SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กรุงเทพมหานคร
แผนการจัดการเรียนรู้
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
รหัสวิชา ว 30245 รายวิชา ชีววิทยา 5
เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน
...............................................................................................................................................................
ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ :
แบบเรียนหลัก 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
2. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
3. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
4. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
5. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยการเรียนรู้ :
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การรับรู้และการตอบสนอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง พฤติกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การรับรู้และการตอบสนอง
จานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 15 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว/สัตว์บางชนิด ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิต (1) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิต (2) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว/สัตว์บางชนิด
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวและสัตว์บางชนิด และเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวและสัตว์บางชนิด
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
และสัตว์บางชนิดได้อย่างถูกต้อง
2.2 เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์
บางชนิดได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการรับรู้-ตอบสนองกับกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
และสัตว์บางชนิดได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตที่
แตกต่างกันเกิดจากการมีโครงสร้างของร่างกายและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
- สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น paramecium สามารถเคลื่อนที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้โดยอาศัยเส้น
ใยประสานงาน (coordinating fiber)
- สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจะมีการรับรู้และการตอบสนองแตกต่างกัน ได้แก่
ฟองน้า ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Porifera
ไฮดรา ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Cnidaria หรือ Coelenterata
พลานาเรีย ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Platyhelminthes
ไส้เดือนดิน ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Annalida
กุ้งและแมลง ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Arthropoda
หอย ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Mollusca
ดาวทะเล ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Echinodermata
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการรับรู้-ตอบสนองกับกระบวนการ
ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมหรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีระบบประสาทสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้หรือไม่
> สัตว์ที่มีระบบประสาทมีวิธีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร
> จงยกตัวอย่างการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิต มาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าการรับรู้และการตอบสนองของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกับสัตว์มีอะไรที่เหมือนกัน
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกับสัตว์
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด” ว่า
 ระบบประสาท (Nervous system) หมายถึง ระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง การ
ประสานงาน การรับคาสั่ง และปรับระบบต่างๆของร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและ
ภายใน โดยใช้เวลารวดเร็วและสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไปอย่าง
ช้าๆ และกระทาต่อเนื่องเป็นเวลานาน
 สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น พารามีเซียม สามารถเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีจากแสงสว่าง อุณหภูมิ หรือ
สารเคมีได้ โดยอาศัยเส้นใยเชื่อโยงระหว่างโคนซิเลีย เรียกว่า เส้นใยประสานงาน (coordinating
fiber) และยูกลีนา มี Eyespot เป็นบริเวณรับแสง ทาให้สามารถทราบความเข้มแสงและทิศทางของ
แสงได้
 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมีการรับรู้และตอบสนองแตกต่างกัน ดังนี้
 ฟองน้า – มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเเต่ฟองน้าไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์ โดยจะ
ตอบสนองต่อแรงกด และแรงสัมผัสได้
 ไฮดรายังไม่มีระบบประสาท แต่มีเส้นใยประสาท เรียกว่า ร่างแหประสาท (nerve net) เมื่อ
กระตุ้นทุกส่วนร่างกายจะหดตัว การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจะช้ากว่าสัตว์ชั้นสูงมาก และ
มีทิศทางที่ไม่แน่นอน ปากและเทนตาเคิล (tentacle) มีเส้นใยประสาทมาก พบที่ผนังลาไส้ใน
สัตว์ชั้นสูง ทาให้เกิด peristalsis
 พลานาเรีย มีปมประสาท 2 ปมอยู่ที่ส่วนหัว เรียกว่า ปมประสาทสมอง (cerebral ganglion)
ทาหน้าที่เป็นสมอง ทางด้านล่างสมองมีเส้นประสาทแยกออกข้างลาตัวข้างละเส้น เรียกว่า
เส้นประสาททางด้านข้าง (lateral nerve cord) มีเส้นประสาทพาดขวางเป็นระยะเรียกว่า
เส้นประสาทตามขวาง (transverse nerve)
 ไส้เดือนมีระบบประสาทประกอบด้วย สมอง (brain) ปมประสาท 2 ปมเป็นพู เรียกว่าปม
ประสาทซีรีบรัล (cerebral ganglion) ปมประสาทใต้คอหอย(subpharyngeal ganglion) เกิด
จากแขนงประสาทที่แยกออกจากสมองแล้วอ้อมรอบคอหอย(circumpharyngeal
commissure) มาบรรจบกัน เส้นประสาททางด้านท้อง(ventral nerve cord) มีเส้นประสาท
2 เส้นแต่มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปมประสาทแต่ละปล้องและแขนงประสาท 3-5 คู่แยก
ออกไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ
 หนอนตัวกลม (nematode) มีปมประสาทรูปวงแหวน (nerve ring) อยู่รอบคอหอย
(circumpharyngeal brain) มีเส้นประสาททางด้านหลัง เรียกว่า dorsal nerve cord และ
เส้นประสาททางด้านล่าง เรียกว่า ventral nerve cord
 หอยกาบคู่ มีปมประสาท 3 คู่ คือ ปมประสาทสมอง (cerebral ganglion) อยู่ทางด้านข้างของ
ปาก ควบคุมอวัยวะตอนบน ปมประสาทที่อวัยวะภายใน (visceral ganglion)อยู่ทางด้านท้าย
ควบคุมอวัยวะภายใน เช่นระบบย่อยอาหาร ตับ หัวใจ และปมประสาทที่เท้า(pedal ganglion)
อยู่ที่เท้าทาหน้าควบคุมการยืดตัวและหดตัวที่กล้ามเนื้อเท้า
 แมลงมีระบบประสาทที่พัฒนามาก ประกอบด้วย สมอง (brain) เกิดจากปมประสาท 2 ปมมา
รวมกัน ไปยัง optic nerve 1 คู่ และ antennary nerve 1 คู่ ปมประสาทใต้หลอดอาหาร
(sub-esophageal ganglion) และเส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord)
 ระบบประสาทของกุ้งประกอบด้วย สมองซึ่งเป็นปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ส่วนหัว มีแขนงแยก
ไปเลี้ยงตา (optic nerve) และไปเลี้ยงหนวด จากปมประสาทสมองมีเส้นประสาทล้อมรอบ
หลอดอาหาร ลงมายังปมประสาทด้านล่าง รวมกันเป็นปมประสาททรวงอก (thoracic
ganglion) ซึ่งมีปมประสาท 7 ปม จากนั้นจะทอดยาวเป็นปมประสาทส่วนท้อง (ventral
nerve cord) และมีปมประสาทแยกออกไปยังกล้ามเนื้อ และรยางค์ต่าง ๆ
 ดาวทะเลมีระบบประสาทวงแหวนประสาท (nerve ring) อยู่รอบปาก มีแขนงประสาทแยก
ออกไปยัง arm เรียกว่า radial nerve มีอวัยวะสัมผัสแสงเรียกว่า จุดตา (eyespot) อยู่ที่
บริเวณปลายสุดของทุกแฉก และเทนทาเคิล (tentacle) ยังสามารถรับสัมผัสเคมีได้
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบ
ของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด โครงสร้างและหน้าที่สาคัญของการ
ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการตอบสนอง
ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิดในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ
การรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางโครงสร้างและหน้าที่สาคัญของการตอบสนองของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวและสัตว์บางชนิดในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด:
www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด:
www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
และสัตว์บางชนิด
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์
ประสาท เขียนสรุปขั้นตอนและโครงสร้างสาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์
ประสาทได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์
ประสาทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของประสาทและการทางานของเซลล์ประสาทกับกระบวนการดารงชีวิต
ของสิ่งมีชีวิตได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- เซลล์ประสาท (neuron) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้และการตอบสนอง แต่ละเซลล์อาจมีการ
เชื่อมโยงเกี่ยวพันกับเซลล์ประสาทอื่นเป็นพันๆ เซลล์
- เซลล์ประสาทจานวนมากสามารถทางานเกี่ยวกับการรับส่งสัญญาณจากสิ่งเร้าภายนอกกับ
ภายในร่างกายได้อย่างเป็นระบบ
- ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ประสาท ได้แก่
 ตัวเซลล์ประสาท (Cell body or soma)
 ใยประสาทหรือแขนงประสาท (nerve fiber) แบ่งเป็น แขนงประสาทสั้น
(dendrite) และแขนงประสาทยาว (axon)
- เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด ได้แก่
 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron)
 เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron)
 เซลล์ประสาทประสานงาน (associated neuron)
- การเกิดกระแสประสาท จะเริ่มจากการที่มีสิ่งเร้าต่างๆมากระตุ้นอย่างจาเพาะและเหมาะสม
กับหน่วยรับความรู้สึกแล้วจะถูกเปลี่ยนในเป็นกระแสประสาทต่อมา
- การเกิดกระแสประสาท แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน
 ระยะพัก หรือ resting stage เกิดจากการทางานของ Na-K pump ในอัตราส่วน 3Na+
: 2K+ ต่อ 1 ATP
 depolarization เกิดจากช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามา
ภายในเซลล์มากขึ้น
 repolarization มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่จากภายใน
ออกสู่ภายนอก
 hyperpolarization and return to resting stage เกิดจากการทางานของ Na-K
pump ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของเซลล์ประสาทและการทางานของ
เซลล์ประสาท
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของเซลล์ประสาทและการทางาน
ของเซลล์ประสาท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท
กับกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมหรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> เซลล์ประสาทของคนมีโครงสร้างของเซลล์เหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
> รูปร่างของเซลล์ประสาทมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างจากเซลล์อื่นๆของร่างกายอย่างไร
> รูปร่างของเซลล์ประสาทเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเซลล์ประสาทถ้าจาแนกตามหน้าที่จะ
ได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น เซลล์
ประสาทที่มีและที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้มจะมีประสิทธิภาพในการทางานแตกต่างกันอย่างไร
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท” ว่า
 เซลล์ประสาท (neuron or nerve cell) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงพลังงานจาก
รูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง (transducer) เช่นเปลี่ยนจากสารเคมี ความร้อน และความดัน
ที่มากระตุ้น (stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า (electrical signal) ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ
action potential
 โครงสร้างของเซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell) ประกอบด้วย
o ตัวเซลล์ประสาท (Cell body or soma) รับข้อมูลจาก dendrite และส่งคาสั่งต่อไปยัง axon
ประกอบด้วย nucleus & organelle ต่างๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป ganglion (ganglia): การเข้ามา
รวมกลุ่มกันของ nerve cell body ในบริเวณ PNS
o ใยประสาทหรือแขนงประสาท (nerve fiber) แบ่งเป็น
 แขนงประสาทสั้น (dendrite) นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามายัง
cell body (ทาหน้าที่คล้ายเสาอากาศ) มักมีแขนงสั้นๆ จานวนมากเพื่อให้มีพื้นที่ผิวมาก
และสามารถรับข้อมูลได้มากๆ ก่อนจะส่งข้อมูลไปยัง cell body
 แขนงประสาทยาว (axon) นาคาสั่งในรูปของ action potential จาก cell bodyไปยัง
เซลล์/neuron อื่น (ทาหน้าที่คล้ายสายเคเบิล) นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ขนส่งสารที่ cell
body สร้างไปยัง axon ending หรือจาก axon ending cell body axon เชื่อมต่อกับ
cell body ตรงบริเวณที่เรียกว่า axon hillox
 เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่
o เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับอวัยวะรับสัมผัส เช่นหู ตา จมูก
ผิวหนัง มีแอกซอนต่ออยู่กับเซลล์ประสาทอื่น และนาความรู้สึกเข้าสู่สมองและไขสันหลัง
o เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron หรือ interneuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับแอกซอน
ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกและมีแอกซอนต่อกับเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทสั่งการ ทาหน้าที่
เชื่อมโยงวงจรประสาท พบที่ไขสันหลัง
o เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับเซลล์ประสาทอื่นและมีแอกซอนต่อกับ
กล้ามเนื้อมัดต่างๆต่อมมีท่อหรือต่อมไร้ท่อ เซลล์ประสาทสั่งการเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วพบที่
สมอง และไขสันหลัง
 เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะโครงสร้างได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่
o เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เดนไดรท์ยาวกว่าแอกซอนมาก พบที่ปมประสาทราก
บนของไขสันหลัง(dorsal root ganglion) มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดีแขนงเดียว
o เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron) มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี 2 แขนง ความยาวของเดน
ไดรต์และแอกซอนใกล้เคียงกัน พบที่เรตินาของลูกตา คอเคลียของหู และเยื่อดมกลิ่นที่จมูก
o เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron) มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี หลายแขนงเป็นแอก
ซอน 1 และเดนไดรต์หลายแขนง เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ในร่างกายเป็นแบบหลายขั้ว ซึ่งมีแอกซอน
ยาวเดนไดรต์สั้นทาหน้าที่นาคาสั่งไปอวัยวะตอบสนอง พบที่สมองและไขสันหลัง
 การศึกษาการเกิดกระแสประสาท
o membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์ เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอก
เซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง -100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้ว
เป็นลบเมื่อเทียบกับนอกเซลล์)
o สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับvoltmeter หรือoscilloscope หรือใช้
micromanipulator วัด membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยังไม่ถูกกระตุ้นเรียก
resting potential จะมีค่าเป็นลบ -65 มิลลิโวลต์ ถ้าถูกกระตุ้นเรียกว่า action potential จะมีค่า
เป็นบวก +65 มิลลิโวลต์
o action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์ประสาทเมื่อ
ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential ซึ่ง
เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none
 การเกิดกระแสประสาท แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน
 ระยะพัก หรือ resting stage เกิดจากการทางานของ Na-K pump ในอัตราส่วน 3Na+
: 2K+ ต่อ 1 ATP ทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายในและภายนอกเซลล์
ประสาท พบว่ามีค่าประมาณ -70 mV
 depolarization เกิดจากช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามา
ภายในเซลล์มากขึ้น (+50 mV)
 repolarization มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่จากภายใน
ออกสู่ภายนอก (-80 mV)
 hyperpolarization and return to resting stage เกิดจากการทางานของ Na-K
pump ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP (-70 mV)
> การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์นี้ เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล หรือ กระแสประสาท ซึ่งต้อง
อาศัยช่วงเวลาหนึ่งในการตอบสนอง
> เยื่อไมอีลิน จะทาหน้าที่เป็นฉนวนกั้นประจุไฟฟ้าที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ดังนั้น จึงไม่มีแอกชันโพ
เทนเชียลเกิดขึ้น แต่จะเคลื่อนที่ระหว่างบริเวณโนดออฟแรนเวียร์ตลอดความยาวของใยประสาท เสมือน
กระโดด ซึ่งจะใช้เวลาน้อยกว่ามาก
> การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท โดยอาศัยสารเคมีที่เรียกว่า สารสื่อ
ประสาทที่สร้างจากปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทหนึ่ง ไปกระตุ้นที่เดนไดร์ตของเซลล์ประสาทอื่นให้เกิด
กระแสประสาทต่อไป เช่น acetylcholine norepinephrine และ endorphine เป็นต้น
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบ
ของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท โครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของเซลล์ประสาทและการ
ทางานของเซลล์ประสาท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์
ประสาทในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ
เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท โครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของเซลล์ประสาทและการ
ทางานของเซลล์ประสาท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์
ประสาทในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท:
www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท:
www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์
ประสาท
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของอวัยวะรับความรู้สึก เขียนสรุปหน้าที่
และโครงสร้างสาคัญของอวัยวะรับความรู้สึก
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของโครงสร้างและการทางานของระบบ
ประสาทได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปองค์ประกอบและหลักการที่สาคัญของโครงสร้างและการทางานของระบบ
ประสาทได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและการทางานของระบบประสาทกับกระบวนการ
ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- ศูนย์กลางของระบบประสาทอยู่ที่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์
(neural tube) ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) ในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งมี
ลักษณะเป็นหลอดยาว
- neural tube จะเจริญพัฒนาการพองออก เจริญเป็นสมอง ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง ทั้ง
สมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้มเดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง (meninges) ทาหน้าที่ป้องกัน
อันตรายและเป็นทางให้อาหารแก่สมองและไขสันหลัง
- ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลังรวมถึงมนุษย์ แบ่งออกเป็น
1. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system; CNS): สมองและไขสันหลังซึ่งทา
หน้าที่รวบรวมและแปลผลข้อมูล
2. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system; PNS): เส้นประสาทสมอง
(cranial nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) และปมประสาท (ganglia) ทา
หน้าที่นาสัญญาณประสาทเข้า-ออก CNS และควบคุมการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
ภายในร่างกาย
- รีแฟลกซ์ แอกชัน (reflex action)
 somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็น
กล้ามเนื้อลาย
 autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่ง
เร้าอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจและมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อ
หัวใจ อวัยวะภายใน และต่อมต่างๆ
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของโครงสร้างและการทางานของระบบ
ประสาท
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปองค์ประกอบและหลักการที่สาคัญของโครงสร้างและการทางาน
ของระบบประสาท
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและการทางานของระบบ
ประสาทกับกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมหรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> โครงสร้างระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถจาแนกได้เป็นกี่ลักษณะ อะไรบ้าง
> นักเรียนคิดว่าการทางานของระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลังรวมถึงมนุษย์ด้วยนั้นมี
หลักการพื้นฐานที่คล้ายกันอย่างไรบ้าง
> ลักษณะโครงสร้างระบบประสาทมีความสัมพันธ์กับการทางานของระบบประสาทในสัตว์มี
กระดูกสันหลังหรือไม่ อย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าทาไมนักเรียนจึงสามารถสั่งการควบคุม
การทางานของแขนขาได้แต่ไม่สามารถสั่งการควบคุมการทางานของกระเพาะหรือหัวใจได้
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
นักเรียนคิดว่าระบบประสาทแบบภายใต้จิตใจกับระบบประสาทแบบภายนอกจิตใจมีความเหมือนและความ
แตกต่างกันอย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท” ว่า
 ศูนย์กลางของระบบประสาทอยู่ที่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์ (neural
tube) ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) ในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอด
ยาวมีการเจริญพัฒนาการพองออก เจริญเป็นสมอง ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสัน
หลังมีเยื่อหุ้มเดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง (meninges) ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายและเป็นทางให้
อาหารแก่สมองและไขสันหลัง
 โครงสร้างและหน้าที่ในสมองส่วนต่างๆของคน
1. สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencephalon)
1) ซีรีบัล (cerebrum) * frontal lobe * temporal lobe * parietal lope* occipital lobe
2) ทาลามัส (thalamus)
3) ไฮโพทาลามัส (hypothalamus)
4) ออแฟกตอรบัลบ์ (olfactory bulb)
สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon) : ออฟติก โลป (optic lope)
สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon)
1) ซีรีเบลลัม (cerebellum) 2) medulla ablongata 3) pons
 เส้นประสาทสมอง (cranial nerve) ทาหน้าที่รับความรู้สึก มี 3 คู่ ได้แก่ 1 , 2 , 8 เส้นประสาทสมอง
ที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง มี 5 คู่ ได้แก่ 3 , 4 , 6 , 11 , 12 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม มี 4 คู่ ได้แก่
5 , 7 , 9 , 10
 โครงสร้างไขสันหลัง ประกอบด้วย เนื้อไขสันหลังประกอบด้วย 2 ส่วน White matter มีสีขาวอยู่รอบ
นอก Gray matter มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้ายตัวอักษรตัว H หรือปีกผีเสื้อ
ประกอบด้วย ปีกบน(dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก ปีกล่าง(ventral horn) เป็นบริเวณนา
คาสั่ง และปีกข้าง(lateral horn) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติเพราะมีเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 1
ปรากฏอยู่
 เส้นประสาทไขสันหลังในคนมีทั้งหมด 31 คู่ ทั้งหมดเป็นเส้นประสาทผสม(mixed nerve)
เส้นประสาทไขสันหลังจึงเหมือนเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5,7,9,10
 แฟลกซ์ แอกชัน (reflex action)
 somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดย
อยู่นอกเหนืออานาจจิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อลาย
 autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่
นอกเหนืออานาจจิตใจและมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะ
ภายใน และต่อมต่างๆ
 ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system)
o ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่
มีเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว
(thoracolumbar outflow)
o ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system) เป็นระบบ
ประสาทอัตโนวัติที่เซลล์ประสาทตัวที่ 1 อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบ
ของโครงสร้างและการทางานของระบบประสาท องค์ประกอบและหลักการที่สาคัญของโครงสร้างและการ
ทางานของระบบประสาท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและการทางานของระบบ
ประสาทในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ
โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท องค์ประกอบและหลักการที่สาคัญของโครงสร้างและการทางาน
ของระบบประสาท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและการทางานของระบบประสาทใน
การศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท:
www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบ
ประสาท
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึก (1)
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์
ประสาท เขียนสรุปขั้นตอนและโครงสร้างสาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิตได้
อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิตได้อย่าง
ถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ กับกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตได้
อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- สมองสามารถแปลความรู้สึกต่างๆโดยอาศัยกระแสประสาทที่มาจากอวัยวะรับความรู้สึก ซึ่ง
เป็นสัญญาณทางไฟฟ้าเคมีทั้งสิ้น นอกจากนี้ สมองมีบริเวณจาเพาะที่ทาหน้าที่รับกระแส
ประสาทจากอวัยวะรับความรู้สึกต่างของร่างกายเพื่อการตอบสนองในลักษณะที่เหมาะสม
- Sensory Mechanism ประกอบด้วย
1. Sensory transduction การที่สิ่งเร้ามากระตุ้น receptor cell แล้วทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงต่อ membrane potential
2. Amplification การขยายสัญญาณจากการกระตุ้นของสิ่งเร้า เช่น การขยายสัญญาณ
ภายในหูจากการสั่นของเยื่อแก้วหู และกระดูกหู 3 ชิ้น
3. Transmission การนาสัญญาณประสาท (nerve impulse) ไปยัง CNS
4. Integration การรวบรวม nerve impulse ที่ได้รับ โดยการ summation of graded
potential
5. Sensory adaptation การลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่กระตุ้นมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การ
ลดการตอบสนองต่อการสัมผัสของเสื้อผ้าที่สวมใส่
- อวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่
นัยน์ตากับการมองเห็น (Photoreceptor)
หูกับการได้ยิน (mechanoreceptor)
จมูกกับการดมกลิ่น (chemoreceptor)
ลิ้นกับการรับรส (chemoreceptor)
ผิวหนังกับการรับความรู้สึก (mechanoreceptor and thermoreceptor)
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ใน
สิ่งมีชีวิต
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ใน
สิ่งมีชีวิต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ กับกระบวนการ
ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมหรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> อวัยวะรับความรู้สึกมีโครงสร้างที่เหมาะสมต่อการรับความรู้สึกอย่างไร
> นักเรียนคิดว่าม่านตาเทียบได้กับส่วนใดของกล้องถ่ายรูปหรือกล้องจุลทรรศน์
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan
1 nervesys plan

More Related Content

What's hot

บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 

What's hot (20)

บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 

Similar to 1 nervesys plan

รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูJaratpong Moonjai
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับsayunwanlor
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 

Similar to 1 nervesys plan (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
เอกสารของไหล.docx
เอกสารของไหล.docxเอกสารของไหล.docx
เอกสารของไหล.docx
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
Krathong5
Krathong5Krathong5
Krathong5
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

1 nervesys plan

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 รหัสวิชา ว 30245 รายวิชา ชีววิทยา 5 เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน ............................................................................................................................................................... ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : แบบเรียนหลัก 1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 3. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 4. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 5. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ หน่วยการเรียนรู้ : หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การรับรู้และการตอบสนอง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง พฤติกรรม
  • 3. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การรับรู้และการตอบสนอง จานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 15 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว/สัตว์บางชนิด ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิต (1) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิต (2) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว/สัตว์บางชนิด เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและสัตว์บางชนิด และเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและสัตว์บางชนิด 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และสัตว์บางชนิดได้อย่างถูกต้อง 2.2 เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ บางชนิดได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการรับรู้-ตอบสนองกับกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และสัตว์บางชนิดได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตที่ แตกต่างกันเกิดจากการมีโครงสร้างของร่างกายและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน - สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น paramecium สามารถเคลื่อนที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้โดยอาศัยเส้น ใยประสานงาน (coordinating fiber) - สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจะมีการรับรู้และการตอบสนองแตกต่างกัน ได้แก่ ฟองน้า ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Porifera ไฮดรา ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Cnidaria หรือ Coelenterata พลานาเรีย ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Platyhelminthes ไส้เดือนดิน ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Annalida กุ้งและแมลง ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Arthropoda หอย ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Mollusca ดาวทะเล ซึ่งเป็นสัตว์ในไฟลัม Echinodermata
  • 5. 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการรับรู้-ตอบสนองกับกระบวนการ ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมหรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีระบบประสาทสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้หรือไม่ > สัตว์ที่มีระบบประสาทมีวิธีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร > จงยกตัวอย่างการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิต มาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าการรับรู้และการตอบสนองของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกับสัตว์มีอะไรที่เหมือนกัน นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกับสัตว์ ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด” ว่า
  • 6.  ระบบประสาท (Nervous system) หมายถึง ระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง การ ประสานงาน การรับคาสั่ง และปรับระบบต่างๆของร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและ ภายใน โดยใช้เวลารวดเร็วและสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไปอย่าง ช้าๆ และกระทาต่อเนื่องเป็นเวลานาน  สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น พารามีเซียม สามารถเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีจากแสงสว่าง อุณหภูมิ หรือ สารเคมีได้ โดยอาศัยเส้นใยเชื่อโยงระหว่างโคนซิเลีย เรียกว่า เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber) และยูกลีนา มี Eyespot เป็นบริเวณรับแสง ทาให้สามารถทราบความเข้มแสงและทิศทางของ แสงได้  สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมีการรับรู้และตอบสนองแตกต่างกัน ดังนี้  ฟองน้า – มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเเต่ฟองน้าไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์ โดยจะ ตอบสนองต่อแรงกด และแรงสัมผัสได้  ไฮดรายังไม่มีระบบประสาท แต่มีเส้นใยประสาท เรียกว่า ร่างแหประสาท (nerve net) เมื่อ กระตุ้นทุกส่วนร่างกายจะหดตัว การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจะช้ากว่าสัตว์ชั้นสูงมาก และ มีทิศทางที่ไม่แน่นอน ปากและเทนตาเคิล (tentacle) มีเส้นใยประสาทมาก พบที่ผนังลาไส้ใน สัตว์ชั้นสูง ทาให้เกิด peristalsis
  • 7.  พลานาเรีย มีปมประสาท 2 ปมอยู่ที่ส่วนหัว เรียกว่า ปมประสาทสมอง (cerebral ganglion) ทาหน้าที่เป็นสมอง ทางด้านล่างสมองมีเส้นประสาทแยกออกข้างลาตัวข้างละเส้น เรียกว่า เส้นประสาททางด้านข้าง (lateral nerve cord) มีเส้นประสาทพาดขวางเป็นระยะเรียกว่า เส้นประสาทตามขวาง (transverse nerve)  ไส้เดือนมีระบบประสาทประกอบด้วย สมอง (brain) ปมประสาท 2 ปมเป็นพู เรียกว่าปม ประสาทซีรีบรัล (cerebral ganglion) ปมประสาทใต้คอหอย(subpharyngeal ganglion) เกิด จากแขนงประสาทที่แยกออกจากสมองแล้วอ้อมรอบคอหอย(circumpharyngeal commissure) มาบรรจบกัน เส้นประสาททางด้านท้อง(ventral nerve cord) มีเส้นประสาท 2 เส้นแต่มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปมประสาทแต่ละปล้องและแขนงประสาท 3-5 คู่แยก ออกไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ  หนอนตัวกลม (nematode) มีปมประสาทรูปวงแหวน (nerve ring) อยู่รอบคอหอย (circumpharyngeal brain) มีเส้นประสาททางด้านหลัง เรียกว่า dorsal nerve cord และ เส้นประสาททางด้านล่าง เรียกว่า ventral nerve cord  หอยกาบคู่ มีปมประสาท 3 คู่ คือ ปมประสาทสมอง (cerebral ganglion) อยู่ทางด้านข้างของ ปาก ควบคุมอวัยวะตอนบน ปมประสาทที่อวัยวะภายใน (visceral ganglion)อยู่ทางด้านท้าย ควบคุมอวัยวะภายใน เช่นระบบย่อยอาหาร ตับ หัวใจ และปมประสาทที่เท้า(pedal ganglion) อยู่ที่เท้าทาหน้าควบคุมการยืดตัวและหดตัวที่กล้ามเนื้อเท้า  แมลงมีระบบประสาทที่พัฒนามาก ประกอบด้วย สมอง (brain) เกิดจากปมประสาท 2 ปมมา รวมกัน ไปยัง optic nerve 1 คู่ และ antennary nerve 1 คู่ ปมประสาทใต้หลอดอาหาร (sub-esophageal ganglion) และเส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord)
  • 8.  ระบบประสาทของกุ้งประกอบด้วย สมองซึ่งเป็นปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ส่วนหัว มีแขนงแยก ไปเลี้ยงตา (optic nerve) และไปเลี้ยงหนวด จากปมประสาทสมองมีเส้นประสาทล้อมรอบ หลอดอาหาร ลงมายังปมประสาทด้านล่าง รวมกันเป็นปมประสาททรวงอก (thoracic ganglion) ซึ่งมีปมประสาท 7 ปม จากนั้นจะทอดยาวเป็นปมประสาทส่วนท้อง (ventral nerve cord) และมีปมประสาทแยกออกไปยังกล้ามเนื้อ และรยางค์ต่าง ๆ  ดาวทะเลมีระบบประสาทวงแหวนประสาท (nerve ring) อยู่รอบปาก มีแขนงประสาทแยก ออกไปยัง arm เรียกว่า radial nerve มีอวัยวะสัมผัสแสงเรียกว่า จุดตา (eyespot) อยู่ที่ บริเวณปลายสุดของทุกแฉก และเทนทาเคิล (tentacle) ยังสามารถรับสัมผัสเคมีได้ นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบ ของการรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด โครงสร้างและหน้าที่สาคัญของการ ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการตอบสนอง ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิดในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ การรับรู้-ตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางโครงสร้างและหน้าที่สาคัญของการตอบสนองของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการตอบสนองของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวและสัตว์บางชนิดในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และสัตว์บางชนิด
  • 9. 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ ประสาท เขียนสรุปขั้นตอนและโครงสร้างสาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ ประสาทได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ ประสาทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของประสาทและการทางานของเซลล์ประสาทกับกระบวนการดารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - เซลล์ประสาท (neuron) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้และการตอบสนอง แต่ละเซลล์อาจมีการ เชื่อมโยงเกี่ยวพันกับเซลล์ประสาทอื่นเป็นพันๆ เซลล์ - เซลล์ประสาทจานวนมากสามารถทางานเกี่ยวกับการรับส่งสัญญาณจากสิ่งเร้าภายนอกกับ ภายในร่างกายได้อย่างเป็นระบบ - ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ประสาท ได้แก่  ตัวเซลล์ประสาท (Cell body or soma)  ใยประสาทหรือแขนงประสาท (nerve fiber) แบ่งเป็น แขนงประสาทสั้น (dendrite) และแขนงประสาทยาว (axon) - เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ได้ 3 ชนิด ได้แก่  เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron)  เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron)  เซลล์ประสาทประสานงาน (associated neuron) - การเกิดกระแสประสาท จะเริ่มจากการที่มีสิ่งเร้าต่างๆมากระตุ้นอย่างจาเพาะและเหมาะสม กับหน่วยรับความรู้สึกแล้วจะถูกเปลี่ยนในเป็นกระแสประสาทต่อมา
  • 11. - การเกิดกระแสประสาท แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน  ระยะพัก หรือ resting stage เกิดจากการทางานของ Na-K pump ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP  depolarization เกิดจากช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามา ภายในเซลล์มากขึ้น  repolarization มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่จากภายใน ออกสู่ภายนอก  hyperpolarization and return to resting stage เกิดจากการทางานของ Na-K pump ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของเซลล์ประสาทและการทางานของ เซลล์ประสาท ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของเซลล์ประสาทและการทางาน ของเซลล์ประสาท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท กับกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
  • 12. อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมหรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > เซลล์ประสาทของคนมีโครงสร้างของเซลล์เหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร > รูปร่างของเซลล์ประสาทมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างจากเซลล์อื่นๆของร่างกายอย่างไร > รูปร่างของเซลล์ประสาทเหมาะสมต่อการทาหน้าที่อย่างไร ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเซลล์ประสาทถ้าจาแนกตามหน้าที่จะ ได้กี่ประเภท อะไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น เซลล์ ประสาทที่มีและที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้มจะมีประสิทธิภาพในการทางานแตกต่างกันอย่างไร ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท” ว่า  เซลล์ประสาท (neuron or nerve cell) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลงพลังงานจาก รูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง (transducer) เช่นเปลี่ยนจากสารเคมี ความร้อน และความดัน ที่มากระตุ้น (stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า (electrical signal) ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ action potential  โครงสร้างของเซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell) ประกอบด้วย o ตัวเซลล์ประสาท (Cell body or soma) รับข้อมูลจาก dendrite และส่งคาสั่งต่อไปยัง axon ประกอบด้วย nucleus & organelle ต่างๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป ganglion (ganglia): การเข้ามา รวมกลุ่มกันของ nerve cell body ในบริเวณ PNS o ใยประสาทหรือแขนงประสาท (nerve fiber) แบ่งเป็น  แขนงประสาทสั้น (dendrite) นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามายัง cell body (ทาหน้าที่คล้ายเสาอากาศ) มักมีแขนงสั้นๆ จานวนมากเพื่อให้มีพื้นที่ผิวมาก และสามารถรับข้อมูลได้มากๆ ก่อนจะส่งข้อมูลไปยัง cell body  แขนงประสาทยาว (axon) นาคาสั่งในรูปของ action potential จาก cell bodyไปยัง เซลล์/neuron อื่น (ทาหน้าที่คล้ายสายเคเบิล) นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง axon ending หรือจาก axon ending cell body axon เชื่อมต่อกับ cell body ตรงบริเวณที่เรียกว่า axon hillox  เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่ได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่ o เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับอวัยวะรับสัมผัส เช่นหู ตา จมูก ผิวหนัง มีแอกซอนต่ออยู่กับเซลล์ประสาทอื่น และนาความรู้สึกเข้าสู่สมองและไขสันหลัง
  • 13. o เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron หรือ interneuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับแอกซอน ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกและมีแอกซอนต่อกับเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทสั่งการ ทาหน้าที่ เชื่อมโยงวงจรประสาท พบที่ไขสันหลัง o เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับเซลล์ประสาทอื่นและมีแอกซอนต่อกับ กล้ามเนื้อมัดต่างๆต่อมมีท่อหรือต่อมไร้ท่อ เซลล์ประสาทสั่งการเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วพบที่ สมอง และไขสันหลัง  เซลล์ประสาทจาแนกตามลักษณะโครงสร้างได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่ o เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เดนไดรท์ยาวกว่าแอกซอนมาก พบที่ปมประสาทราก บนของไขสันหลัง(dorsal root ganglion) มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดีแขนงเดียว o เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron) มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี 2 แขนง ความยาวของเดน ไดรต์และแอกซอนใกล้เคียงกัน พบที่เรตินาของลูกตา คอเคลียของหู และเยื่อดมกลิ่นที่จมูก o เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron) มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี หลายแขนงเป็นแอก ซอน 1 และเดนไดรต์หลายแขนง เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ในร่างกายเป็นแบบหลายขั้ว ซึ่งมีแอกซอน ยาวเดนไดรต์สั้นทาหน้าที่นาคาสั่งไปอวัยวะตอบสนอง พบที่สมองและไขสันหลัง  การศึกษาการเกิดกระแสประสาท o membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์ เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอก เซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง -100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้ว เป็นลบเมื่อเทียบกับนอกเซลล์)
  • 14. o สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับvoltmeter หรือoscilloscope หรือใช้ micromanipulator วัด membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยังไม่ถูกกระตุ้นเรียก resting potential จะมีค่าเป็นลบ -65 มิลลิโวลต์ ถ้าถูกกระตุ้นเรียกว่า action potential จะมีค่า เป็นบวก +65 มิลลิโวลต์ o action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์ประสาทเมื่อ ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential ซึ่ง เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none  การเกิดกระแสประสาท แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน  ระยะพัก หรือ resting stage เกิดจากการทางานของ Na-K pump ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP ทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายในและภายนอกเซลล์ ประสาท พบว่ามีค่าประมาณ -70 mV  depolarization เกิดจากช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามา ภายในเซลล์มากขึ้น (+50 mV)  repolarization มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่จากภายใน ออกสู่ภายนอก (-80 mV)  hyperpolarization and return to resting stage เกิดจากการทางานของ Na-K pump ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP (-70 mV)
  • 15. > การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์นี้ เรียกว่า แอกชันโพเทนเชียล หรือ กระแสประสาท ซึ่งต้อง อาศัยช่วงเวลาหนึ่งในการตอบสนอง > เยื่อไมอีลิน จะทาหน้าที่เป็นฉนวนกั้นประจุไฟฟ้าที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ดังนั้น จึงไม่มีแอกชันโพ เทนเชียลเกิดขึ้น แต่จะเคลื่อนที่ระหว่างบริเวณโนดออฟแรนเวียร์ตลอดความยาวของใยประสาท เสมือน กระโดด ซึ่งจะใช้เวลาน้อยกว่ามาก > การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท โดยอาศัยสารเคมีที่เรียกว่า สารสื่อ ประสาทที่สร้างจากปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทหนึ่ง ไปกระตุ้นที่เดนไดร์ตของเซลล์ประสาทอื่นให้เกิด กระแสประสาทต่อไป เช่น acetylcholine norepinephrine และ endorphine เป็นต้น นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบ ของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท โครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของเซลล์ประสาทและการ ทางานของเซลล์ประสาท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ ประสาทในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท โครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของเซลล์ประสาทและการ ทางานของเซลล์ประสาท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ ประสาทในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
  • 16. 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ ประสาท 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 17. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของอวัยวะรับความรู้สึก เขียนสรุปหน้าที่ และโครงสร้างสาคัญของอวัยวะรับความรู้สึก 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของโครงสร้างและการทางานของระบบ ประสาทได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปองค์ประกอบและหลักการที่สาคัญของโครงสร้างและการทางานของระบบ ประสาทได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและการทางานของระบบประสาทกับกระบวนการ ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - ศูนย์กลางของระบบประสาทอยู่ที่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์ (neural tube) ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) ในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งมี ลักษณะเป็นหลอดยาว - neural tube จะเจริญพัฒนาการพองออก เจริญเป็นสมอง ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง ทั้ง สมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้มเดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง (meninges) ทาหน้าที่ป้องกัน อันตรายและเป็นทางให้อาหารแก่สมองและไขสันหลัง - ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลังรวมถึงมนุษย์ แบ่งออกเป็น 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system; CNS): สมองและไขสันหลังซึ่งทา หน้าที่รวบรวมและแปลผลข้อมูล 2. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system; PNS): เส้นประสาทสมอง (cranial nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) และปมประสาท (ganglia) ทา หน้าที่นาสัญญาณประสาทเข้า-ออก CNS และควบคุมการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ภายในร่างกาย - รีแฟลกซ์ แอกชัน (reflex action)
  • 18.  somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็น กล้ามเนื้อลาย  autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่ง เร้าอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจและมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อ หัวใจ อวัยวะภายใน และต่อมต่างๆ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของโครงสร้างและการทางานของระบบ ประสาท ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปองค์ประกอบและหลักการที่สาคัญของโครงสร้างและการทางาน ของระบบประสาท คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของโครงสร้างและการทางานของระบบ ประสาทกับกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมหรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > โครงสร้างระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถจาแนกได้เป็นกี่ลักษณะ อะไรบ้าง
  • 19. > นักเรียนคิดว่าการทางานของระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลังรวมถึงมนุษย์ด้วยนั้นมี หลักการพื้นฐานที่คล้ายกันอย่างไรบ้าง > ลักษณะโครงสร้างระบบประสาทมีความสัมพันธ์กับการทางานของระบบประสาทในสัตว์มี กระดูกสันหลังหรือไม่ อย่างไร ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าทาไมนักเรียนจึงสามารถสั่งการควบคุม การทางานของแขนขาได้แต่ไม่สามารถสั่งการควบคุมการทางานของกระเพาะหรือหัวใจได้ นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น นักเรียนคิดว่าระบบประสาทแบบภายใต้จิตใจกับระบบประสาทแบบภายนอกจิตใจมีความเหมือนและความ แตกต่างกันอย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท” ว่า  ศูนย์กลางของระบบประสาทอยู่ที่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์ (neural tube) ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) ในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอด ยาวมีการเจริญพัฒนาการพองออก เจริญเป็นสมอง ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสัน หลังมีเยื่อหุ้มเดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง (meninges) ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายและเป็นทางให้ อาหารแก่สมองและไขสันหลัง  โครงสร้างและหน้าที่ในสมองส่วนต่างๆของคน 1. สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencephalon) 1) ซีรีบัล (cerebrum) * frontal lobe * temporal lobe * parietal lope* occipital lobe 2) ทาลามัส (thalamus) 3) ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) 4) ออแฟกตอรบัลบ์ (olfactory bulb) สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon) : ออฟติก โลป (optic lope) สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon) 1) ซีรีเบลลัม (cerebellum) 2) medulla ablongata 3) pons
  • 20.  เส้นประสาทสมอง (cranial nerve) ทาหน้าที่รับความรู้สึก มี 3 คู่ ได้แก่ 1 , 2 , 8 เส้นประสาทสมอง ที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง มี 5 คู่ ได้แก่ 3 , 4 , 6 , 11 , 12 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม มี 4 คู่ ได้แก่ 5 , 7 , 9 , 10  โครงสร้างไขสันหลัง ประกอบด้วย เนื้อไขสันหลังประกอบด้วย 2 ส่วน White matter มีสีขาวอยู่รอบ นอก Gray matter มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้ายตัวอักษรตัว H หรือปีกผีเสื้อ ประกอบด้วย ปีกบน(dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก ปีกล่าง(ventral horn) เป็นบริเวณนา คาสั่ง และปีกข้าง(lateral horn) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติเพราะมีเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 1 ปรากฏอยู่  เส้นประสาทไขสันหลังในคนมีทั้งหมด 31 คู่ ทั้งหมดเป็นเส้นประสาทผสม(mixed nerve) เส้นประสาทไขสันหลังจึงเหมือนเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5,7,9,10
  • 21.  แฟลกซ์ แอกชัน (reflex action)  somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดย อยู่นอกเหนืออานาจจิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อลาย  autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่ นอกเหนืออานาจจิตใจและมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะ ภายใน และต่อมต่างๆ  ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system) o ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่ มีเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว (thoracolumbar outflow) o ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic nervous system) เป็นระบบ ประสาทอัตโนวัติที่เซลล์ประสาทตัวที่ 1 อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบ ของโครงสร้างและการทางานของระบบประสาท องค์ประกอบและหลักการที่สาคัญของโครงสร้างและการ ทางานของระบบประสาท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและการทางานของระบบ ประสาทในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท องค์ประกอบและหลักการที่สาคัญของโครงสร้างและการทางาน ของระบบประสาท อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องโครงสร้างและการทางานของระบบประสาทใน การศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
  • 22. 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบประสาท: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างและการทางานของระบบ ประสาท 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 23. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรับรู้และการตอบสนอง เรื่อง อวัยวะรับความรู้สึก (1) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย องค์ประกอบและความสาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ ประสาท เขียนสรุปขั้นตอนและโครงสร้างสาคัญของเซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิตได้ อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิตได้อย่าง ถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ กับกระบวนการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตได้ อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - สมองสามารถแปลความรู้สึกต่างๆโดยอาศัยกระแสประสาทที่มาจากอวัยวะรับความรู้สึก ซึ่ง เป็นสัญญาณทางไฟฟ้าเคมีทั้งสิ้น นอกจากนี้ สมองมีบริเวณจาเพาะที่ทาหน้าที่รับกระแส ประสาทจากอวัยวะรับความรู้สึกต่างของร่างกายเพื่อการตอบสนองในลักษณะที่เหมาะสม - Sensory Mechanism ประกอบด้วย 1. Sensory transduction การที่สิ่งเร้ามากระตุ้น receptor cell แล้วทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่อ membrane potential 2. Amplification การขยายสัญญาณจากการกระตุ้นของสิ่งเร้า เช่น การขยายสัญญาณ ภายในหูจากการสั่นของเยื่อแก้วหู และกระดูกหู 3 ชิ้น 3. Transmission การนาสัญญาณประสาท (nerve impulse) ไปยัง CNS 4. Integration การรวบรวม nerve impulse ที่ได้รับ โดยการ summation of graded potential 5. Sensory adaptation การลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่กระตุ้นมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การ ลดการตอบสนองต่อการสัมผัสของเสื้อผ้าที่สวมใส่ - อวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่
  • 24. นัยน์ตากับการมองเห็น (Photoreceptor) หูกับการได้ยิน (mechanoreceptor) จมูกกับการดมกลิ่น (chemoreceptor) ลิ้นกับการรับรส (chemoreceptor) ผิวหนังกับการรับความรู้สึก (mechanoreceptor and thermoreceptor) 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ใน สิ่งมีชีวิต ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ ใน สิ่งมีชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ กับกระบวนการ ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมหรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > อวัยวะรับความรู้สึกมีโครงสร้างที่เหมาะสมต่อการรับความรู้สึกอย่างไร > นักเรียนคิดว่าม่านตาเทียบได้กับส่วนใดของกล้องถ่ายรูปหรือกล้องจุลทรรศน์