SlideShare a Scribd company logo
1 of 199
Download to read offline
บทที่ 1 ระบบนิเวศ (Ecosystem) : part 1
รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ครูผู้สอน
 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
 พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
 พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
 พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
 ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิตและไม่มีชีวิต)
 micro level : เซลล์ → เนื้อเยื่อ → อวัยวะ → ระบบอวัยวะ → สิ่งมีชีวิต
 macro level : สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลกของสิ่งมีชีวิต
 มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ
องค์ประกอบทางกายภาพ/เคมี (abiotic : ไม่มีชีวิต) เช่น แสง ดิน นา อุณหภูมิ แร่ธาตุ
องค์ประกอบทางชีวภาพ (biotic : มีชีวิต) ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา แบคทีเรีย ไวรัส
ปฎิสัมพันธ์สิ่งแวดล้อม biome
ชนิดเดียวกัน ต่างชนิดกัน
chemical
Human
= ระบบนิเวศ
organism
= นิเวศวิทยา
= นิเวศวิทยาระดับสิ่งมีชีวิต
Adaptation
= นิเวศวิทยาระดับประชากร
Same species / time / place
= นิเวศวิทยาระดับสังคมสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์เชิงอาหาร : + / - / 0
= นิเวศวิทยาระดับระบบนิเวศ
= นิเวศวิทยาเชิงพื้นที่/ภูมิศาสตร์
BIOME
= ปัจจัย/องค์ประกอบ
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
BIOTIC
(PRO/CON/
DECOM)
ABIOTIC
(PHY/CHEM)
1. ไบโอมบนบก (terrestial) * ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด
 ไบโอมป่าดิบชื้น  ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น
 ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น  ไบโอมสะวันนา
 ไบโอมทุนดรา  ไบโอมทะเลทราย
 ไบโอมป่าสน
2. ไบโอมในน้า (aquatic) * ใช้เกณฑ์ปริมาณเกลือหรือค่าความเค็มกาหนด
 ไบโอมแหล่งน้าจืด  ไบโอมแหล่งน้าเค็ม  ไบโอมแหล่งน้ากร่อย
ได้แก่ แม่น้ำ - เขตน้ำขึ้นน้ำลง - ทะเลและมหำสมุทร
- ป่ำชำยเลน - แนวปะกำรัง - ทะเลสำบ (น้ำจืด/น้ำเค็ม)
- หำดทรำย - หำดหิน - ห้วย หนอง คลอง
ไบโอม ( Biomes ) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศ ที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพและ
ปัจจัยทางชีวภาพที่คล้ายคลึงกัน กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ กัน
@@@ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมนั้น ๆ จะต้องปรับตัวให้เข้ากับปัจจัยทางกายภาพในแต่ละเขต
ภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย
ไม่พบในประเทศไทย
*
*
ไบโอมบนบก
ไบโอมในน้า
เกลือเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 3.5 (35 ppt)
เกลือเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 0.1 (1 ppt)
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
1. ไบโอมป่าดิบชื้น ( Tropical rain forest )
- พบบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ ทวีป
แอฟริกาใต้ ทวีปเอเชียใต้ และบางส่วนหมู่เกาะแปซิฟิก (ป่าดงคิบกว่าครึ่ง เช่น อเมซอน)
- ภูมิอากาศแบบร้อนและชื้น (ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้และตะวันตก : ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าพรุ)
- มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝน 2000 – 5000 ม.ม./ปี (ป่ารกทึบ)
- อุณหภูมิเขตร้อน (25C - 29 C เฉลี่ย 27 C) การเปลี่ยนแปลงฤดูกาลไม่ชัดเจน
- พบพืชและสัตว์หลากหลายสปีชีส์มากที่สุด (ความอุดมสมบูรณ์สูงมาก)
การแบ่งชั้นเรือนยอด
 วิธีการแบ่งชั้นเรือนยอดใช้หลักเกณฑ์เกือบจะเหมือนกันแทบทุกประเทศ ที่ใช้กันมากในประเทศสหรัฐฯ คือ
 1) เรือนยอดชั้นบน หรือชั้นไม้เด่น (Dominant) ไม้จาพวกนี้จะมีเรือนยอดสูงกว่าระดับของพุ่มเรือน
ยอดของพืชอื่นทั้งหมด เพราะฉะนั้นเรือนยอดของพืชจะได้รับแสงเต็มที่ทั้งด้านบนและด้านข้าง ไม้พวกนี้
จะโตกว่าไม้ในบริเวณเดียวกันและมีเรือนยอดเจริญดี
2) เรือนยอดชั้นรอง หรือชั้นไม้รอง (Co-diminant) ไม้จาพวกนี้จะเป็นไม้ที่มีเรือนยอดอยู่ในระดับ
เดียวกับระดับของยอดไม้ทั้ง ป่ า เพราะฉะนั้นแสงจะได้รับมากทางด้านบนของเรือนยอด ส่วนด้านข้างของ
เรือนยอดจะไม่ได้รับแสงหรือรับได้น้อยมาก ตัวเรือนยอดเองก็มักจะมีขนาดปานกลาง และมีเรือนยอดไม้ต้น
อื่นเบียดเสียดอยู่ข้างๆ
3) เรือนยอดชั้นกลาง หรือชั้นไม้กลาง (Intermediate) ไม้กลางนั้นจะมีเรือนยอดอยู่ต่ากว่าระดับเรือน
ยอดของไม้ทั้งบริเวณ แต่อาจจะมีส่วนใดส่วนหนึ่งของเรือนยอดได้รับ แสงโดยตรงจากข้างบนบ้างเล็กน้อย
แต่ข้างๆเรือนยอดนั้นไม่ได้รับแสงเลย โดยปกติแล้ว “ไม้กลาง” จะมีเรือนยอดเล็กและถูกเบียดจากข้างๆหรือ
รอบๆมาก
4) เรือนยอดชั้นล่างหรือไม้ล่าง (Over-topped) ไม้ล่างเป็นไม้ที่มีเรือนยอดต่ากว่า ระดับเรือนยอดของ
ไม้ ทั้งบริเวณ เรือนยอดจะไม่ได้รับแสงโดยตรงเลย ไม่ว่าจะทางบนหรือรอบๆเรือนยอด เมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับ
ชั้นเรือนยอดจากการสักเกตธรรมชาติของป่ าแล้ว ประสบการณ์การปลูกพืชของเกษตรกรและความรู้
เกี่ยวกับลักษณะและธรรมชาติของพืช เป็นอีกส่วนหนึ่งที่นามาประยุกต์ใช้ในการปลูกพืชเป็นลาดับชั้น
ตัวอย่างความรู้เรื่องการจาแนกทางพืชสวน สามารถจาแนกได้หลายวิธี เช่น 1 การจาแนกทางสวนพืชโดย
ลักษณะลาต้น ได้แก่ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื้อย 2 การจาแนกโดยอาศัยลักษณะเฉพาะของพืชสวน ได้แก่ ไม้
ผล ผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ 3 การจาแนกพืชโดยอาศัยการเจริญเติบโต พืชล้มลุก พืชสองฤดู พืชยืนต้น
EPIPHYTE
2. ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Temperate deciduous forest )
- พบบริเวณละติจูดกลาง เช่น ทวีปยุโรป, ทวีปเอเชียตอนเหนือบางส่วน (จีน) และ
ประเทศไทย (บริเวณที่สูงของทุกภาคยกเว้นภาคใต้ เช่น ทุ่งแสลงหลวง จ.พิษณุโลก)
- ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 600-2500 ม.ม./ปี : ผลัดใบเพื่อลดการคายน้า (ป่าโปร่ง)
- มีความชื้นและอุณหภูมิเฉลี่ยปานกลาง ซึ่งเพียงพอที่จะทาให้ต้นไม้ขนาดใหญ่โตได้
- อากาศค่อนข้างเย็นในฤดูหนาว (0 C) : ฤดูร้อนอุณหภูมิค่อนข้างสูง : 30 C
- ต้นไม้จะผลัดใบก่อนถึงฤดูหนาว และจะผลิใบเมื่อผ่านฤดูหนาวไปแล้ว
 มีช่วงอุณหภูมิที่กว้าง มี 4 ฤดูชัดเจน (ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว)
 พืชเด่นที่พบ : ไม้พุ่ม ,พืชล้มลุก ,ไม้ต้น (เด่น :ยูคาลิปตัส เมเปิล โอ๊ก)
 สัตว์ที่พบ : กวาง ,สุนัขจิ้งจอก
กระรอก กระต่ายป่า ไก่งวง หมี
และนกชนิดต่างๆ
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
3. ป่าสน ( Coniferous forest )
- ป่าสน ป่าไทกา ( Taiga ) หรือป่าบอเรียล ( Boreal ) : เขตหนาว
- อยู่ที่ตาแหน่งละติจูดสูงกว่าป่าผลัดใบอบอุ่น ต้นไม้เขียวตลอดปี
- พบทางตอนใต้ของแคนาดา ตอนเหนืออเมริกาเหนือ จีน ฟินแลนด์
รัสเซียบางบริเวณ : ฤดูหนาวยาวนานมีหิมะ อากาศแห้ง และเย็น
- พืชเด่น สน ไพน์ ( Pine ) เฟอ ( Fir ) สพรูซ ( Spruce) แฮมลอค ( Hemlock )
 สัตว์ที่พบ : กวาง ,นกฮูกเทาใหญ่
- ไทยพบแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ
เช่น ภูเรือ ภูกระดึง (จ.เลย) ภูสอยดาว (จ.อุตรดิตถ์) เป็นต้น
- มักพบสนสองใบและสนสามใบ
- อุณหภูมิ -5 C – 10 C
- ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 500 – 1000 ม.ม./ปี
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
ป่ าสน (CONIFEROUS FOREST) หรือ ป่ าไทกา (TAIGA) และ
ป่ าบอเรียล (BOREAL)
 เป็นป่ าประเภทเขียวชอุ่มตลอดปี พบได้ทางตอนใต้ของประเทศแคนนาดา ทางตอน
เหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปเอเชียและยุโรป
 ในเขตละติจูดตั้งแต่ 45 – 67 องศาเหนือ ลักษณะของภูมิอากาศมีฤดูหนาวค่อนข้าง
ยาวนาน อากาศเย็นและแห้ง
 พืชเด่นที่พบได้แก่ พืชจาพวกสน เช่น ไพน์ (Pine) เฟอ (Fir) สพรูซ (Spruce) และ
เฮมลอค เป็นต้น
Spruce Fir Pine
สนสองใบ สนสามใบ
4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( Temperate grassland )
- ปริมำณน้ำฝน 250 – 600 มม./ปี มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนำว
- มีช่วงอุณหภูมิกว้ำง (-10 C -30 C) : ไม่พบในประเทศไทย
- ทุ่งหญ้ำเขตอบอุ่นนี้เหมำะสำหรับกำรทำกสิกรและปศุสัตว์ เพรำะดินมีควำมอุดมสมบูรณ์สูงมี
หญ้ำนำนำชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีกำรทำเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย
- ทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ (prairie) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และใน
ทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa)
- พืชที่พบ ไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า
เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia)
- สัตว์ที่พบ เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโต หมีโคลา จิงโจ้
และนกอีมู
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
5. สะวันนา (Savanna) : ทุ่งหญ้าเขตร้อน
- พบได้ในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลียและพบบ้างทางตะวันออก
เฉียงใต้ของทวีปเอเชีย
- ในไทยพบเกือบทุกภาค ยกเว้น ภาคใต้และตะวันออก แถบจันทบุรีและตราด
- อากาศร้อนยาวนาน : อุณหภูมิ 24 C - 29 C
- พืชที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าและมีต้นไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ
- ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า (ฤดูแล้งยาวนาน)
- พืชที่ขึ้นมักทนต่อไฟป่าและความแห้งแล้งได้ดี สัตว์ที่พบคล้ายกับทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น
เช่น ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรห้วยขาแข้ง จ.ตาก
- ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 300-500 ม.ม./ปี : ป่าทุ่งหญ้า กับ ป่าเต็งรัง/แดง/แพะ/โคก
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
 6. ทะเลทราย ( desert )
- ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 250 ม.ม.ต่อปี อุณหภูมิกว้างมาก [ > 50 C - <-10 C ]
- บางที่ฝนตกหนักแต่ดินเป็นทรายที่ไม่อุ้มน้า ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือ
ผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส
- พืชที่พบในไบโอมทะเลทรำยนี้มีกำรป้องกันกำรสูญเสียน้ำ โดยใบลดรูปเป็นหนำม ลำต้นอวบ เก็บ
สะสมน้ำ และพืชปีเดียว : Xerophyte
- ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน และ
ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
- สัตว์ที่พบเลื้อยคลำน พวกงูและกิ้งก่ำ และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์ส่วนใหญ่หำ
กินกลำงคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอำกำศร้อนในตอนกลำงวัน
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
ไบโอมทะเลทราย (desert biome)
7. ทุนดรา (Tundra)
- พบเพียงตอนเหนือของทวีปอเมริกำเหนือ และยูเรเซีย ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลำสก้ำ และไซบีเรีย
- ฤดูหนำวค่อนข้ำงยำวนำน มีหิมะ (-30 C -10 C ) ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ :ความหลากหลายสูงสุด
- สามารถปลูกพืชได้ระยะสั้นๆ (พืชจะต้องรีบเจริญเติบโตออกดอกออกผลและตายไป)
- ชั้นของดินที่อยู่ต่ำกว่ำจำกผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้ำแข็ง : permafrost
- ปริมาณฝนน้อย และถ้าในฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ น้าแข็งที่ผิวหน้าดินจะละลาย แต่เนื่องจากน้าไม่
สามารถซึมผ่านลงไปในชั้นน้าแข็งได้ในระยะสั้น ๆ (15-20 เซนติเมตร)
 พืช เด่น ได้แก่ ไลเคนส์ นอกจำกนี้ยังมีมอส กก หญ้ำเซดจ์(Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ
 สัตว์ที่พบ ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเด่น คือ กวำงคำริบู กวำง
เรนเดียร์ กระต่ำยป่ำขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่ำขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทำมิแกน นกเค้ำแมวหิมะ
นอกจำกนี้ยังมีนกจำกแหล่งอื่นอพยพเข้ำมำในฤดูร้อน แมลง ยุง
 ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 150-250 มม./ปี
 พบบริเวณละติจูดอยู่เหนือป่าสนไทก้าขึ้นไปจนถึงขั้วโลก
ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
• ขั้วโลกเหนือ คือ อาร์กติก ส่วน ขั้วโลกใต้ คือ แอนตาร์กติกา
• เขตอาร์กติกไม่ถือว่าเป็นทวีป เพราะจริงๆแล้วเป็นมหาสมุทรที่น้ากลายเป็นน้าแข็งและหิมะปกคลุมเป็น ทะเล
น้าแข็ง ไม่มีแผ่นดิน
• ในขณะที่ แอนตาร์กติกา ถูกจัดให้เป็นทวีปแอนตาร์กติกา เพราะเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่ ที่ถูกปกคลุมด้วยหิมะ
และน้าแข็งเป็น ชั้นน้าแข็ง
• แต่สิ่งที่ทั้งสองขั้วโลกนี้เหมือนกัน คือ ดวงอาทิตย์ไม่เคยขึ้นสูงเกิน 23.5 องศาเหนือขอบฟ้าและทั้งสองขั้วโลก
จะอยู่ในความมืดนานติดต่อกันถึง 6 เดือน และมีอากาศหนาวเย็นติดลบ ตลอดจนมีหิมะปกคลุม และภูเขา
น้าแข็งเหมือนกัน
ในไทยพบตอนบนของเทือกเขาตะนาวศรี/ถนนธงชัย/ดงพญาเย็น : อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
อุณหภูมิเขตร้อน (25 C -29 C ) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 150-200 เซนติเมตร/ปี
ไม่พบในไทย : พบตอนกลางรัฐแคลิฟอร์เนีย ชายฝั่งแปซิฟิก รอบๆทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
มีช่วงอุณหภูมิที่กว้าง (10 C - 40 C ) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 30-50 เซนติเมตร/ปี
(มักจะมีการเกิดฝนตกฤดูหนาว)
ลักษณะเป็นทุ่งหญ้าสลับกับ
ป่าไม้พุ่มเตี้ยเขียวชอุ่มทั้งปี
ฤดูร้อนอากาศร้อนจัดและแห้งแล้งคล้ายสะวันนา
ส่วนฤดูหนาวอากาศอบอุ่น ใกล้ชายฝั่งจะมีฝนตก
HIGHLAND MOUNTAIN BIOME
เทือกเขาแอนดิสในทวีปอเมริกาใต้ เทือกเขาร็อกกี้ใน
อเมริกาเหนือ เทือกเขาคิรินมันจาโรในทวีปแอฟริกา
เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย
เขตพื้นที่ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง (ELEVATION / ALTITUDE) ในเขต
เทือกเขาที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลก : ในไทยภาคเหนือ ดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่
ปริมาณน้าฝนจะลดลงตามระดับความสูงและอิทธิพลของเขตเงาฝน
พระมหาธาตุนภเมทนีดล-นภพลภูมิสิริ พระ
มหาธาตุคู่พระบารมี รัชกาลที่ 9 และพระราชินี
ระบบนิเวศบนบก :TERRESTRIAL ECOSYSTEM
 ระบบนิเวศป่าไม้ : ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญยิ่งของประเทศ เป็นแหล่งรวม
พันธุ์ไม้และสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ช่วยควบคุมอุณหภูมิ ผลิตก๊าซ
ออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ฝนตกตามฤดูกาล
ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen forest) ได้แก่ ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) ,ป่าดิบแล้ง (Dry
evergreen forest) ,ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest) ,ป่าสน (Coniferous forest) ,ป่า
ชายเลน (Mangrove swamp forest) ,ป่าพรุ (Peat Swamp)
ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest) ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ,ป่าแดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง ,ป่า
หญ้า
ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
 เป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยพรรณพืชที่ผลัดใบหรือทิ้งใบ
 การผลัดเปลี่ยนใบจะใช้เวลาค่อนข้างยาวนาน (กระบวนการ
chlorosis)
 สังคมพืชกลุ่มนี้มีประมาณ 70 % ของเนื้อที่ป่าของประเทศไทย
แบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ คือ
1. ป่าเบญจพรรณ มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ
 ดินเป็นได้ตั้งแต่ดินเหนียว ดินร่วน จนถึงดินลูกรัง
 ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร ต่อปี
 เป็นป่าโปร่งพบต้นไม้ขนาดกลางเป็นส่วนมาก
 ต้นไม้ทั้งหมดจะผลัดใบมากในฤดูแล้ง
มีไฟป่าไหม้อยู่ทั้งปี
 พรรณไม้หลัก เช่น สัก มะค่าโมง แดง ประดู่ และชิงชัน และ
มีไผ่ชนิดต่างๆ ขึ้นแทรก พบทั่วไปในภาคเหนือ
ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2. ป่าเต็งรัง มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ (อยู่มากทางภาคเหนือ กลาง อีสาน)
 ดินมักเป็นดินทรายและดินลูกรัง ซึ่งจะมีสีค่อนข้างแดง (ป่าแดง/ป่าแพะ/ป่าโคก)
 เป็นป่าโปร่งมีต้นไม้ขนาดเล็กหรือขนาดกลางขึ้นอยู่กระจัดกระจาย พื้นป่าไม่รกทึบ มี
ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตรต่อปี
 พรรณไม้ที่ขึ้นมักเป็นชนิดที่ทนแล้งทนไฟป่า (มักเกิดไฟป่าตลอดทุกปี) เช่น เต็ง รัง
พะยอม พลวง มะขามป้อม มะกอก ผักหวาน เป็นต้น
 พืชชั้นล่างส่วนใหญ่เป็นพวกหญ้า ไผ่ต่าง ๆ พบมากที่สุดคือไผ่เพ็กหรือหญ้าเพ็ก พวกปรง
พวกขิง ข่า เป็นต้น
ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
3. ป่าหญ้า เป็นป่ำที่เกิดภำยหลังจำกที่ป่ำธรรมชำติอื่น ๆ ได้ถูกทำลำยไป (secondary succession)
 ดินมีสภาพเสื่อมโทรม จนไม้ต้นไม่อำจเจริญงอกงำมต่อไปได้
 หญ้ำต่ำง ๆ จึงเข้ำมำแทนที่ พบมำกได้ทำงภำคเหนือ ภำคอีสำน (โดยเฉพำะบริเวณที่เกิดไฟป่ำได้
บ่อย) พืชที่สามารถพบได้ เช่น แฝก หญ้าพง อ้อ เป็นต้น
 ไม้ต้นมีขึ้นกระจำยห่ำง ๆ กันบ้ำง เช่น กระถินป่ำ ประดู่ ตำนเหลือง และปรงป่ำ เป็นต้น ไม้เหล่ำนี้
ทนแล้งและทนไฟป่ำได้ดี
ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
1. ป่าดิบชื้น (Tropical rainforest)
 พบทุกภาคของประเทศ และมากที่สุดแถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรี
และที่ภาคใต้ : ป่ารกทึบมีพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด
 กระจัดกระจายตามความสูงตั้งแต่ 0 - 100 เมตรจากระดับน้าทะเล
 มีปริมาณน้าฝนตกมากกว่าภาคอื่น ๆ (ความหลากหลายทางชีวภาพสูงสุด)
 ลักษณะทั่วไปมักเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้
ส่วนใหญ่เป็นวงศ์ยาง ไม้ตะเคียน กะบาก อบเชย จาปาป่า ส่วนที่เป็นพืชชั้นล่างจะ
เป็นพวกปาล์ม ไผ่ ระกา หวาย บุก เฟิร์น มอส กล้วยไม้ป่าและ เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
ไคลโนมิเตอร์ (CLINOMETER)
 เป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ที่ใช้ในการวัดความสูง เช่น ความสูงของต้นไม้โดยมีสูตรใน
การหาค่าดังนี้
 ความสูงของต้นไม้= (ระยะห่างระหว่างต้นไม้กับผู้สังเกต × tanθ) + ความสูงของผู้สังเกต
คานวณ
1. หาความสูงของต้นไม้ โดยใช้ ไคล
นอมิเตอร์ (clinometer) วัดค่ามุมเงย
ของยอดไม้ อ่านค่ามุมเงยเป็น θ
องศา แล้วนามาคานวณโดยใช้สูตร
ความสูงของต้นไม้
= (ระยะห่างระหว่างต้นไม้และผู้
สังเกต × tanθ) + ความสูงของผู้
สังเกต
ตัวอย่างการคานวณไคลโนมิเตอร์ (CLINOMETER)
 ผู้สังเกตยืนห่างจากต้นไม้ 10 เมตร วัดมุมเงยยอดต้นไม้ได้ 40O จากตาราง ค่า tangent ของมุม 40O
คือ 0.84 ความสูงของผู้สังเกต 1.5 เมตร
 ดังนั้น ความสูงของต้นไม้ = (10 × 0.84) + 1.5 = 9.9 เมตร
2. ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest)
 พบตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตามหุบเขา : ป่าโปร่ง
 ความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 500 เมตร
 ปริมาณน้าฝน 1,000 - 1,500 ม.ม.ต่อปี
 พันธุ์ไม้ที่สาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง เป็นต้น พื้นที่ป่าชั้นล่างจะไม่หนาแน่นและ
ค่อนข้างโล่งเตียน
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
3. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
 อยู่สูงจำกระดับน้ำทะเล ตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป
 ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขำสูงทำงภำคเหนือ บางแห่งในภำคกลำงและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ
เช่นที่ อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง และ อุทยานแห่งชาติน้าหนาว เป็นต้น
 มีปริมำณน้ำฝนระหว่ำง 1,000 ถึง 2,000 ม.ม.ต่อปี
 พืชที่สาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย กาลังเสือโคร่ง
 มีป่ำเบจพรรณด้วย บำงทีก็มีสนเขำขึ้นปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พื้นล่ำงเป็นพวกเฟิร์น กล้วยไม้ดิน
มอสชนิดต่ำง ๆ (ป่าชนิดนี้มักอยู่บริเวณต้นน้าลาธาร)
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
4. ป่าสน (Coniferous Forest) : ป่าไทกา (Taiga) ป่าบอเรียล (Boreal)
 กระจายอยู่เป็นหย่อม ๆ ตามภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง และที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย ศรีสะเกษ สุรินทร์ และอุบลราชธานี
 ระดับความสูงจากน้าทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป : พบบนภูเขาสูง
 ป่าสนมักขึ้นในที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่ค่อนข้างแห้งแล้ง
 ประเทศไทยมีสนเขาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ สนสองใบและสนสามใบ และพวกก่อต่าง ๆ
ขึ้นปะปนอยู่ พืชชั้นล่างมีพวกหญ้าต่าง ๆ
 ป่าสนบางครั้งพบขึ้นปนอยู่กับป่าแดง
และป่าดิบเขา
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
5. ป่าพรุ (Swamp Forest, Peat Swamp Forest)
 เป็นสังคมป่ำที่อยู่ถัดจำกบริเวณสังคมป่ำชำยเลน พบตำมริมฝั่งทะเลที่มีโคลนเลนทั่วๆไป
 เป็นพื้นที่ลุ่มที่มีกำรทับถมของซำกพืชและอินทรียวัตถุที่ไม่สลำยตัว และมีน้ำท่วมขังหรือชื้นแฉะ
ตลอดปี (มีน้ำขังอยู่ด้ำนล่ำงด้ำนบน) : ปริมำณำน้ำฝนไม่น้อยกว่ำ 2000 มม.ต่อปี
 พบในภาคใต้ของประเทศไทย : จังหวัดนราธิวาส นครศรีธรรมราช ชุมพร
 พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกบุกรุกทำลำยเพื่อเปลี่ยนแปลงสภำพเป็นสวนมะพร้ำว นำข้ำว และบ่อเลี้ยงกุ้งเลี้ยง
ปลำ พืชดัชนี : สาโรง กะเบาน้า กันเกรา
 ป่าพรุโต๊ะแดง ที่นราธิวาสเป็นป่าพรุที่สมบูรณ์ที่สุด
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
6. ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest)
 พบตามชายฝั่งทะเลที่มีดินโคลนและน้าทะเลท่วมถึง : น้าขึ้นลง
 เช่น ตามชายฝั่งตะวันตกตั้งแต่ระนองถึงสตูล (ริมทะเลอ่าวไทย)
 แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้าจาพวก กุ้ง หอย ปู ปลา
 ไม้ที่สาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสม
ลาพู โพทะเล เป็นต้น
ชีวนิเวศแหล่งน้า : AQUATIC BIOMES
น้า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แบ่งออกตามลักษณะแหล่งที่
เกิดได้ ดังนี้
1. แหล่งน้าจืด
3. แหล่งน้าเค็ม
2. แหล่งน้ากร่อย
 ระบบนิเวศที่เป็นแหล่งน้าหากจาแนกตามลักษณะของแหล่งน้าที่พบทั่วไปมี 3 ประเภท ได้แก่
 แหล่งน้าบนบก
 แหล่งน้าใต้ดิน
 แหล่งน้าในอากาศ (หยาดน้าฟ้า)
การแบ่งน้าลักษณะอย่างนี้
แบ่งโดยอาศัยค่าความเค็ม/ปริมาณเกลือเป็นตัวกาหนด
ไบโอมในน้า ( AQUATIC BIOMES )
แหล่งน้าจืด ประกอบด้วย
 แหล่งน้ำนิ่ง เช่น สระ หนอง บึง และทะเลสาบ
(lentic : การไหลไม่แน่นอน O2 น้อย pH คงที่ ตะกอนมาก)
 แหล่งน้ำไหล เช่น ธารน้าไหล และแม่น้า
(lotic : การไหลแน่นอน O2 มาก pH ไม่คงที่ ตะกอนน้อย)
แหล่งน้าเค็ม ประกอบด้วย
 ทะเลสาบ (อยู่ใกล้ทะเล)
 ทะเล (อยู่ใกล้ชายฝั่ง)
 มหาสมุทร (อยู่ไกลชายฝั่ง)
ซึ่งพบในปริมาณมาก ร้อยละ 71
ของพื้นผิวโลกและมีความลึกมาก
ความแตกต่างระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม
 น้ำขึ้นน้ำลงเป็นปัจจัยทำง
กำยภำพสำคัญที่ทำให้แหล่ง
น้ำเค็มแตกต่ำงจำกแหล่งน้ำจืด
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด (FRESH WATER BIOMES)
 ระบบนิเวศน้าจืดแบ่งตามลักษณะของแหล่งน้าเป็น 2 ประเภท คือ
1. แหล่งน้านิ่ง (lentic) เช่น ทะเลสาบ หนอง บึง (แหล่งน้าขนาดใหญ่)
2. แหล่งน้าไหล (lotic) เช่น แม่น้า ลาธาร คลอง ห้วย น้าตก
(แหล่งน้ำกร่อย เช่น ดินดอนสำมเหลี่ยม ปำกแม่น้ำ ปำกอ่ำว ป่ำชำยเลน)
 1. แหล่งน้านิ่ง แบ่งเป็น 3 เขต คือ
1.1 เขตชายฝั่ง (Littoral zone) เป็นบริเวณรอบ ๆ แหล่งน้า
- แสงส่องได้ถึงก้นน้า
- ผู้ผลิต บริเวณชายฝั่ง เช่น กก บัว แห้วทรงกระเทียม สาหร่ายสีเขียว และไดอะตอม จอก
จอกหูหนู แหนแดง
- ผู้บริโภค ได้แก่ หอยขม หอยโข่ง ตัวอ่อนแมลงปอเข็ม แมลงปอชีปะขาว กุ้งก้ามกราม
หอยกาบเดียว หอยสองกาบ เต่า ปลา
1.2 ผิวน้าหรือเขตกลางน้า (Limnetic zone) นับจากชายฝั่งเข้ามาจนถึงระดับลึกที่แสงส่องถึง
 ความเข้มของแสงประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของแสงจากดวงอาทิตย์
 สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่เป็นแพลงก์ตอน และพวกที่ว่ายน้าอิสระ มีจานวนชนิดและจานวน
สมาชิกน้อยกว่าเขตชายฝั่ง แพลงก์ตอนพืช ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว ไดอะตอม สาหร่ายสี
เขียวแกมน้าเงิน
 สัตว์เหล่านี้เป็นสัตว์ต่างชนิดกับเขตชายฝั่ง นอกจากนี้สัตว์อื่นๆ ในเขตกลางสระ เช่น ปลา
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
1.3 เขตน้าชั้นล่าง (Profundal zone) เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดจนถึงหน้าดินของพื้นท้องน้า
_ แสงส่องไม่ถึง จึงไม่มีผู้ผลิต
- สิ่งมีชีวิตที่พบ ได้แก่ รา แบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน ตัวอ่อนยุง หอยสองกาบ หนอนตัว
กลม เป็นต้น
- สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพที่มีออกซิเจนต่า เช่น ตัวอ่อนของยุงน้าชนิด
หนึ่ง (Phantom) มีถุงลมสาหรับช่วยในการลอยตัว และสาหรับเก็บออกซิเจนไว้ใช้
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
 2. แหล่งน้าไหล แบ่งเป็น 2 เขต คือ
2.1 เขตน้าเชี่ยว (rapid zone) เป็นเขตที่มีกระแสน้ำไหลแรง
จึงไม่มีตะกอนสะสมใต้น้ำ
- สิ่งมีชีวิตมักเป็นพวกที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้า
หรือคืบคลานไปมาสะดวก
- สิ่งมีชีวิตที่ว่ายน้าได้จะต้องเป็นพวกที่ทนทานต่อการ
ต้านกระแสน้า
- ไม่พบแพลงก์ตอนในบริเวณนี้
2.2 เขตน้าไหลเอื่อยหรือเขตแอ่งน้า (pool zone) เป็นช่วง
ที่มีควำมลึก ควำมเร็วของกระแสน้ำลดลง
 อนุภาคต่างๆ จึงตกตะกอนทับถมกันหนาแน่นในเขตนี้
 ไม่มีสัตว์เกาะตามท้องน้า เขตนี้เหมาะกับพวกที่ขุดรูอยู่
เช่น หอยสองกาบ ตัวอ่อนของแมลงปอ ชีปะขาว
แพลงก์ตอน และพวกที่ว่ายน้าได้
ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
การปรับตัวของสัตว์ในแหล่งน้าไหล
สัตว์มีการปรับตัวพิเศษเพื่อการอยู่รอดหลายวิธี
•มีโครงสร้างพิเศษสาหรับเกาะหรือดูดพื้นผิว เพื่อให้ติดแน่นกับพื้นผิว สิ่งมีชีวิตที่
มีอวัยวะพิเศษนี้ เช่น แมลงหนอนปลอกน้า
•สร้างเมือกเหนียว เพื่อใช้ยึดเกาะ เช่น พลานาเรีย หอยกาบเดียว
•มีรูปร่างเพรียว เพื่อลดความต้านทานต่อกระแสน้า เช่น ปลา
•ปรับตัวให้แบน เพื่อยึดติดกับท้องน้าได้แนบสนิทหรือเพื่อให้สามารถแทรกตัวอยู่
ในซอกแคบๆ หลีกเลี่ยงกระแสน้าแรงๆ
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม (MARINE BIOME)
 แหล่งน้าเค็ม ได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร ซึ่งจัดเป็นแหล่งน้าไหลเนื่องจากมีกระแส
คลื่นเกิดขึ้นตลอดเวลา (ปัจจัยการขึ้นลงของแหล่งน้าประเภทต่างๆ : น้าทะเล
หนุน)
 ระบบนิเวศทางทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของ
ผิวโลก
 สามารถแบ่งได้เป็น 2 เขตใหญ่ๆ คือ เขตพื้นน้า (pelagic zone) และเขตพื้นดิน
(benthic zone)
 สามารถแบ่งเขตพื้นน้า ออกเป็น 2 บริเวณ คือ
- บริเวณชายฝั่งทะเล (coastal or neritic zone) เป็นบริเวณที่อยู่ติดกับพื้นดินที่มี
ควำมลำดชันน้อยและค่อนข้ำงอุดมสมบูรณ์ เนื่องจำกได้รับอิทธิพลของกระแสน้ำขึ้นน้ำลง
และได้รับธำตุอำหำรจำกกำรชะล้ำงผิวหน้ำดินลงสู่แหล่งน้ำ
- บริเวณทะเลเปิด (open sea or oceanic zone) เป็นบริเวณที่อยู่ห่ำงออกจำก
ชำยฝั่ง พื้นที่มีควำมลำดชันเพิ่มขึ้นตำมควำมลึกของน้ำ
abyssal zone
เขตพื้นดิน (benthic zone)
Supra-tidal zone
Intertidal zone
Sub-tidal zone เขตใต้น้า
 เขตพื้นดิน (benthic zone) แบ่งเป็น
 เขตชายฝั่ง (continental shelf) ลึกน้อยกว่า 200 m ประกอบด้วย Photic zone
 Supra-tidal zone เขตริมทะเลที่น้าทะเลท่วมไม่ถึง
 Intertidal zone เขตชายทะเล (น้าขึ้นสูงสุดและลงต่าสุด)
 Sub-tidal zone เขตใต้น้า (แนวประการัง)
 เขตไหล่ทวีป (continental slope) : 200-4000 m Aphotic zone
 เขตพื้นมหาสมุทร (abyssal zone) : 4000-6000 m Aphotic zone
 เขตหุบเหว (trenches zone/hadal zone) มากกว่า 6000 m Aphotic zone
 สามารถแบ่งออกเป็นเขตต่างๆ ได้ 3 เขต คือ
1. เขตที่แสงส่องถึง Photic zone
2. เขตที่ไม่มีแสง Aphotic zone
@@@นอกจากนี้ยังอาจแบ่งตามลักษณะพื้นผิวกายภาพได้เป็น หาดทราย หาดหิน และแนวประการัง
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม (MARINE BIOME)
 หาดหิน (rocky shore) : การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่รุนแรงอย่างมาก
 เป็นบริเวณที่ประกอบด้วยโขดหินไม่ราบเรียบ มีซอกและแอ่งน้าเป็นที่กาบังคลื่นลมและหลบซ่อนตัว
 สัตว์ที่อาศัยบริเวณนี้ต้องคงทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้น (การขึ้น-ลงของกระแสน้า)
 ได้แก่ แมลงสาบทะเล (ligio) หอยนางรม ลิ่นทะเล หอยหมวกเจ๊ก (limpets) เพรียงหิน เม่น
ทะเล ดอกไม้ทะเล สาหร่ายสีแดง
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม : INTERTIDAL ZONE
 หาดทราย (sandy beach)
 เป็นบริเวณชายฝั่งตั้งแต่รระดับน้าลงต่าสุดจนถึงระดับน้าขึ้นที่ละอองน้าเค็มสาดซัดไปถึง (ขนาดเม็ด
ทรายและความลาดชันแตกต่างกัน)
 สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนี้ต้องมีการปรับตัวมาก เพราะคลื่นซัดทรายในสภาพที่รุนแรง
 เช่น ปูลม เคลื่อนที่ได้รวดเร็วและมีเหงือกใหญ่ชุ่มชื้นอยู่เสมอทนความแห้งแล้งได้ดี พวกหอยเสียบ
หอยทับทิม ชอบฝังตัวหรือขุดรูอยู่ในทราย
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม INTERTIDAL ZONE
 แนวปะการัง (coral reef)
 ปะการังเป็นสัตว์ที่มักสืบพันธุ์ด้วยการแตกหน่อเชื่อมติดกันมีสารหินปูนห่อหุ้มลาตัว กลุ่มก้อนปะการัง
ที่สวยงามมาก (colony) ได้แก่ ปะการังเขากวาง ปะการังสมอง ปะการังเห็ด ปะการังต้นไม้ ฯลฯ
 สามารถพบได้เฉพาะทะเลเขตร้อนที่มีพื้นท้องทะเลเป็นหินแข็ง
 เป็นแหล่งที่ให้ความอุดมสมบูรณ์ทางด้านอาหาร ที่อยู่อาศัย แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้าแต่ละ
ชนิด เป็นระบบนิเวศที่มีความหลากหลายและให้ผลผลิตสูงมากในทะเล
ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม : SUB-TIDAL ZONE
ระบบนิเวศแหล่งน้ากร่อย
3. น้ากร่อย (Estuaries biome) เป็นบริเวณที่น้ำมำบรรจบกันระหว่ำงน้ำจืดและน้ำเค็ม ทำให้
เป็นบริเวณที่มีน้ำกร่อยเกิดเป็นชุมชนรอยต่อระหว่ำงชุมชนน้ำจืดและน้ำเค็ม
 ลักษณะพิเศษที่เกิดขึ้นคือ มีสภำพทำงชีววิทยำที่เอื้ออำนวยที่จะให้ผลผลิตอย่ำงสูงต่อสังคม
มนุษย์ (แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์ทะเล)
 มีควำมอุดมสมบูรณ์ของธำตุอำหำรสูง (การสะสมตัวของดินตะกอนขณะน้าขึ้น-ลง)
 พบสัตว์เศรษฐกิจมำกมำย เช่น กุ้ง หอย ปู ปลำต่ำง ๆ
น้ากร่อย ( ESTUARIES )
 แหล่งน้ากร่อย หมายถึง คือช่วงรอยต่อของแหล่งน้าจืดและน้าเค็มที่มาบรรจบกัน ซึ่งมักจะ
พบตามปากแม่น้า การขึ้นลงของกระแสน้าที่อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความเค็มของ
น้าในแหล่ง น้ากร่อยเป็นอย่างมาก
 โดยทั่วไปแล้ว น้ากร่อยหรือน้าทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็นด่าง เหตุที่น้าทะเลมีสภาพ
เป็นด่างอ่อน ๆ เป็นเพราะในน้าทะเลมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทาให้น้าเป็นด่างอ่อน
ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่
 กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตตังแต่ 2
ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจากประชากร หมายถึง
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ร่วมกัน
 สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมี
ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ดังนี
1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น
พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์เคมี เช่น แบคทีเรียสีเขียว
2. ผู้บริโภค = ไม่สามารถสร้างอาหารต้องบริโภคสิ่งมีชีวิต
อื่นเป็นอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภคสัตว์ ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภค
พืชและสัตว์เช่น วัว กวาง เสือ สิงโต มนุษย์
3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่
ย่อยสลายอินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็นประโยชน์
แก่พืช โดยการปล่อยน้าย่อยออกมา และดูดซึม
สารอาหารเข้าสู่เซลล์ เช่น แบคทีเรีย รา ยีตส์ saprophyte
Consumer
Decomposer
Autotroph
Heterotroph
Consumer
(Saprophyte)
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
1. อุณหภูมิ
1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็นตัวควบคุมอัตราการเกิดโดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่การทางานของเอนไซม์
จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพโปรตีน)
1.2 เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น สัตว์เลือดอุ่นจะมีการปรับอุณหภูมิร่างกายให้คงที่
1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทย ซึ่งเป็นเขตที่อบอุ่น
1.4 ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให้สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง
1.5 ปัจจัยควบคุมการเจริญเติบโต เช่น การงอกของเมล็ดพืชบางชนิดเมื่ออุณหภูมิเหมาะสม
1.6 กาหนดฤดูกาลสืบพันธุ์ เช่น สัตว์ในเขตหนาวจะสืบพันธุ์ในช่วงอากาศอบอุ่น
1.7 ปัจจัยการปรับตัวด้านโครงสร้าง เช่น การมีขนยาวชั้นไขมันหนาในเขตหนาว
1.8 กาหนดการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
2. แสง
2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสงในการสร้างอาหารของพืชจะเพิ่มมากขึ้นถ้าแสงมีความเข้มมากขึ้น
2.2 พฤติกรรมการออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว ผีเสื้อกลางคืน
2.3 การหุบบานของดอกไม้ เช่น คุณนายตื่นสายและดอกบัวจะบานในเวลาเช้า
2.4 พฤติกรรมการบินของแมลง เช่น ผีเสื้อกลางคืน แมลงเม่า
2.5 การเคลื่อนไหวของพืช เช่น การเอนเข้าหาแสงของยอดพืช การหนีแสงของรากพืช
3. ปริมาณน้้าและความชื้น
3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น เขตที่มีความชื้นสูงจะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากกว่าเขตแห้งแล้ง
3.2 ปฏิกิริยาเคมี (metabolism) เช่น ปฏิกิริยาการย่อยอาหารต้องใช้น้า (hydrolytic enzyme)
3.3 การปรับตัวด้านสรีระวิทยาของพืชและสัตว์ เช่น การคายน้าของพืช การเปิดปิดปากใบ
เมตาบอลิซึมของหนูทะเลทราย : การควบคุมอุณหภูมิของสัตว์เลือดอุ่นให้คงที่
3.4 การวางไข่ของแมลงโดยแมลงจะวางไข่ในปริมาณมากเมื่อมีความชื้นใน
บรรยากาศสูง
3.5 เป็นตัวทาละลายที่ดีใช้ลาเลียงสารไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
4. ดิน
4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโตได้ดี (ดินที่มีลักษณะแตกต่างกัน)
4.2 แหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัย แหล่งอาหาร ผสมพันธุ์ และเลี้ยงตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิตทั้งบนบกและในน้า
4.3 เป็นตัวการสาคัญในการจากัดชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของพืชในสภาพแวดล้อมนั้นๆ
5. แร่ธาตุและความเป็นกรด-เบส
5.1 สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ในดินและแหล่งน้าที่มีความเป็นกรด-เบสเหมาะสม (เจริญเติบโต/ดารงชีวิต/สืบพันธุ์)
5.2 ความเป็นกรด-เบสของดินและน้าจะขึ้นอยู่กับปริมาณของแร่ธาตุที่ละลายปะปนอยู่
5.3 มีผลต่อการปรับตัวด้านรูปร่างของพืชบางชนิด เช่น พืชกินแมลง (ดินขาดแร่ธาตุไนโตรเจน)
5.4 มีผลต่อการดูดซึมแร่ธาตุของพืช ถ้า pH ต่าจะทาให้พืชดูดซึมธาตุอาหารได้ลดลง
5.5 มีผลต่อการทางานของเอนไซม์และการทางานของจุลินทรีย์ในดินและแหล่งน้า
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
6. แก๊ส
6.1 มีผลต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้า เนื่องจากในน้าออกซิเจนละลายได้น้อยกว่าในบรรยากาศ โดยเฉพาะวันที่
อุณหภูมิสูงขึ้น ดังนั้น สิ่งมีชีวิตในน้าจึงต้องมีการปรับตัว เช่น ปลาจะให้น้าผ่านเหงือกตลอดเวลา เลือดจะ
ไหลสวนทางกับน้า
6.2 มีผลต่อกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
7. กระแสลม
7.1 มีผลต่อการกระจายพันธุ์ของพืชบางชนิด
เช่น ยางนา หญ้า
7.2 มีผลต่ออัตราการคายน้าของพืช
7.3 ช่วยในการผสมพันธุ์/ถ่ายละอองเรณูของพืชดอก
การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ (สมดุลระบบนิเวศ)
 พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% เท่านั้น ทิศทางเดียวตามกฎเทอร์โมไดนามิกส์
( 90% จะถูกใช้ในกระบวนการดารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วนบริโภค
ไม่ได้ เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ) : noncyclic energy transfer พลังงานไม่สามารถ
หมุนเวียนได้ โดยมีผู้ย่อยสลายอินทรีย์สารเป็นผู้รับพลังงานขั้นสุดท้าย
 การถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลาดับสูงสุด สารอาหารถูกสะสมในสิ่งมีชีวิตในรูปของ
อินทรียสารและเมื่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายจะเกิดการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้เป็น
สารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยังผู้ผลิต : cyclic material cycling
( - / - )
( + / - )
( + / + )
( + / + )
( + / 0 )
( + / - )
แนวสอบ : ถ้าจับสิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ชนิดแยกกัน
สัญลักษณ์ความสัมพันธ์จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร !!!
เน้นความเข้าใจ : ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต
 Mutualism = rhizobium ,anabaena/nostoc
,trichonympha, trichomonas,
lichen (crustose, fruticose ,foliose) ,E. coli,
mycorrhiza, zooxanthellae , E. gingivalis
 Parasitism (+/-)
 Ectoparasite and Endoparasite
 Intermediate host and Definite host
 Competition (-/-)
 Intraspecific competition
 Interspecific competition
 Predation : Biological control (+/-)
 Neutralism (0/0)
 Saprophytism (+/0)
 Antibotic / Amensalism (-/0)
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต
ภาวะการแก่งแย่งแข่งขัน (Competition : Interspecific)
Predation
(Biological control)
KEYSTONE SPECIES
CHARACTERISTICS OF INVASIVE ALIEN SPECIES
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 

Similar to Ecosys 1 62_new

สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3kkrunuch
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานีT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้Kittayaporn Changpan
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้Alatreon Deathqz
 
Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์phrontip intarasakun
 

Similar to Ecosys 1 62_new (20)

1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
ป่าไม้
ป่าไม้ป่าไม้
ป่าไม้
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานีT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
2 plantstruc 2
2 plantstruc 22 plantstruc 2
2 plantstruc 2
 
Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Ecosys 1 62_new

  • 1. บทที่ 1 ระบบนิเวศ (Ecosystem) : part 1 รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2. ครูผู้สอน  นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา :  พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3.  ระบบนิเวศ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (มีชีวิตและไม่มีชีวิต)  micro level : เซลล์ → เนื้อเยื่อ → อวัยวะ → ระบบอวัยวะ → สิ่งมีชีวิต  macro level : สิ่งมีชีวิต → ประชากร → กลุ่มสิ่งมีชีวิต → ระบบนิเวศ → โลกของสิ่งมีชีวิต  มีองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ส่วนสัมพันธ์กัน คือ องค์ประกอบทางกายภาพ/เคมี (abiotic : ไม่มีชีวิต) เช่น แสง ดิน นา อุณหภูมิ แร่ธาตุ องค์ประกอบทางชีวภาพ (biotic : มีชีวิต) ได้แก่ คน พืช มอส เห็ด รา แบคทีเรีย ไวรัส ปฎิสัมพันธ์สิ่งแวดล้อม biome ชนิดเดียวกัน ต่างชนิดกัน
  • 7.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. 1. ไบโอมบนบก (terrestial) * ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด  ไบโอมป่าดิบชื้น  ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น  ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น  ไบโอมสะวันนา  ไบโอมทุนดรา  ไบโอมทะเลทราย  ไบโอมป่าสน 2. ไบโอมในน้า (aquatic) * ใช้เกณฑ์ปริมาณเกลือหรือค่าความเค็มกาหนด  ไบโอมแหล่งน้าจืด  ไบโอมแหล่งน้าเค็ม  ไบโอมแหล่งน้ากร่อย ได้แก่ แม่น้ำ - เขตน้ำขึ้นน้ำลง - ทะเลและมหำสมุทร - ป่ำชำยเลน - แนวปะกำรัง - ทะเลสำบ (น้ำจืด/น้ำเค็ม) - หำดทรำย - หำดหิน - ห้วย หนอง คลอง ไบโอม ( Biomes ) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศ ที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพและ ปัจจัยทางชีวภาพที่คล้ายคลึงกัน กระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ กัน @@@ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมนั้น ๆ จะต้องปรับตัวให้เข้ากับปัจจัยทางกายภาพในแต่ละเขต ภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 27.
  • 28.
  • 29. ไบโอมในน้า เกลือเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 3.5 (35 ppt) เกลือเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 0.1 (1 ppt)
  • 30.
  • 31.
  • 32. ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES ) 1. ไบโอมป่าดิบชื้น ( Tropical rain forest ) - พบบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ ทวีป แอฟริกาใต้ ทวีปเอเชียใต้ และบางส่วนหมู่เกาะแปซิฟิก (ป่าดงคิบกว่าครึ่ง เช่น อเมซอน) - ภูมิอากาศแบบร้อนและชื้น (ในไทยพบเฉพาะทางภาคใต้และตะวันตก : ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าพรุ) - มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝน 2000 – 5000 ม.ม./ปี (ป่ารกทึบ) - อุณหภูมิเขตร้อน (25C - 29 C เฉลี่ย 27 C) การเปลี่ยนแปลงฤดูกาลไม่ชัดเจน - พบพืชและสัตว์หลากหลายสปีชีส์มากที่สุด (ความอุดมสมบูรณ์สูงมาก)
  • 33.
  • 34. การแบ่งชั้นเรือนยอด  วิธีการแบ่งชั้นเรือนยอดใช้หลักเกณฑ์เกือบจะเหมือนกันแทบทุกประเทศ ที่ใช้กันมากในประเทศสหรัฐฯ คือ  1) เรือนยอดชั้นบน หรือชั้นไม้เด่น (Dominant) ไม้จาพวกนี้จะมีเรือนยอดสูงกว่าระดับของพุ่มเรือน ยอดของพืชอื่นทั้งหมด เพราะฉะนั้นเรือนยอดของพืชจะได้รับแสงเต็มที่ทั้งด้านบนและด้านข้าง ไม้พวกนี้ จะโตกว่าไม้ในบริเวณเดียวกันและมีเรือนยอดเจริญดี 2) เรือนยอดชั้นรอง หรือชั้นไม้รอง (Co-diminant) ไม้จาพวกนี้จะเป็นไม้ที่มีเรือนยอดอยู่ในระดับ เดียวกับระดับของยอดไม้ทั้ง ป่ า เพราะฉะนั้นแสงจะได้รับมากทางด้านบนของเรือนยอด ส่วนด้านข้างของ เรือนยอดจะไม่ได้รับแสงหรือรับได้น้อยมาก ตัวเรือนยอดเองก็มักจะมีขนาดปานกลาง และมีเรือนยอดไม้ต้น อื่นเบียดเสียดอยู่ข้างๆ 3) เรือนยอดชั้นกลาง หรือชั้นไม้กลาง (Intermediate) ไม้กลางนั้นจะมีเรือนยอดอยู่ต่ากว่าระดับเรือน ยอดของไม้ทั้งบริเวณ แต่อาจจะมีส่วนใดส่วนหนึ่งของเรือนยอดได้รับ แสงโดยตรงจากข้างบนบ้างเล็กน้อย แต่ข้างๆเรือนยอดนั้นไม่ได้รับแสงเลย โดยปกติแล้ว “ไม้กลาง” จะมีเรือนยอดเล็กและถูกเบียดจากข้างๆหรือ รอบๆมาก 4) เรือนยอดชั้นล่างหรือไม้ล่าง (Over-topped) ไม้ล่างเป็นไม้ที่มีเรือนยอดต่ากว่า ระดับเรือนยอดของ ไม้ ทั้งบริเวณ เรือนยอดจะไม่ได้รับแสงโดยตรงเลย ไม่ว่าจะทางบนหรือรอบๆเรือนยอด เมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับ ชั้นเรือนยอดจากการสักเกตธรรมชาติของป่ าแล้ว ประสบการณ์การปลูกพืชของเกษตรกรและความรู้ เกี่ยวกับลักษณะและธรรมชาติของพืช เป็นอีกส่วนหนึ่งที่นามาประยุกต์ใช้ในการปลูกพืชเป็นลาดับชั้น ตัวอย่างความรู้เรื่องการจาแนกทางพืชสวน สามารถจาแนกได้หลายวิธี เช่น 1 การจาแนกทางสวนพืชโดย ลักษณะลาต้น ได้แก่ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื้อย 2 การจาแนกโดยอาศัยลักษณะเฉพาะของพืชสวน ได้แก่ ไม้ ผล ผัก ไม้ดอก ไม้ประดับ 3 การจาแนกพืชโดยอาศัยการเจริญเติบโต พืชล้มลุก พืชสองฤดู พืชยืนต้น
  • 36. 2. ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น ( Temperate deciduous forest ) - พบบริเวณละติจูดกลาง เช่น ทวีปยุโรป, ทวีปเอเชียตอนเหนือบางส่วน (จีน) และ ประเทศไทย (บริเวณที่สูงของทุกภาคยกเว้นภาคใต้ เช่น ทุ่งแสลงหลวง จ.พิษณุโลก) - ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 600-2500 ม.ม./ปี : ผลัดใบเพื่อลดการคายน้า (ป่าโปร่ง) - มีความชื้นและอุณหภูมิเฉลี่ยปานกลาง ซึ่งเพียงพอที่จะทาให้ต้นไม้ขนาดใหญ่โตได้ - อากาศค่อนข้างเย็นในฤดูหนาว (0 C) : ฤดูร้อนอุณหภูมิค่อนข้างสูง : 30 C - ต้นไม้จะผลัดใบก่อนถึงฤดูหนาว และจะผลิใบเมื่อผ่านฤดูหนาวไปแล้ว  มีช่วงอุณหภูมิที่กว้าง มี 4 ฤดูชัดเจน (ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว)  พืชเด่นที่พบ : ไม้พุ่ม ,พืชล้มลุก ,ไม้ต้น (เด่น :ยูคาลิปตัส เมเปิล โอ๊ก)  สัตว์ที่พบ : กวาง ,สุนัขจิ้งจอก กระรอก กระต่ายป่า ไก่งวง หมี และนกชนิดต่างๆ ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 37.
  • 38.
  • 39. 3. ป่าสน ( Coniferous forest ) - ป่าสน ป่าไทกา ( Taiga ) หรือป่าบอเรียล ( Boreal ) : เขตหนาว - อยู่ที่ตาแหน่งละติจูดสูงกว่าป่าผลัดใบอบอุ่น ต้นไม้เขียวตลอดปี - พบทางตอนใต้ของแคนาดา ตอนเหนืออเมริกาเหนือ จีน ฟินแลนด์ รัสเซียบางบริเวณ : ฤดูหนาวยาวนานมีหิมะ อากาศแห้ง และเย็น - พืชเด่น สน ไพน์ ( Pine ) เฟอ ( Fir ) สพรูซ ( Spruce) แฮมลอค ( Hemlock )  สัตว์ที่พบ : กวาง ,นกฮูกเทาใหญ่ - ไทยพบแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ เช่น ภูเรือ ภูกระดึง (จ.เลย) ภูสอยดาว (จ.อุตรดิตถ์) เป็นต้น - มักพบสนสองใบและสนสามใบ - อุณหภูมิ -5 C – 10 C - ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 500 – 1000 ม.ม./ปี ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 40. ป่ าสน (CONIFEROUS FOREST) หรือ ป่ าไทกา (TAIGA) และ ป่ าบอเรียล (BOREAL)  เป็นป่ าประเภทเขียวชอุ่มตลอดปี พบได้ทางตอนใต้ของประเทศแคนนาดา ทางตอน เหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปเอเชียและยุโรป  ในเขตละติจูดตั้งแต่ 45 – 67 องศาเหนือ ลักษณะของภูมิอากาศมีฤดูหนาวค่อนข้าง ยาวนาน อากาศเย็นและแห้ง  พืชเด่นที่พบได้แก่ พืชจาพวกสน เช่น ไพน์ (Pine) เฟอ (Fir) สพรูซ (Spruce) และ เฮมลอค เป็นต้น
  • 41. Spruce Fir Pine สนสองใบ สนสามใบ
  • 42. 4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ( Temperate grassland ) - ปริมำณน้ำฝน 250 – 600 มม./ปี มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนำว - มีช่วงอุณหภูมิกว้ำง (-10 C -30 C) : ไม่พบในประเทศไทย - ทุ่งหญ้ำเขตอบอุ่นนี้เหมำะสำหรับกำรทำกสิกรและปศุสัตว์ เพรำะดินมีควำมอุดมสมบูรณ์สูงมี หญ้ำนำนำชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีกำรทำเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย - ทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ (prairie) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ (steppe) และใน ทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา (pampa) - พืชที่พบ ไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia) - สัตว์ที่พบ เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโต หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมู ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 43.
  • 44.
  • 45. 5. สะวันนา (Savanna) : ทุ่งหญ้าเขตร้อน - พบได้ในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลียและพบบ้างทางตะวันออก เฉียงใต้ของทวีปเอเชีย - ในไทยพบเกือบทุกภาค ยกเว้น ภาคใต้และตะวันออก แถบจันทบุรีและตราด - อากาศร้อนยาวนาน : อุณหภูมิ 24 C - 29 C - พืชที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหญ้าและมีต้นไม้กระจายเป็นหย่อม ๆ - ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า (ฤดูแล้งยาวนาน) - พืชที่ขึ้นมักทนต่อไฟป่าและความแห้งแล้งได้ดี สัตว์ที่พบคล้ายกับทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น เช่น ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรห้วยขาแข้ง จ.ตาก - ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 300-500 ม.ม./ปี : ป่าทุ่งหญ้า กับ ป่าเต็งรัง/แดง/แพะ/โคก ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 46.
  • 47.
  • 48.  6. ทะเลทราย ( desert ) - ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 250 ม.ม.ต่อปี อุณหภูมิกว้างมาก [ > 50 C - <-10 C ] - บางที่ฝนตกหนักแต่ดินเป็นทรายที่ไม่อุ้มน้า ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือ ผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส - พืชที่พบในไบโอมทะเลทรำยนี้มีกำรป้องกันกำรสูญเสียน้ำ โดยใบลดรูปเป็นหนำม ลำต้นอวบ เก็บ สะสมน้ำ และพืชปีเดียว : Xerophyte - ทะเลทรายซาฮารา (Sahara) ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี (Gobi) ในจีน และ ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave) ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - สัตว์ที่พบเลื้อยคลำน พวกงูและกิ้งก่ำ และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์ส่วนใหญ่หำ กินกลำงคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอำกำศร้อนในตอนกลำงวัน ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 50.
  • 51. 7. ทุนดรา (Tundra) - พบเพียงตอนเหนือของทวีปอเมริกำเหนือ และยูเรเซีย ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลำสก้ำ และไซบีเรีย - ฤดูหนำวค่อนข้ำงยำวนำน มีหิมะ (-30 C -10 C ) ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ :ความหลากหลายสูงสุด - สามารถปลูกพืชได้ระยะสั้นๆ (พืชจะต้องรีบเจริญเติบโตออกดอกออกผลและตายไป) - ชั้นของดินที่อยู่ต่ำกว่ำจำกผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้ำแข็ง : permafrost - ปริมาณฝนน้อย และถ้าในฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ น้าแข็งที่ผิวหน้าดินจะละลาย แต่เนื่องจากน้าไม่ สามารถซึมผ่านลงไปในชั้นน้าแข็งได้ในระยะสั้น ๆ (15-20 เซนติเมตร)  พืช เด่น ได้แก่ ไลเคนส์ นอกจำกนี้ยังมีมอส กก หญ้ำเซดจ์(Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ  สัตว์ที่พบ ได้แก่ นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดเด่น คือ กวำงคำริบู กวำง เรนเดียร์ กระต่ำยป่ำขั้วโลก หนูเลมมิง สุนัขป่ำขั้วโลก นกชนิดเด่น คือ นกทำมิแกน นกเค้ำแมวหิมะ นอกจำกนี้ยังมีนกจำกแหล่งอื่นอพยพเข้ำมำในฤดูร้อน แมลง ยุง  ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 150-250 มม./ปี  พบบริเวณละติจูดอยู่เหนือป่าสนไทก้าขึ้นไปจนถึงขั้วโลก ไบโอมบนบก ( TERRESTRIAL BIOMES )
  • 52.
  • 53. • ขั้วโลกเหนือ คือ อาร์กติก ส่วน ขั้วโลกใต้ คือ แอนตาร์กติกา • เขตอาร์กติกไม่ถือว่าเป็นทวีป เพราะจริงๆแล้วเป็นมหาสมุทรที่น้ากลายเป็นน้าแข็งและหิมะปกคลุมเป็น ทะเล น้าแข็ง ไม่มีแผ่นดิน • ในขณะที่ แอนตาร์กติกา ถูกจัดให้เป็นทวีปแอนตาร์กติกา เพราะเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่ ที่ถูกปกคลุมด้วยหิมะ และน้าแข็งเป็น ชั้นน้าแข็ง • แต่สิ่งที่ทั้งสองขั้วโลกนี้เหมือนกัน คือ ดวงอาทิตย์ไม่เคยขึ้นสูงเกิน 23.5 องศาเหนือขอบฟ้าและทั้งสองขั้วโลก จะอยู่ในความมืดนานติดต่อกันถึง 6 เดือน และมีอากาศหนาวเย็นติดลบ ตลอดจนมีหิมะปกคลุม และภูเขา น้าแข็งเหมือนกัน
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 58.
  • 59. ไม่พบในไทย : พบตอนกลางรัฐแคลิฟอร์เนีย ชายฝั่งแปซิฟิก รอบๆทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีช่วงอุณหภูมิที่กว้าง (10 C - 40 C ) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 30-50 เซนติเมตร/ปี (มักจะมีการเกิดฝนตกฤดูหนาว) ลักษณะเป็นทุ่งหญ้าสลับกับ ป่าไม้พุ่มเตี้ยเขียวชอุ่มทั้งปี
  • 61. HIGHLAND MOUNTAIN BIOME เทือกเขาแอนดิสในทวีปอเมริกาใต้ เทือกเขาร็อกกี้ใน อเมริกาเหนือ เทือกเขาคิรินมันจาโรในทวีปแอฟริกา เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย
  • 62. เขตพื้นที่ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง (ELEVATION / ALTITUDE) ในเขต เทือกเขาที่กระจายตัวอยู่ทั่วโลก : ในไทยภาคเหนือ ดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่
  • 64.
  • 65. ระบบนิเวศบนบก :TERRESTRIAL ECOSYSTEM  ระบบนิเวศป่าไม้ : ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญยิ่งของประเทศ เป็นแหล่งรวม พันธุ์ไม้และสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ช่วยควบคุมอุณหภูมิ ผลิตก๊าซ ออกซิเจน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้ฝนตกตามฤดูกาล ป่าไม่ผลัดใบ (Evergreen forest) ได้แก่ ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) ,ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest) ,ป่าดิบเขา (Hill evergreen forest) ,ป่าสน (Coniferous forest) ,ป่า ชายเลน (Mangrove swamp forest) ,ป่าพรุ (Peat Swamp) ป่าผลัดใบ (Deciduous Forest) ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ ,ป่าแดง ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง ,ป่า หญ้า
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69. ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)  เป็นสังคมที่ประกอบไปด้วยพรรณพืชที่ผลัดใบหรือทิ้งใบ  การผลัดเปลี่ยนใบจะใช้เวลาค่อนข้างยาวนาน (กระบวนการ chlorosis)  สังคมพืชกลุ่มนี้มีประมาณ 70 % ของเนื้อที่ป่าของประเทศไทย แบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ คือ 1. ป่าเบญจพรรณ มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ  ดินเป็นได้ตั้งแต่ดินเหนียว ดินร่วน จนถึงดินลูกรัง  ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร ต่อปี  เป็นป่าโปร่งพบต้นไม้ขนาดกลางเป็นส่วนมาก  ต้นไม้ทั้งหมดจะผลัดใบมากในฤดูแล้ง มีไฟป่าไหม้อยู่ทั้งปี  พรรณไม้หลัก เช่น สัก มะค่าโมง แดง ประดู่ และชิงชัน และ มีไผ่ชนิดต่างๆ ขึ้นแทรก พบทั่วไปในภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 70.
  • 71. 2. ป่าเต็งรัง มีอยู่ทั่วไปตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ (อยู่มากทางภาคเหนือ กลาง อีสาน)  ดินมักเป็นดินทรายและดินลูกรัง ซึ่งจะมีสีค่อนข้างแดง (ป่าแดง/ป่าแพะ/ป่าโคก)  เป็นป่าโปร่งมีต้นไม้ขนาดเล็กหรือขนาดกลางขึ้นอยู่กระจัดกระจาย พื้นป่าไม่รกทึบ มี ปริมาณน้าฝนไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตรต่อปี  พรรณไม้ที่ขึ้นมักเป็นชนิดที่ทนแล้งทนไฟป่า (มักเกิดไฟป่าตลอดทุกปี) เช่น เต็ง รัง พะยอม พลวง มะขามป้อม มะกอก ผักหวาน เป็นต้น  พืชชั้นล่างส่วนใหญ่เป็นพวกหญ้า ไผ่ต่าง ๆ พบมากที่สุดคือไผ่เพ็กหรือหญ้าเพ็ก พวกปรง พวกขิง ข่า เป็นต้น ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
  • 72.
  • 73. 3. ป่าหญ้า เป็นป่ำที่เกิดภำยหลังจำกที่ป่ำธรรมชำติอื่น ๆ ได้ถูกทำลำยไป (secondary succession)  ดินมีสภาพเสื่อมโทรม จนไม้ต้นไม่อำจเจริญงอกงำมต่อไปได้  หญ้ำต่ำง ๆ จึงเข้ำมำแทนที่ พบมำกได้ทำงภำคเหนือ ภำคอีสำน (โดยเฉพำะบริเวณที่เกิดไฟป่ำได้ บ่อย) พืชที่สามารถพบได้ เช่น แฝก หญ้าพง อ้อ เป็นต้น  ไม้ต้นมีขึ้นกระจำยห่ำง ๆ กันบ้ำง เช่น กระถินป่ำ ประดู่ ตำนเหลือง และปรงป่ำ เป็นต้น ไม้เหล่ำนี้ ทนแล้งและทนไฟป่ำได้ดี ป่าผลัดใบ (DECIDUOUS FOREST)
  • 74.
  • 75. ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST) 1. ป่าดิบชื้น (Tropical rainforest)  พบทุกภาคของประเทศ และมากที่สุดแถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรี และที่ภาคใต้ : ป่ารกทึบมีพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด  กระจัดกระจายตามความสูงตั้งแต่ 0 - 100 เมตรจากระดับน้าทะเล  มีปริมาณน้าฝนตกมากกว่าภาคอื่น ๆ (ความหลากหลายทางชีวภาพสูงสุด)  ลักษณะทั่วไปมักเป็นป่ารกทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ ส่วนใหญ่เป็นวงศ์ยาง ไม้ตะเคียน กะบาก อบเชย จาปาป่า ส่วนที่เป็นพืชชั้นล่างจะ เป็นพวกปาล์ม ไผ่ ระกา หวาย บุก เฟิร์น มอส กล้วยไม้ป่าและ เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79. ไคลโนมิเตอร์ (CLINOMETER)  เป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ที่ใช้ในการวัดความสูง เช่น ความสูงของต้นไม้โดยมีสูตรใน การหาค่าดังนี้  ความสูงของต้นไม้= (ระยะห่างระหว่างต้นไม้กับผู้สังเกต × tanθ) + ความสูงของผู้สังเกต คานวณ 1. หาความสูงของต้นไม้ โดยใช้ ไคล นอมิเตอร์ (clinometer) วัดค่ามุมเงย ของยอดไม้ อ่านค่ามุมเงยเป็น θ องศา แล้วนามาคานวณโดยใช้สูตร ความสูงของต้นไม้ = (ระยะห่างระหว่างต้นไม้และผู้ สังเกต × tanθ) + ความสูงของผู้ สังเกต
  • 80. ตัวอย่างการคานวณไคลโนมิเตอร์ (CLINOMETER)  ผู้สังเกตยืนห่างจากต้นไม้ 10 เมตร วัดมุมเงยยอดต้นไม้ได้ 40O จากตาราง ค่า tangent ของมุม 40O คือ 0.84 ความสูงของผู้สังเกต 1.5 เมตร  ดังนั้น ความสูงของต้นไม้ = (10 × 0.84) + 1.5 = 9.9 เมตร
  • 81. 2. ป่าดิบแล้ง (Dry evergreen forest)  พบตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตามหุบเขา : ป่าโปร่ง  ความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 500 เมตร  ปริมาณน้าฝน 1,000 - 1,500 ม.ม.ต่อปี  พันธุ์ไม้ที่สาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง เป็นต้น พื้นที่ป่าชั้นล่างจะไม่หนาแน่นและ ค่อนข้างโล่งเตียน ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
  • 82.
  • 83. 3. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)  อยู่สูงจำกระดับน้ำทะเล ตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป  ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขำสูงทำงภำคเหนือ บางแห่งในภำคกลำงและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นที่ อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง และ อุทยานแห่งชาติน้าหนาว เป็นต้น  มีปริมำณน้ำฝนระหว่ำง 1,000 ถึง 2,000 ม.ม.ต่อปี  พืชที่สาคัญได้แก่ไม้วงศ์ก่อ เช่น ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย กาลังเสือโคร่ง  มีป่ำเบจพรรณด้วย บำงทีก็มีสนเขำขึ้นปะปนอยู่ด้วย ส่วนไม้พื้นล่ำงเป็นพวกเฟิร์น กล้วยไม้ดิน มอสชนิดต่ำง ๆ (ป่าชนิดนี้มักอยู่บริเวณต้นน้าลาธาร) ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
  • 84.
  • 85.
  • 86. 4. ป่าสน (Coniferous Forest) : ป่าไทกา (Taiga) ป่าบอเรียล (Boreal)  กระจายอยู่เป็นหย่อม ๆ ตามภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง และที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย ศรีสะเกษ สุรินทร์ และอุบลราชธานี  ระดับความสูงจากน้าทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป : พบบนภูเขาสูง  ป่าสนมักขึ้นในที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่ค่อนข้างแห้งแล้ง  ประเทศไทยมีสนเขาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ สนสองใบและสนสามใบ และพวกก่อต่าง ๆ ขึ้นปะปนอยู่ พืชชั้นล่างมีพวกหญ้าต่าง ๆ  ป่าสนบางครั้งพบขึ้นปนอยู่กับป่าแดง และป่าดิบเขา ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
  • 87.
  • 88.
  • 89. 5. ป่าพรุ (Swamp Forest, Peat Swamp Forest)  เป็นสังคมป่ำที่อยู่ถัดจำกบริเวณสังคมป่ำชำยเลน พบตำมริมฝั่งทะเลที่มีโคลนเลนทั่วๆไป  เป็นพื้นที่ลุ่มที่มีกำรทับถมของซำกพืชและอินทรียวัตถุที่ไม่สลำยตัว และมีน้ำท่วมขังหรือชื้นแฉะ ตลอดปี (มีน้ำขังอยู่ด้ำนล่ำงด้ำนบน) : ปริมำณำน้ำฝนไม่น้อยกว่ำ 2000 มม.ต่อปี  พบในภาคใต้ของประเทศไทย : จังหวัดนราธิวาส นครศรีธรรมราช ชุมพร  พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกบุกรุกทำลำยเพื่อเปลี่ยนแปลงสภำพเป็นสวนมะพร้ำว นำข้ำว และบ่อเลี้ยงกุ้งเลี้ยง ปลำ พืชดัชนี : สาโรง กะเบาน้า กันเกรา  ป่าพรุโต๊ะแดง ที่นราธิวาสเป็นป่าพรุที่สมบูรณ์ที่สุด ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST)
  • 90.
  • 91. ป่าไม่ผลัดใบ (EVERGREEN FOREST) 6. ป่าชายเลน (Mangrove Swamp Forest)  พบตามชายฝั่งทะเลที่มีดินโคลนและน้าทะเลท่วมถึง : น้าขึ้นลง  เช่น ตามชายฝั่งตะวันตกตั้งแต่ระนองถึงสตูล (ริมทะเลอ่าวไทย)  แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้าจาพวก กุ้ง หอย ปู ปลา  ไม้ที่สาคัญเช่น ไม้โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสม ลาพู โพทะเล เป็นต้น
  • 92.
  • 93.
  • 94. ชีวนิเวศแหล่งน้า : AQUATIC BIOMES น้า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แบ่งออกตามลักษณะแหล่งที่ เกิดได้ ดังนี้ 1. แหล่งน้าจืด 3. แหล่งน้าเค็ม 2. แหล่งน้ากร่อย  ระบบนิเวศที่เป็นแหล่งน้าหากจาแนกตามลักษณะของแหล่งน้าที่พบทั่วไปมี 3 ประเภท ได้แก่  แหล่งน้าบนบก  แหล่งน้าใต้ดิน  แหล่งน้าในอากาศ (หยาดน้าฟ้า) การแบ่งน้าลักษณะอย่างนี้ แบ่งโดยอาศัยค่าความเค็ม/ปริมาณเกลือเป็นตัวกาหนด
  • 95.
  • 96.
  • 97.
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 101. ไบโอมในน้า ( AQUATIC BIOMES ) แหล่งน้าจืด ประกอบด้วย  แหล่งน้ำนิ่ง เช่น สระ หนอง บึง และทะเลสาบ (lentic : การไหลไม่แน่นอน O2 น้อย pH คงที่ ตะกอนมาก)  แหล่งน้ำไหล เช่น ธารน้าไหล และแม่น้า (lotic : การไหลแน่นอน O2 มาก pH ไม่คงที่ ตะกอนน้อย) แหล่งน้าเค็ม ประกอบด้วย  ทะเลสาบ (อยู่ใกล้ทะเล)  ทะเล (อยู่ใกล้ชายฝั่ง)  มหาสมุทร (อยู่ไกลชายฝั่ง) ซึ่งพบในปริมาณมาก ร้อยละ 71 ของพื้นผิวโลกและมีความลึกมาก ความแตกต่างระหว่างน้าจืดและน้าเค็ม  น้ำขึ้นน้ำลงเป็นปัจจัยทำง กำยภำพสำคัญที่ทำให้แหล่ง น้ำเค็มแตกต่ำงจำกแหล่งน้ำจืด
  • 102. ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด (FRESH WATER BIOMES)  ระบบนิเวศน้าจืดแบ่งตามลักษณะของแหล่งน้าเป็น 2 ประเภท คือ 1. แหล่งน้านิ่ง (lentic) เช่น ทะเลสาบ หนอง บึง (แหล่งน้าขนาดใหญ่) 2. แหล่งน้าไหล (lotic) เช่น แม่น้า ลาธาร คลอง ห้วย น้าตก (แหล่งน้ำกร่อย เช่น ดินดอนสำมเหลี่ยม ปำกแม่น้ำ ปำกอ่ำว ป่ำชำยเลน)
  • 103.
  • 104.
  • 105.
  • 106.
  • 107.  1. แหล่งน้านิ่ง แบ่งเป็น 3 เขต คือ 1.1 เขตชายฝั่ง (Littoral zone) เป็นบริเวณรอบ ๆ แหล่งน้า - แสงส่องได้ถึงก้นน้า - ผู้ผลิต บริเวณชายฝั่ง เช่น กก บัว แห้วทรงกระเทียม สาหร่ายสีเขียว และไดอะตอม จอก จอกหูหนู แหนแดง - ผู้บริโภค ได้แก่ หอยขม หอยโข่ง ตัวอ่อนแมลงปอเข็ม แมลงปอชีปะขาว กุ้งก้ามกราม หอยกาบเดียว หอยสองกาบ เต่า ปลา 1.2 ผิวน้าหรือเขตกลางน้า (Limnetic zone) นับจากชายฝั่งเข้ามาจนถึงระดับลึกที่แสงส่องถึง  ความเข้มของแสงประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของแสงจากดวงอาทิตย์  สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่เป็นแพลงก์ตอน และพวกที่ว่ายน้าอิสระ มีจานวนชนิดและจานวน สมาชิกน้อยกว่าเขตชายฝั่ง แพลงก์ตอนพืช ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว ไดอะตอม สาหร่ายสี เขียวแกมน้าเงิน  สัตว์เหล่านี้เป็นสัตว์ต่างชนิดกับเขตชายฝั่ง นอกจากนี้สัตว์อื่นๆ ในเขตกลางสระ เช่น ปลา ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
  • 108. 1.3 เขตน้าชั้นล่าง (Profundal zone) เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดจนถึงหน้าดินของพื้นท้องน้า _ แสงส่องไม่ถึง จึงไม่มีผู้ผลิต - สิ่งมีชีวิตที่พบ ได้แก่ รา แบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน ตัวอ่อนยุง หอยสองกาบ หนอนตัว กลม เป็นต้น - สิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพที่มีออกซิเจนต่า เช่น ตัวอ่อนของยุงน้าชนิด หนึ่ง (Phantom) มีถุงลมสาหรับช่วยในการลอยตัว และสาหรับเก็บออกซิเจนไว้ใช้ ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
  • 109.
  • 110.  2. แหล่งน้าไหล แบ่งเป็น 2 เขต คือ 2.1 เขตน้าเชี่ยว (rapid zone) เป็นเขตที่มีกระแสน้ำไหลแรง จึงไม่มีตะกอนสะสมใต้น้ำ - สิ่งมีชีวิตมักเป็นพวกที่สามารถเกาะติดกับวัตถุใต้น้า หรือคืบคลานไปมาสะดวก - สิ่งมีชีวิตที่ว่ายน้าได้จะต้องเป็นพวกที่ทนทานต่อการ ต้านกระแสน้า - ไม่พบแพลงก์ตอนในบริเวณนี้ 2.2 เขตน้าไหลเอื่อยหรือเขตแอ่งน้า (pool zone) เป็นช่วง ที่มีควำมลึก ควำมเร็วของกระแสน้ำลดลง  อนุภาคต่างๆ จึงตกตะกอนทับถมกันหนาแน่นในเขตนี้  ไม่มีสัตว์เกาะตามท้องน้า เขตนี้เหมาะกับพวกที่ขุดรูอยู่ เช่น หอยสองกาบ ตัวอ่อนของแมลงปอ ชีปะขาว แพลงก์ตอน และพวกที่ว่ายน้าได้ ระบบนิเวศแหล่งน้าจืด
  • 111.
  • 112.
  • 113. การปรับตัวของสัตว์ในแหล่งน้าไหล สัตว์มีการปรับตัวพิเศษเพื่อการอยู่รอดหลายวิธี •มีโครงสร้างพิเศษสาหรับเกาะหรือดูดพื้นผิว เพื่อให้ติดแน่นกับพื้นผิว สิ่งมีชีวิตที่ มีอวัยวะพิเศษนี้ เช่น แมลงหนอนปลอกน้า •สร้างเมือกเหนียว เพื่อใช้ยึดเกาะ เช่น พลานาเรีย หอยกาบเดียว •มีรูปร่างเพรียว เพื่อลดความต้านทานต่อกระแสน้า เช่น ปลา •ปรับตัวให้แบน เพื่อยึดติดกับท้องน้าได้แนบสนิทหรือเพื่อให้สามารถแทรกตัวอยู่ ในซอกแคบๆ หลีกเลี่ยงกระแสน้าแรงๆ
  • 114. ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม (MARINE BIOME)  แหล่งน้าเค็ม ได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร ซึ่งจัดเป็นแหล่งน้าไหลเนื่องจากมีกระแส คลื่นเกิดขึ้นตลอดเวลา (ปัจจัยการขึ้นลงของแหล่งน้าประเภทต่างๆ : น้าทะเล หนุน)  ระบบนิเวศทางทะเลเป็นระบบนิเวศที่มีขนาดใหญ่ มีพื้นประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของ ผิวโลก  สามารถแบ่งได้เป็น 2 เขตใหญ่ๆ คือ เขตพื้นน้า (pelagic zone) และเขตพื้นดิน (benthic zone)  สามารถแบ่งเขตพื้นน้า ออกเป็น 2 บริเวณ คือ - บริเวณชายฝั่งทะเล (coastal or neritic zone) เป็นบริเวณที่อยู่ติดกับพื้นดินที่มี ควำมลำดชันน้อยและค่อนข้ำงอุดมสมบูรณ์ เนื่องจำกได้รับอิทธิพลของกระแสน้ำขึ้นน้ำลง และได้รับธำตุอำหำรจำกกำรชะล้ำงผิวหน้ำดินลงสู่แหล่งน้ำ - บริเวณทะเลเปิด (open sea or oceanic zone) เป็นบริเวณที่อยู่ห่ำงออกจำก ชำยฝั่ง พื้นที่มีควำมลำดชันเพิ่มขึ้นตำมควำมลึกของน้ำ
  • 115.
  • 116. abyssal zone เขตพื้นดิน (benthic zone) Supra-tidal zone Intertidal zone Sub-tidal zone เขตใต้น้า
  • 117.
  • 118.
  • 119.  เขตพื้นดิน (benthic zone) แบ่งเป็น  เขตชายฝั่ง (continental shelf) ลึกน้อยกว่า 200 m ประกอบด้วย Photic zone  Supra-tidal zone เขตริมทะเลที่น้าทะเลท่วมไม่ถึง  Intertidal zone เขตชายทะเล (น้าขึ้นสูงสุดและลงต่าสุด)  Sub-tidal zone เขตใต้น้า (แนวประการัง)  เขตไหล่ทวีป (continental slope) : 200-4000 m Aphotic zone  เขตพื้นมหาสมุทร (abyssal zone) : 4000-6000 m Aphotic zone  เขตหุบเหว (trenches zone/hadal zone) มากกว่า 6000 m Aphotic zone  สามารถแบ่งออกเป็นเขตต่างๆ ได้ 3 เขต คือ 1. เขตที่แสงส่องถึง Photic zone 2. เขตที่ไม่มีแสง Aphotic zone @@@นอกจากนี้ยังอาจแบ่งตามลักษณะพื้นผิวกายภาพได้เป็น หาดทราย หาดหิน และแนวประการัง ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม (MARINE BIOME)
  • 120.  หาดหิน (rocky shore) : การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่รุนแรงอย่างมาก  เป็นบริเวณที่ประกอบด้วยโขดหินไม่ราบเรียบ มีซอกและแอ่งน้าเป็นที่กาบังคลื่นลมและหลบซ่อนตัว  สัตว์ที่อาศัยบริเวณนี้ต้องคงทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ความชื้น (การขึ้น-ลงของกระแสน้า)  ได้แก่ แมลงสาบทะเล (ligio) หอยนางรม ลิ่นทะเล หอยหมวกเจ๊ก (limpets) เพรียงหิน เม่น ทะเล ดอกไม้ทะเล สาหร่ายสีแดง ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม : INTERTIDAL ZONE
  • 121.
  • 122.
  • 123.  หาดทราย (sandy beach)  เป็นบริเวณชายฝั่งตั้งแต่รระดับน้าลงต่าสุดจนถึงระดับน้าขึ้นที่ละอองน้าเค็มสาดซัดไปถึง (ขนาดเม็ด ทรายและความลาดชันแตกต่างกัน)  สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนี้ต้องมีการปรับตัวมาก เพราะคลื่นซัดทรายในสภาพที่รุนแรง  เช่น ปูลม เคลื่อนที่ได้รวดเร็วและมีเหงือกใหญ่ชุ่มชื้นอยู่เสมอทนความแห้งแล้งได้ดี พวกหอยเสียบ หอยทับทิม ชอบฝังตัวหรือขุดรูอยู่ในทราย ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม INTERTIDAL ZONE
  • 124.
  • 125.
  • 126.  แนวปะการัง (coral reef)  ปะการังเป็นสัตว์ที่มักสืบพันธุ์ด้วยการแตกหน่อเชื่อมติดกันมีสารหินปูนห่อหุ้มลาตัว กลุ่มก้อนปะการัง ที่สวยงามมาก (colony) ได้แก่ ปะการังเขากวาง ปะการังสมอง ปะการังเห็ด ปะการังต้นไม้ ฯลฯ  สามารถพบได้เฉพาะทะเลเขตร้อนที่มีพื้นท้องทะเลเป็นหินแข็ง  เป็นแหล่งที่ให้ความอุดมสมบูรณ์ทางด้านอาหาร ที่อยู่อาศัย แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้าแต่ละ ชนิด เป็นระบบนิเวศที่มีความหลากหลายและให้ผลผลิตสูงมากในทะเล ระบบนิเวศแหล่งน้าเค็ม : SUB-TIDAL ZONE
  • 127.
  • 128.
  • 129.
  • 130.
  • 131.
  • 132. ระบบนิเวศแหล่งน้ากร่อย 3. น้ากร่อย (Estuaries biome) เป็นบริเวณที่น้ำมำบรรจบกันระหว่ำงน้ำจืดและน้ำเค็ม ทำให้ เป็นบริเวณที่มีน้ำกร่อยเกิดเป็นชุมชนรอยต่อระหว่ำงชุมชนน้ำจืดและน้ำเค็ม  ลักษณะพิเศษที่เกิดขึ้นคือ มีสภำพทำงชีววิทยำที่เอื้ออำนวยที่จะให้ผลผลิตอย่ำงสูงต่อสังคม มนุษย์ (แหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์ทะเล)  มีควำมอุดมสมบูรณ์ของธำตุอำหำรสูง (การสะสมตัวของดินตะกอนขณะน้าขึ้น-ลง)  พบสัตว์เศรษฐกิจมำกมำย เช่น กุ้ง หอย ปู ปลำต่ำง ๆ
  • 133. น้ากร่อย ( ESTUARIES )  แหล่งน้ากร่อย หมายถึง คือช่วงรอยต่อของแหล่งน้าจืดและน้าเค็มที่มาบรรจบกัน ซึ่งมักจะ พบตามปากแม่น้า การขึ้นลงของกระแสน้าที่อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความเค็มของ น้าในแหล่ง น้ากร่อยเป็นอย่างมาก  โดยทั่วไปแล้ว น้ากร่อยหรือน้าทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็นด่าง เหตุที่น้าทะเลมีสภาพ เป็นด่างอ่อน ๆ เป็นเพราะในน้าทะเลมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทาให้น้าเป็นด่างอ่อน
  • 134.
  • 135.
  • 136.
  • 137.
  • 138.
  • 139.
  • 140.
  • 141.
  • 142. ระบบนิเวศ = กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่  กลุ่มสิ่งมีชีวิต หมายถึง สิ่งมีชีวิตตังแต่ 2 ชนิด อยู่ร่วมกันต่างจากประชากร หมายถึง สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ร่วมกัน  สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศต่างมี ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ดังนี 1. ผู้ผลิต = สร้างอาหารได้ โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น พืช สาหร่าย หรือสังเคราะห์เคมี เช่น แบคทีเรียสีเขียว 2. ผู้บริโภค = ไม่สามารถสร้างอาหารต้องบริโภคสิ่งมีชีวิต อื่นเป็นอาหาร ได้แก่ ผู้บริโภคสัตว์ ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภค พืชและสัตว์เช่น วัว กวาง เสือ สิงโต มนุษย์ 3. ผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร = ไม่สามารถสร้างอาหารได้ แต่ ย่อยสลายอินทรีย์สารให้เป็นอนินทรีย์สารเป็นประโยชน์ แก่พืช โดยการปล่อยน้าย่อยออกมา และดูดซึม สารอาหารเข้าสู่เซลล์ เช่น แบคทีเรีย รา ยีตส์ saprophyte
  • 145.
  • 146.
  • 148.
  • 149.
  • 151.
  • 152.
  • 153. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 1. อุณหภูมิ 1.1 ปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย: เอนไซม์เป็นตัวควบคุมอัตราการเกิดโดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่การทางานของเอนไซม์ จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส (ไม่เสียสภาพโปรตีน) 1.2 เปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา คือ กลไกในการปรับอุณหภูมิ เช่น สัตว์เลือดอุ่นจะมีการปรับอุณหภูมิร่างกายให้คงที่ 1.3 พฤติกรรมการอพยพ เช่น นกปากห่างอพยพมาจากเขตหนาวมาไทย ซึ่งเป็นเขตที่อบอุ่น 1.4 ปริมาณ O2 ที่ละลายในน้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให้สิ่งมีชีวิตในน้าลดลง 1.5 ปัจจัยควบคุมการเจริญเติบโต เช่น การงอกของเมล็ดพืชบางชนิดเมื่ออุณหภูมิเหมาะสม 1.6 กาหนดฤดูกาลสืบพันธุ์ เช่น สัตว์ในเขตหนาวจะสืบพันธุ์ในช่วงอากาศอบอุ่น 1.7 ปัจจัยการปรับตัวด้านโครงสร้าง เช่น การมีขนยาวชั้นไขมันหนาในเขตหนาว 1.8 กาหนดการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต
  • 154.
  • 155. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 2. แสง 2.1 การสังเคราะห์ด้วยแสงในการสร้างอาหารของพืชจะเพิ่มมากขึ้นถ้าแสงมีความเข้มมากขึ้น 2.2 พฤติกรรมการออกหากินในเวลากลางวัน/กลางคืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว ผีเสื้อกลางคืน 2.3 การหุบบานของดอกไม้ เช่น คุณนายตื่นสายและดอกบัวจะบานในเวลาเช้า 2.4 พฤติกรรมการบินของแมลง เช่น ผีเสื้อกลางคืน แมลงเม่า 2.5 การเคลื่อนไหวของพืช เช่น การเอนเข้าหาแสงของยอดพืช การหนีแสงของรากพืช 3. ปริมาณน้้าและความชื้น 3.1 การแพร่กระจายพันธุ์พืช เช่น เขตที่มีความชื้นสูงจะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากกว่าเขตแห้งแล้ง 3.2 ปฏิกิริยาเคมี (metabolism) เช่น ปฏิกิริยาการย่อยอาหารต้องใช้น้า (hydrolytic enzyme) 3.3 การปรับตัวด้านสรีระวิทยาของพืชและสัตว์ เช่น การคายน้าของพืช การเปิดปิดปากใบ เมตาบอลิซึมของหนูทะเลทราย : การควบคุมอุณหภูมิของสัตว์เลือดอุ่นให้คงที่ 3.4 การวางไข่ของแมลงโดยแมลงจะวางไข่ในปริมาณมากเมื่อมีความชื้นใน บรรยากาศสูง 3.5 เป็นตัวทาละลายที่ดีใช้ลาเลียงสารไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
  • 156.
  • 157. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 4. ดิน 4.1 แหล่งแร่ธาตุอาหารของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโตได้ดี (ดินที่มีลักษณะแตกต่างกัน) 4.2 แหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัย แหล่งอาหาร ผสมพันธุ์ และเลี้ยงตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิตทั้งบนบกและในน้า 4.3 เป็นตัวการสาคัญในการจากัดชนิดและความอุดมสมบูรณ์ของพืชในสภาพแวดล้อมนั้นๆ 5. แร่ธาตุและความเป็นกรด-เบส 5.1 สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ในดินและแหล่งน้าที่มีความเป็นกรด-เบสเหมาะสม (เจริญเติบโต/ดารงชีวิต/สืบพันธุ์) 5.2 ความเป็นกรด-เบสของดินและน้าจะขึ้นอยู่กับปริมาณของแร่ธาตุที่ละลายปะปนอยู่ 5.3 มีผลต่อการปรับตัวด้านรูปร่างของพืชบางชนิด เช่น พืชกินแมลง (ดินขาดแร่ธาตุไนโตรเจน) 5.4 มีผลต่อการดูดซึมแร่ธาตุของพืช ถ้า pH ต่าจะทาให้พืชดูดซึมธาตุอาหารได้ลดลง 5.5 มีผลต่อการทางานของเอนไซม์และการทางานของจุลินทรีย์ในดินและแหล่งน้า
  • 158.
  • 159. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ 6. แก๊ส 6.1 มีผลต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้า เนื่องจากในน้าออกซิเจนละลายได้น้อยกว่าในบรรยากาศ โดยเฉพาะวันที่ อุณหภูมิสูงขึ้น ดังนั้น สิ่งมีชีวิตในน้าจึงต้องมีการปรับตัว เช่น ปลาจะให้น้าผ่านเหงือกตลอดเวลา เลือดจะ ไหลสวนทางกับน้า 6.2 มีผลต่อกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตและการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 7. กระแสลม 7.1 มีผลต่อการกระจายพันธุ์ของพืชบางชนิด เช่น ยางนา หญ้า 7.2 มีผลต่ออัตราการคายน้าของพืช 7.3 ช่วยในการผสมพันธุ์/ถ่ายละอองเรณูของพืชดอก
  • 160.
  • 161.
  • 162.
  • 163.
  • 164. การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในระบบนิเวศ (สมดุลระบบนิเวศ)  พลังงานจะสามารถถ่ายทอดได้เพียง 10% เท่านั้น ทิศทางเดียวตามกฎเทอร์โมไดนามิกส์ ( 90% จะถูกใช้ในกระบวนการดารงชีวิต ,เป็นพลังงานความร้อน และบางส่วนบริโภค ไม่ได้ เช่น เปลือก กระดูก ขน เล็บ) : noncyclic energy transfer พลังงานไม่สามารถ หมุนเวียนได้ โดยมีผู้ย่อยสลายอินทรีย์สารเป็นผู้รับพลังงานขั้นสุดท้าย  การถ่ายทอดสารอาหารถึงผู้บริโภคลาดับสูงสุด สารอาหารถูกสะสมในสิ่งมีชีวิตในรูปของ อินทรียสารและเมื่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายจะเกิดการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้เป็น สารอนินทรีย์หมุนเวียนกลับไปยังผู้ผลิต : cyclic material cycling
  • 165.
  • 166.
  • 167.
  • 168.
  • 169.
  • 170. ( - / - ) ( + / - ) ( + / + ) ( + / + ) ( + / 0 ) ( + / - ) แนวสอบ : ถ้าจับสิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ชนิดแยกกัน สัญลักษณ์ความสัมพันธ์จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร !!!
  • 171.
  • 172. เน้นความเข้าใจ : ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต  Mutualism = rhizobium ,anabaena/nostoc ,trichonympha, trichomonas, lichen (crustose, fruticose ,foliose) ,E. coli, mycorrhiza, zooxanthellae , E. gingivalis  Parasitism (+/-)  Ectoparasite and Endoparasite  Intermediate host and Definite host  Competition (-/-)  Intraspecific competition  Interspecific competition  Predation : Biological control (+/-)  Neutralism (0/0)  Saprophytism (+/0)  Antibotic / Amensalism (-/0)
  • 174.
  • 175.
  • 176.
  • 177.
  • 178.
  • 179.
  • 180.
  • 181.
  • 182.
  • 183.
  • 184.
  • 185.
  • 186.
  • 187.
  • 190.
  • 191.
  • 192.
  • 193.
  • 194.
  • 196.
  • 197. CHARACTERISTICS OF INVASIVE ALIEN SPECIES
  • 198.
  • 199. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!