ดีเยยี่ม (excellent) 
B B+ 3.5 ดีมาก (very good) 
B 3.0 ดี (good) 
P 
(ผ่าน) 
C C+ 2.5 ค่อนขา้งดี (fairly 
good) 
C 2.0 พอใช้(fair) 
D D+ 1.5 อ่อน (poor) 
D 1.0 อ่อนมาก (very poor) 
U (ไม่ผ่าน) F (ตก) F F 0.0 ตก (fail)
ความถูกตอ้งและเหมาะสมในการตดัเกรด 
• ผลการวดั เป็นขอ้มูลทไี่ดจ้ากวัดผลผลการเรียนรูข้อง 
ผูเ้รียน ดว้ยการทดสอบ การสังเกต การปฏิบัติงาน ฯ 
และใชเ้ครื่องมือวัดที่มีคุณภาพ 
• เกณฑก์ารพจิารณา เป็นระดับความตอ้งการ หรือ 
ความคาดหวัง หรือเป้าหมาย หรือ มาตรฐาน ที่ใช้ 
เปรียบเทียบและตัดสนิระดับคุณภาพของผลการเรียนรู้ 
ของผูเ้รียน 
• วจิารณญาณของผูป้ระเมนิ ที่จะตอ้งใชค้วามเป็น 
ธรรม พิจารณาอย่างรอบคอบ ถูกตอ้ง และเหมาะสม 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
การตดัเกรดเชงิสมบูรณ์ 
(absolute grading) 
• นิยมเรียกว่าการตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ (criterion-referenced) 
• มีแนวคิดมาจากทฤษฎีการเรียนเพอื่รอบรู้ 
• แบบทดสอบมีความตรงตามเนอื้หาและจุดประสงค์ที่ 
สาคัญของวิชา 
• ตัดสนิผลการเรียนโดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ 
มาตรฐานทกี่าหนดไวล้่วงหนา้ 
• เหมาะสาหรับการประเมินผลเพื่อพัฒนาระหว่างเรียน 
(formative evaluation) 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
การตดัเกรดแบบองิมวลความรู้ 
(domain-referenced grading) 
• มีการกาหนดหรือถือว่าขอ้สอบทคี่รูสรา้งขนึ้เป็นตัว 
แทนที่ดีของขอ้สอบทัง้หมดที่ใชวั้ดมวลความรูห้รือ 
ความรอบรูใ้นวิชานั้นๆ 
• คะแนนทไี่ดจ้ากการทดสอบถือว่าเป็นปริมาณความรอบ 
รูท้ผีู่เ้รียนมีอยู่ 
• มีการกาหนดจุดตัดและช่วงคะแนนของแต่ละเกรดไว้ 
ล่วงหนา้ ตามความเชื่อพื้นฐานของครู ธรรมชาติของ 
เนอื้หาวิชา ความยากของขอ้สอบ และปัจจัยอนื่ๆ ที่ 
เกยี่วขอ้ง 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
ตวัอย่างเกณฑต์ดัเกรด 
แบบองิมวลความรู้ 
เกรด เกณฑ์ 
A คะแนนไม่นอ้ยกว่ารอ้ยละ 80 ของคะแนนเต็ม 
B คะแนน รอ้ยละ 70-79 
C คะแนน รอ้ยละ 60-69 
D คะแนน รอ้ยละ 50-59 
F คะแนน รอ้ยละ 0-49 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
การตดัเกรดแบบองิจุดประสงค์ 
(objective-referenced grading) 
• บางรายวิชามีการกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ 
หรือคุณลักษณะทพีึ่งประสงค์ไวห้ลายอย่างที่ 
แตกต่างกัน และไม่สามารถนาคะแนนมารวมกัน 
ไดอ้ย่างมีความหมาย 
• ใหพิ้จารณากาหนดเกณฑ์และตัดสนิผลการ 
เรียนรูใ้นแต่ละจุดประสงค์ว่า ผ่านหรือไม่ผ่าน 
• กาหนดเกณฑ์และตัดสนิผลการเรียนรูโ้ดย 
ภาพรวมของวิชานั้นๆ 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
ตวัอย่างเกณฑต์ดัเกรด 
แบบองิจุดประสงค์ 
เกรด เกณฑ์ 
A เมอื่สอบผ่านจุดประสงค์ทัง้หมด 
B เมอื่สอบผ่านเฉพาะจุดประสงค์หลัก 
C เมอื่สอบผ่านไม่นอ้ยกว่า 2 ใน 3 ของจุดประสงค์ 
ทัง้หมด 
D เมอื่สอบผ่านไม่นอ้ยกว่า 1 ใน 3 ของจุดประสงค์ 
ทัง้หมด 
F เมอื่สอบผ่านนอ้ยกว่า 1 ใน 3 ของจุดประสงค์ 
ทัง้หมด 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
การตดัเกรดเชงิสมัพนัธ ์ 
(relative grading) 
• นิยมเรียกว่า การตัดเกรดแบบอิงกลมุ่ (norm-referenced 
grading) 
• มีแนวคิดมาจากทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล และเชื่อว่า 
ความรูค้วามสามารถของผูเ้รียนมีการกระจายแบบการแจกแจง 
ปกติ 
• การวัดผลตอ้งใชแ้บบทดสอบฉบับเดียวกันหรือคู่ขนานกัน มี 
ความตรง ความเทยี่ง สูง และ ขอ้สอบมีค่าความยาก อานาจ 
จาแนก เหมาะสม 
• การตัดสินผลการเรียนว่าเก่งหรืออ่อนจะใชก้ารเปรียบเทียบกับ 
กลมุ่ผูเ้รียนทัง้หมด 
• เหมาะสาหรับการประเมินเพื่อสรุปผลปลายภาคเรียน 
(summative evaluation) 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
การตดัเกรดโดยกา หนดสดัส่วน 
KHON KAEN 
UNIVERSITY 
ของแต่ละเกรด 
• จากแนวคิดที่เชื่อว่ามนุษย์มีคุณลักษณะ 
เฉพาะทแี่ตกต่างกัน และมีการแจกแจงของ 
คุณลักษณะเหล่านั้นเป็นโคง้ปกติ จึงมีการ 
กาหนดสัดส่วนหรือจานวนของแต่ละเกรดได้
KHON KAEN 
UNIVERSITY
การตดัเกรดโดยใช้ค่าพสิยั 
• เรียงคะแนนจากสูงสุดไปหาต่าสุด 
• หาความถขี่องแต่ละคะแนน 
• หาค่าพิสัย (คะแนนสูงสุด – คะแนนต่าสุด) 
• กาหนดจานวนเกรด เช่น 5 เกรด (A-F) 
• หาช่วงห่างระหว่างเกรด (พิสัย/จานวนเกรด, 
เศษปัดขนึ้) 
• แบ่งช่วงคะแนนของแต่ละเกรด 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
ตวัอย่างคะแนนสอบของนกัเรยีน 90 คน 
คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่ 
58 1 40 2 28 3 
56 1 39 2 27 2 
55 2 38 1 26 4 
51 1 37 5 25 6 
50 1 36 5 24 3 
49 2 35 2 23 1 
47 3 34 7 22 1 
46 1 33 3 21 2 
45 3 32 3 20 1 
44 2 31 5 18 1 
42 6 30 1 15 2 
41 2 29 3 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
ตวัอย่างเกณฑต์ดัเกรด 
KHON KAEN 
UNIVERSITY 
โดยใช้พสิยั 
เกรด เกณฑ์ 
A คะแนนระหว่าง 50 – 58 
B คะแนนระหว่าง 41 – 49 
C คะแนนระหว่าง 32 – 40 
D คะแนนระหว่าง 23 – 31 
F คะแนนระหว่าง 15 – 22 
คะแนนสูงสุด = 58 
คะแนนต่าสุด = 15 
พิสัย = 58-15 =43 
กาหนดจานวนเกรด = 5 
ช่วงห่างระหว่างเกรด 
= 43/5 = 8.6 
ปัดเป็น 9
การตดัเกรดโดยใช้ค่ามธัยฐาน 
• ผูส้อนจะตอ้งประเมินกลมุ่ผูเ้รียนว่ามีความสามารถโดยภาพ 
รวมอยใู่นระดับใด (จาก 7 ระดับ) 
• หรือพิจารณาจากเกรดเฉลยี่ของผูเ้รียนทัง้กลมุ่ ในภาคการเรียน 
ทผี่่านมา 
• กาหนดค่าจุดต่าสุดของเกรดสูงสุดทจี่ะให้(lower limit factor) 
จากตารางพิจารณาระดับความสามารถของ Dewey B.Stuit 
• หาค่ามัธยฐาน (median) และ ค่าเบยี่งเบนมาตรฐาน (SD) ของ 
คะแนน 
• คานวณจุดตัดของเกรดสูงสุด ส่วนจุดของเกรดถัดไปใหล้บ 
จุดตัดดว้ย ค่า SD 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
ตารางพจิารณาระดบัความสามารถ 
ระดับความสามารถ 
ของกลุ่ม 
KHON KAEN 
UNIVERSITY 
คะแนนจีพีเอ 
(GPA) 
รอ้ยละของเกรด A B C D F 
ตามลาดับ 
Lower limit factor 
1. ดีเยยี่ม หรือดีเลิศ 2.80 24% 38% 29% 08% 01% 0.7 
2. ดีมาก 2.60 18% 36% 32% 12% 02% 0.9 
3. ดี 2.40 13% 33% 36% 15% 03% 1.1 
4. ค่อนขา้งดี2.20 10% 29% 37% 20% 04% 1.3 
5. พอใช้(ปานกลาง) 2.00 07% 24% 38% 24% 07% 1.5 
6. อ่อน 1.80 04% 20% 37% 29% 10% 1.7 
7. อ่อนมาก 1.60 03% 15% 36% 32% 14% 1.9
ตวัอย่างการตดัเกรดโดยใช้มธัยฐาน 
คะแนน จานวนคน 
33 1 
32 2 
30 5 
29 5 
27 8 
25 9 
24 7 
22 5 
16 5 
15 2 
12 1 
KHON KAEN 
UNIVERSITY 
จากตารางแจกแจงความถคี่ะแนนของนักเรียน 50 คน 
สมมติว่าครูผูส้อนประเมินว่านักเรียนทัง้กลมุ่มีความรู้ 
ความสามารถระดับ ดี และเกรดสูงสุดเป็น A ดังนั้น 
ค่า lower limit factor = 1.1 
หาค่ามัธยฐานได้25 หาค่าเบยี่งเบนมาตรฐานได้5 
คะแนนจุดตัดของเกรด A 
= (1.1 x 5) + 25 = 30.5 คิดเป็น 31 ขนึ้ไป 
คะแนนจุดตัดของเกรด B = 31-5 = 26 
คะแนนจุดตัดของเกรด C = 26-5 = 21 
คะแนนจุดตัดของเกรด D = 21-5 = 16 
คะแนนทเี่กรด F คือตัง้แต่ 15 ลงไป
การตดัเกรดโดยใช้ค่าเฉลยี่ 
• ใชค้่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 
ตัวกาหนดช่วงห่างของแต่ละเกรด โดยถือว่า 
คะแนนมีการแจกแจงแบบปกติ 
เกรด เกณฑ์ 
A คะแนนตัง้แต่ขนึ้ไป 
B คะแนนระหว่าง ถึง 
C คะแนนระหว่าง ถึง 
D คะแนนระหว่าง ถึง 
F คะแนนตัง้แต่ ลงไป 
KHON KAEN 
UNIVERSITY 
X1.5 SD 
X.5 SD X1.5 SD 
X-.5 SD X.5 SD 
X1.5 SD X-.5 SD 
X1.5 SD
การตดัเกรดแบบองิกลุ่ม แบบอนื่ๆ 
• การตัดเกรดโดยใชค้ะแนนมาตรฐาน Z 
• การตัดเกรดโดยใชค้ะแนนมาตรฐาน T 
• การตัดเกรด โดยใชช้่องว่าง 
KHON KAEN 
UNIVERSITY
เอกสารอา้งองิ 
จตุภูมิ เขตจัตุรัส. (2556). การวดัและประเมนิผลการศกึษา. ขอนแก่น:คณะ 
ศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 
ประกฤตยิา ทักษิโณ. (2555). การวดัและประเมนิผลการศกึษา. ขอนแก่น:คณะ 
ศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 
ประภาพร ศรีตระกูล. (2549). การวดัและประเมนิผลการศกึษา. ขอนแก่น:คณะ 
ศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 
พัชรี จันทร์เพ็ง. (2557). การวดัและประเมนิผลการเรยีนรูใ้นชนั้เรยีน. ขอนแก่น: 
คณะศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 
สมพงษ์พันธุรัตน์. (2554). ความรูด้า้นการวดัผล การประเมนิ การวจิยั และ สถติิ 
ทางการศกึษา. (http://home.kku.ac.th/sompo_pu/spweb/) ขอนแก่น: คณะ 
ศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 
KHON KAEN 
UNIVERSITY

More Related Content

What's hot

การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลมะม่วงกระล่อน จริงๆ
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2sukanyalanla
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้vizaza
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 

What's hot (17)

การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 2
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

Similar to Grading1

การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51krupornpana55
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติPowerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติkruniti
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 2
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 2การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 2
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 2OBrix OBank
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUPises Tantimala
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรมการประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรมPrachyanun Nilsook
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 

Similar to Grading1 (20)

การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
 
มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..
 
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
ระเบียบการวัดผลประเมินผล ท.ศ. 51
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติPowerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 2
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 2การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 2
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้ที่ 2
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรมการประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 

More from TupPee Zhouyongfang

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวTupPee Zhouyongfang
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8TupPee Zhouyongfang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มTupPee Zhouyongfang
 

More from TupPee Zhouyongfang (20)

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียวเรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
เรียนภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
 
Affective2
Affective2Affective2
Affective2
 
Eva plan
Eva planEva plan
Eva plan
 
Psychomotor
PsychomotorPsychomotor
Psychomotor
 
Itemcons
ItemconsItemcons
Itemcons
 
Item analysis
Item analysisItem analysis
Item analysis
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้ม
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 
Semantic differential
Semantic differentialSemantic differential
Semantic differential
 
คะแนนScore
คะแนนScoreคะแนนScore
คะแนนScore
 
Performance skills
Performance skillsPerformance skills
Performance skills
 

Grading1

  • 1. การใหร้ะดบัผลการเรยีน KHON KAEN UNIVERSITY สมพงษ์พนัธุรตัน์ สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. การตดัเกรด (Grading) • การตัดสนิผลการเรียน การใหร้ะดับผลการเรียน หรือ การตัดเกรด เป็นขัน้ตอนของการ ประเมินผล (evaluation) โดยการนาผลทไี่ด้ จากการวัดผลการเรียนรูต้ลอดภาคเรียนมา พิจารณาตัดสนิหรือกาหนดระดับคุณภาพของ ผลการเรียนรูว้่า เก่ง-อ่อน อยใู่นระดับใด KHON KAEN UNIVERSITY
  • 3. KHON KAEN UNIVERSITY ระบบเกรด 2 เกรด 3 เกรด 5 เกรด 8 เกรด สญัลกัษ ณ์ ระดบัความหมาย S (ผ่าน) G (ดี) A A 4.0 ดีเยยี่ม (excellent) B B+ 3.5 ดีมาก (very good) B 3.0 ดี (good) P (ผ่าน) C C+ 2.5 ค่อนขา้งดี (fairly good) C 2.0 พอใช้(fair) D D+ 1.5 อ่อน (poor) D 1.0 อ่อนมาก (very poor) U (ไม่ผ่าน) F (ตก) F F 0.0 ตก (fail)
  • 4. ความถูกตอ้งและเหมาะสมในการตดัเกรด • ผลการวดั เป็นขอ้มูลทไี่ดจ้ากวัดผลผลการเรียนรูข้อง ผูเ้รียน ดว้ยการทดสอบ การสังเกต การปฏิบัติงาน ฯ และใชเ้ครื่องมือวัดที่มีคุณภาพ • เกณฑก์ารพจิารณา เป็นระดับความตอ้งการ หรือ ความคาดหวัง หรือเป้าหมาย หรือ มาตรฐาน ที่ใช้ เปรียบเทียบและตัดสนิระดับคุณภาพของผลการเรียนรู้ ของผูเ้รียน • วจิารณญาณของผูป้ระเมนิ ที่จะตอ้งใชค้วามเป็น ธรรม พิจารณาอย่างรอบคอบ ถูกตอ้ง และเหมาะสม KHON KAEN UNIVERSITY
  • 5. การตดัเกรดเชงิสมบูรณ์ (absolute grading) • นิยมเรียกว่าการตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ (criterion-referenced) • มีแนวคิดมาจากทฤษฎีการเรียนเพอื่รอบรู้ • แบบทดสอบมีความตรงตามเนอื้หาและจุดประสงค์ที่ สาคัญของวิชา • ตัดสนิผลการเรียนโดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ มาตรฐานทกี่าหนดไวล้่วงหนา้ • เหมาะสาหรับการประเมินผลเพื่อพัฒนาระหว่างเรียน (formative evaluation) KHON KAEN UNIVERSITY
  • 6. การตดัเกรดแบบองิมวลความรู้ (domain-referenced grading) • มีการกาหนดหรือถือว่าขอ้สอบทคี่รูสรา้งขนึ้เป็นตัว แทนที่ดีของขอ้สอบทัง้หมดที่ใชวั้ดมวลความรูห้รือ ความรอบรูใ้นวิชานั้นๆ • คะแนนทไี่ดจ้ากการทดสอบถือว่าเป็นปริมาณความรอบ รูท้ผีู่เ้รียนมีอยู่ • มีการกาหนดจุดตัดและช่วงคะแนนของแต่ละเกรดไว้ ล่วงหนา้ ตามความเชื่อพื้นฐานของครู ธรรมชาติของ เนอื้หาวิชา ความยากของขอ้สอบ และปัจจัยอนื่ๆ ที่ เกยี่วขอ้ง KHON KAEN UNIVERSITY
  • 7. ตวัอย่างเกณฑต์ดัเกรด แบบองิมวลความรู้ เกรด เกณฑ์ A คะแนนไม่นอ้ยกว่ารอ้ยละ 80 ของคะแนนเต็ม B คะแนน รอ้ยละ 70-79 C คะแนน รอ้ยละ 60-69 D คะแนน รอ้ยละ 50-59 F คะแนน รอ้ยละ 0-49 KHON KAEN UNIVERSITY
  • 8. การตดัเกรดแบบองิจุดประสงค์ (objective-referenced grading) • บางรายวิชามีการกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ หรือคุณลักษณะทพีึ่งประสงค์ไวห้ลายอย่างที่ แตกต่างกัน และไม่สามารถนาคะแนนมารวมกัน ไดอ้ย่างมีความหมาย • ใหพิ้จารณากาหนดเกณฑ์และตัดสนิผลการ เรียนรูใ้นแต่ละจุดประสงค์ว่า ผ่านหรือไม่ผ่าน • กาหนดเกณฑ์และตัดสนิผลการเรียนรูโ้ดย ภาพรวมของวิชานั้นๆ KHON KAEN UNIVERSITY
  • 9. ตวัอย่างเกณฑต์ดัเกรด แบบองิจุดประสงค์ เกรด เกณฑ์ A เมอื่สอบผ่านจุดประสงค์ทัง้หมด B เมอื่สอบผ่านเฉพาะจุดประสงค์หลัก C เมอื่สอบผ่านไม่นอ้ยกว่า 2 ใน 3 ของจุดประสงค์ ทัง้หมด D เมอื่สอบผ่านไม่นอ้ยกว่า 1 ใน 3 ของจุดประสงค์ ทัง้หมด F เมอื่สอบผ่านนอ้ยกว่า 1 ใน 3 ของจุดประสงค์ ทัง้หมด KHON KAEN UNIVERSITY
  • 10. การตดัเกรดเชงิสมัพนัธ ์ (relative grading) • นิยมเรียกว่า การตัดเกรดแบบอิงกลมุ่ (norm-referenced grading) • มีแนวคิดมาจากทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล และเชื่อว่า ความรูค้วามสามารถของผูเ้รียนมีการกระจายแบบการแจกแจง ปกติ • การวัดผลตอ้งใชแ้บบทดสอบฉบับเดียวกันหรือคู่ขนานกัน มี ความตรง ความเทยี่ง สูง และ ขอ้สอบมีค่าความยาก อานาจ จาแนก เหมาะสม • การตัดสินผลการเรียนว่าเก่งหรืออ่อนจะใชก้ารเปรียบเทียบกับ กลมุ่ผูเ้รียนทัง้หมด • เหมาะสาหรับการประเมินเพื่อสรุปผลปลายภาคเรียน (summative evaluation) KHON KAEN UNIVERSITY
  • 11. การตดัเกรดโดยกา หนดสดัส่วน KHON KAEN UNIVERSITY ของแต่ละเกรด • จากแนวคิดที่เชื่อว่ามนุษย์มีคุณลักษณะ เฉพาะทแี่ตกต่างกัน และมีการแจกแจงของ คุณลักษณะเหล่านั้นเป็นโคง้ปกติ จึงมีการ กาหนดสัดส่วนหรือจานวนของแต่ละเกรดได้
  • 13. การตดัเกรดโดยใช้ค่าพสิยั • เรียงคะแนนจากสูงสุดไปหาต่าสุด • หาความถขี่องแต่ละคะแนน • หาค่าพิสัย (คะแนนสูงสุด – คะแนนต่าสุด) • กาหนดจานวนเกรด เช่น 5 เกรด (A-F) • หาช่วงห่างระหว่างเกรด (พิสัย/จานวนเกรด, เศษปัดขนึ้) • แบ่งช่วงคะแนนของแต่ละเกรด KHON KAEN UNIVERSITY
  • 14. ตวัอย่างคะแนนสอบของนกัเรยีน 90 คน คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่ คะแนน ความถี่ 58 1 40 2 28 3 56 1 39 2 27 2 55 2 38 1 26 4 51 1 37 5 25 6 50 1 36 5 24 3 49 2 35 2 23 1 47 3 34 7 22 1 46 1 33 3 21 2 45 3 32 3 20 1 44 2 31 5 18 1 42 6 30 1 15 2 41 2 29 3 KHON KAEN UNIVERSITY
  • 15. ตวัอย่างเกณฑต์ดัเกรด KHON KAEN UNIVERSITY โดยใช้พสิยั เกรด เกณฑ์ A คะแนนระหว่าง 50 – 58 B คะแนนระหว่าง 41 – 49 C คะแนนระหว่าง 32 – 40 D คะแนนระหว่าง 23 – 31 F คะแนนระหว่าง 15 – 22 คะแนนสูงสุด = 58 คะแนนต่าสุด = 15 พิสัย = 58-15 =43 กาหนดจานวนเกรด = 5 ช่วงห่างระหว่างเกรด = 43/5 = 8.6 ปัดเป็น 9
  • 16. การตดัเกรดโดยใช้ค่ามธัยฐาน • ผูส้อนจะตอ้งประเมินกลมุ่ผูเ้รียนว่ามีความสามารถโดยภาพ รวมอยใู่นระดับใด (จาก 7 ระดับ) • หรือพิจารณาจากเกรดเฉลยี่ของผูเ้รียนทัง้กลมุ่ ในภาคการเรียน ทผี่่านมา • กาหนดค่าจุดต่าสุดของเกรดสูงสุดทจี่ะให้(lower limit factor) จากตารางพิจารณาระดับความสามารถของ Dewey B.Stuit • หาค่ามัธยฐาน (median) และ ค่าเบยี่งเบนมาตรฐาน (SD) ของ คะแนน • คานวณจุดตัดของเกรดสูงสุด ส่วนจุดของเกรดถัดไปใหล้บ จุดตัดดว้ย ค่า SD KHON KAEN UNIVERSITY
  • 17. ตารางพจิารณาระดบัความสามารถ ระดับความสามารถ ของกลุ่ม KHON KAEN UNIVERSITY คะแนนจีพีเอ (GPA) รอ้ยละของเกรด A B C D F ตามลาดับ Lower limit factor 1. ดีเยยี่ม หรือดีเลิศ 2.80 24% 38% 29% 08% 01% 0.7 2. ดีมาก 2.60 18% 36% 32% 12% 02% 0.9 3. ดี 2.40 13% 33% 36% 15% 03% 1.1 4. ค่อนขา้งดี2.20 10% 29% 37% 20% 04% 1.3 5. พอใช้(ปานกลาง) 2.00 07% 24% 38% 24% 07% 1.5 6. อ่อน 1.80 04% 20% 37% 29% 10% 1.7 7. อ่อนมาก 1.60 03% 15% 36% 32% 14% 1.9
  • 18. ตวัอย่างการตดัเกรดโดยใช้มธัยฐาน คะแนน จานวนคน 33 1 32 2 30 5 29 5 27 8 25 9 24 7 22 5 16 5 15 2 12 1 KHON KAEN UNIVERSITY จากตารางแจกแจงความถคี่ะแนนของนักเรียน 50 คน สมมติว่าครูผูส้อนประเมินว่านักเรียนทัง้กลมุ่มีความรู้ ความสามารถระดับ ดี และเกรดสูงสุดเป็น A ดังนั้น ค่า lower limit factor = 1.1 หาค่ามัธยฐานได้25 หาค่าเบยี่งเบนมาตรฐานได้5 คะแนนจุดตัดของเกรด A = (1.1 x 5) + 25 = 30.5 คิดเป็น 31 ขนึ้ไป คะแนนจุดตัดของเกรด B = 31-5 = 26 คะแนนจุดตัดของเกรด C = 26-5 = 21 คะแนนจุดตัดของเกรด D = 21-5 = 16 คะแนนทเี่กรด F คือตัง้แต่ 15 ลงไป
  • 19. การตดัเกรดโดยใช้ค่าเฉลยี่ • ใชค้่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น ตัวกาหนดช่วงห่างของแต่ละเกรด โดยถือว่า คะแนนมีการแจกแจงแบบปกติ เกรด เกณฑ์ A คะแนนตัง้แต่ขนึ้ไป B คะแนนระหว่าง ถึง C คะแนนระหว่าง ถึง D คะแนนระหว่าง ถึง F คะแนนตัง้แต่ ลงไป KHON KAEN UNIVERSITY X1.5 SD X.5 SD X1.5 SD X-.5 SD X.5 SD X1.5 SD X-.5 SD X1.5 SD
  • 20. การตดัเกรดแบบองิกลุ่ม แบบอนื่ๆ • การตัดเกรดโดยใชค้ะแนนมาตรฐาน Z • การตัดเกรดโดยใชค้ะแนนมาตรฐาน T • การตัดเกรด โดยใชช้่องว่าง KHON KAEN UNIVERSITY
  • 21. เอกสารอา้งองิ จตุภูมิ เขตจัตุรัส. (2556). การวดัและประเมนิผลการศกึษา. ขอนแก่น:คณะ ศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ประกฤตยิา ทักษิโณ. (2555). การวดัและประเมนิผลการศกึษา. ขอนแก่น:คณะ ศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ประภาพร ศรีตระกูล. (2549). การวดัและประเมนิผลการศกึษา. ขอนแก่น:คณะ ศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พัชรี จันทร์เพ็ง. (2557). การวดัและประเมนิผลการเรยีนรูใ้นชนั้เรยีน. ขอนแก่น: คณะศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สมพงษ์พันธุรัตน์. (2554). ความรูด้า้นการวดัผล การประเมนิ การวจิยั และ สถติิ ทางการศกึษา. (http://home.kku.ac.th/sompo_pu/spweb/) ขอนแก่น: คณะ ศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. KHON KAEN UNIVERSITY