SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ในการการประกวดแข่งขันกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ประจาปี 2557 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จังหวัดร้อยเอ็ด
ณ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยาและโรงเรียนโพนทองวิทยายน
วันที่ 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2557
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เรื่อง : ความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
(Diversity of Spiders in Srisomdetpimpattanawittaya School)
โดย
1. เด็กหญิงณัฐชา บัวสิงห์
2. นายสุธิพงษ์ สีลาโส
3. เด็กหญิงระพีพรรณ โทนะหงษา
ครูที่ปรึกษา
1. นายศิริวุฒิ บัวสมาน
2. นางสาวพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ในการการประกวดแข่งขันกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ประจาปี 2557 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จังหวัดร้อยเอ็ด
ณ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยาและโรงเรียนโพนทองวิทยายน
วันที่ 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2557
ชื่อโครงงาน ความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
ผู้ทาโครงงาน เด็กหญิงณัฐชา บัวสิงห์, นายสุธิพงษ์ สีลาโส, เด็กหญิงระพีพรรณ โทนะหงษา
ครูที่ปรึกษา นายศิริวุฒิ บัวสมาน, นางสาวพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม
สาขา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ประเภทโครงงาน สารวจ ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียน ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2557
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่อง “ความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา” มีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความหลากหลายของแมงมุมและศึกษาความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในโรงเรียนศรี
สมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สองบริเวณ คือ ป่าไผ่และป่าไม้ของโรงเรียน โดยวาง
แปลงขนาด 40 x 40 เมตร บริเวณละ 2 แปลงโดยใช้กระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นค้นหา สารวจ
อนุรักษ์และแบ่งปัน จากการสารวจ พบว่า
พบแมงมุมทั้งสิ้น จานวน 44 ชนิด รวม 149 ตัว โดยบริเวณป่าไผ่ พบแมงมุม จานวน 7 ชนิด รวม 24
ตัว ได้แก่ แมงมุมนุ่งซิ่นหลากสี (Argiope versicolor),แมงมุมเขี้ยวใหญ่ลายประดับ (Leucauge decorate),
แมงมุม Crossopriza lyoni , แมงมุมสองหาง วงศ์ Hersiliidae , แมงมุมเต็นท์แดง (Cyrtophora unicolor),
แมงมุมกระโดด สกุล Rhene, แมงมุมสกุล Hippasa วงศ์ Lycosidae และพบที่ป่าไม้จานวน 44 ชนิด รวม 125
ตัว ชนิดที่พบมากที่สุด คือ แมงมุมใยทองลายขนาน (ย่างซี่น) (Nephila pilipes) โดยพบบริเวณป่าไม้มากกว่า
บริเวณป่าไผ่ จาแนกแมงมุมได้2 กลุ่มตามวิธีการจับอาหารหรือการชักใย คือ กลุ่มที่ล่าเหยื่อโดยวิธีชักใยหรือ
สร้างรังเป็นตาข่าย (จานวน 21 ชนิด) และกลุ่มที่ล่าเหยื่อโดยไม่ชักใย (จานวน 23 ชนิด) และพบว่า ลักษณะ
การชักใยและรูปร่างตาข่ายใยแมงมุมจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละชนิด ในตาข่ายของเส้นใยมีทั้งเส้นใยที่
เหนียวและไม่เหนียวในรังเดียวกัน พบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในรูปแบบภาวะล่าเหยื่อ
(Predation; +,-) ซึ่งเป็นทั้งผู้ล่า/ตัวห้า(predator) และเป็นผู้ถูกล่า/เหยื่อ (prey) โดยแมงมุมบางชนิดล่าทั้งแมงมุม
และแมลงเป็นอาหาร ซึ่งมีประโยชน์ต่อเกษตรกร เพราะช่วยกาจัดแมลงศัตรูพืช จานวนและชนิดของแมงมุมพบ
มากที่สุดที่ระดับความสูงปานกลาง ( 1-2 เมตร) และจานวนจะลดลงเมื่อความสูงเพิ่มมากขึ้นและจากการสารวจ
ยังพบว่า ประชากรของแมงมุมในแต่ละช่วงมีจานวนแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับช่วงเวลาหรือฤดูกาล อุณหภูมิ ถิ่นที่
อยู่อาศัย และแมลงที่เป็นอาหาร พบแมลง 33ชนิด ถ้ามีแมลงอยู่มาก แมงมุมเพศเมียจะวางไข่จานวนมาก แมงมุม
ก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีขนาดใหญ่ขึ้น แสดงว่า ความหลากหลายของชนิดแมงมุมสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้
ความหลากหลายของแมลงได้และความหลากหลายของแมลงเป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายของชนิดพืชอาหาร
ก
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง “ความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา” สาเร็จลุล่วง
ได้ด้วยความกรุณา อย่างยิ่งจากครูศิริวุฒิ บัวสมาน และครูพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม ครูที่ปรึกษาโครงงาน ซึ่งได้
ให้คาปรึกษาอันเป็นแนวทางในการทาโครงงานและการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ปลูกฝังให้คณะผู้จัดทามี
ความเพียรพยายามและรักการทางาน สนับสนุน ส่งเสริม ให้โอกาส ให้กาลังใจ และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่
คณะผู้จัดทามาโดยตลอดและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณท่านสุรศักดิ์ ศรีละมนตรี ผู้อานวยการโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่ให้
กาลังใจและสนับสนุนงบประมาณในการทาโครงงาน และขอขอบพระคุณ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ทุกท่าน ที่ให้กาลังใจและคาแนะนาที่ดีเสมอมา
ขอขอบพระคุณ คุณพงศ์พัฒนา วิรวรรณนาวิน ที่ช่วยแนะนาเกี่ยวกับชื่อและข้อมูลแมงมุมผ่าน
face book นักสารวจ ศ.พ.ว. อย่างสม่าเสมอ คุณพิสุทธิ์ เอกอานวย และคุณเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์
ที่แนะนาหนังสือเกี่ยวกับแมลงชนิดต่างๆ ในประเทศไทย ขอขอบคุณ กลุ่มสาระน่ารู้จากแมลง ที่ให้ความรู้
เกี่ยวกับแมลงชนิดต่างๆ ขอขอบคุณผู้ดูแลระบบของเว็บไซต์ www.malaeng.com ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับแมลง
ดีมาก และขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาด้านแมงมุมใน
ท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1
1.3 ขอบเขตของการศึกษา 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3
2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแมงมุม 3
2.2 ประโยชน์ของใยแมงมุม 8
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา 10
3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือ 10
3.2 วิธีการศึกษา 11
บทที่ 4 ผลการศึกษา 16
4.1 ผลการศึกษา 16
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 30
5.1 สรุปผลการศึกษา 30
5.2 อภิปรายผล 30
5.3 ข้อเสนอแนะ 31
5.4 ประโยชน์ที่ได้รับ 31
บรรณานุกรม 32
ภาคผนวก 33-39
ค
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันมีเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นและมี
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของ
มนุษย์ และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศของโลก มนุษย์จาเป็นจะต้องมีการเตรียม
ความพร้อมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งจะต้องมีการสร้างความตระหนักในการลด
ความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ประเทศไทยเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง
เพราะอยู่ในเขตร้อนชื้น แต่ยังขาดการสารวจอย่างจริงจัง โดยเฉพาะความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูก
สันหลัง ซึ่งแมงมุมเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่ยังขาดการสารวจและได้รับความสนใจน้อยมาก ทั้งที่แมงมุมมีบทบาท
สาคัญทาหน้าที่เป็นผู้ล่าในระบบนิเวศ และยังเป็นอาหารสาหรับคนในบางท้องถิ่นของประเทศ ในประเทศ
ไทยมีการคาดการณ์ว่าน่าจะพบแมงมุมประมาณ 6,000– 10,000 ชนิด ซึ่งในปัจจุบันเท่าที่มีรายงานพบเพียง
600-700 ชนิด เท่านั้น สะท้อนให้เห็นว่ายังมีแมงมุมอีกหลายชนิดที่ยังรอการค้นพบ (ประสิทธิ์ วงษ์พรม ,
2555)
จากการที่กลุ่มของพวกเราเดินเล่นในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัด
ร้อยเอ็ด ระหว่างอาคารจะมีสวนหย่อมและต้นไม้ขึ้นอยู่มากมาย พวกเราสังเกตพบว่า มีแมลงหลายชนิดเกาะ
กินใบไม้และอาศัยอยู่บนกิ่งไม้แต่มีสิ่งมีชีวิตพวกหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ คือ มีแปดขาและมีการทารังโดยชัก
ใยสีขาวให้แมลงต่างๆ มาติดกับดักใยเพื่อเป็นอาหารของมัน สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะพิเศษนี้คือ “แมงมุม”
(Spider) ซึ่งมีสิ่งที่พิเศษกว่าแมลง/แมงชนิดอื่นๆ ทาให้อยากเรียนรู้เกี่ยวกับแมงมุมและสิ่งมีชีวิตที่ที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้น กลุ่มของพวกเราจึงจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของแมงมุมและความสัมพันธ์ของ
แมงมุมในระบบนิเวศ ภายในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.2.1 เพื่อศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา
วิทยา
1.2.2 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
1.2.3 เพื่อจัดทาฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ที่พบในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา
วิทยา
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1.3.1 ระยะเวลาในการศึกษา : 7 เดือน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 31 มกราคม 2557
1.3.2 พื้นที่ดาเนินการสารวจ : สารวจเฉพาะในป่าไผ่ด้านทิศตะวันออกและป่าไม้ด้านทิศตะวันตก
เฉียงใต้ของโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ตาบลศรีสมเด็จ อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด เท่านั้น
1.3.3 ช่วงเวลาในการสารวจ : สารวจเฉพาะช่วงเวลา 12.30 – 13.00 น. และ 15.30 – 16.30 น.
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 ได้เรียนรู้เทคนิคการสารวจความหลากหลายของแมงมุม
1.4.2 ได้ทราบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
1.4.3 ได้ฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
2
บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยนาเสนอในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
โครงงาน ดังนี้
2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแมงมุม
2.1.1 ลักษณะทั่วไปของแมงมุม
แมงมุมเป็นสิ่งมีชีวิตจาพวกสัตว์ขาข้อปล้อง (Arthropoda) จัดอยู่ในคลาสอะแรชนิดา (Class
Arachnida) มีลักษณะสาคัญ คือ ลาตัวแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนอกรวมเป็นชิ้นเดียวกัน
(cephalothorax) และส่วนท้องที่ไม่แบ่งเป็นปล้อง ด้านหน้าของส่วนท้องที่เชื่อมต่อกับส่วน cephalothorax มี
ลักษณะเป็นก้านเล็กๆ เรียกว่า เพดดิเซิล (pedicel) มีขา 4 คู่ ไม่มีขากรรไกร ไม่มีหนวด หายใจโดยท่อลม
หรือ แผงปอด (books lung) ปัจจุบันมีแมงมุมที่ถูกค้นพบแล้วประมาณ 40,000 ชนิด โดยแมงมุมสายพันธุ์ที่
สามารถผลิตเส้นใยที่มีคุณสมบัติพิเศษและแตกต่างจากเส้นใยที่สร้างจากหนอนไหม คือ แมงมุมที่มีชื่อ
วิทยาศาสตร์ว่า Araneus diadematus (garden cross-spider) พบมากในแถบยุโรปและอเมริกาเหนือ และ
แมงมุม Nephila clavipes (golden orb-web spider) ที่มีเส้นใยเป็นสีเหลืองทองสวยงาม พบได้ในทวีป
อเมริกา แมงมุมทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นแมงมุมใยกลม (orb-weaver spider) ซึ่งสร้างใยที่มีลักษณะคล้ายวงล้อ
การสร้างเส้นใยของแมงมุมเกิดจากต่อมผลิตเส้นใย (silk gland) ทาหน้าที่ผลิตโปรตีนที่ใช้สร้างเส้น
ใย เมื่อโปรตีนถูกหลั่งผ่าน spinnerets 1-3 คู่ ที่เชื่อมต่อกับ silk glands จะถูกเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไป
เป็นของแข็ง หลังจากนั้นแมงมุมก็จะใช้ขาในการถักทอโปรตีนเหล่านี้ให้เป็นเส้นใยที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เป็น
ใยแมงมุมที่เราเห็นนั่นเอง
3
ภาพที่ 1.1
ต่อมผลิตเส้นใยของแมงมุม มีหลายต่อมซึ่งทาหน้าที่ผลิตเส้นใย โดยแต่ละต่อมจะผลิตเส้นใยที่มี
คุณสมบัติต่างกันดังนี้
ต่อมผลิตเส้นใย
Major
Ampullate
ผลิตเส้นใยที่เป็นโครงสร้างหลักของใยแมงมุม (dragline silk) ใช้สาหรับรับแรง เดินและ
ปล่อยตัวจากที่สูง (dragline silk) มีความแข็งแรงและเหนียวมาก
Flagelliform
ผลิตเส้นใยที่ใช้สาหรับจับเหยื่อซึ่งมีความยืดหยุ่นสูงมาก (capture silk) ใช้ส่งสัญญาณเมื่อ
เหยื่อติดกับ (signal line)
Minor
Ampullate
เป็นเส้นใยชั่วคราวที่แมงมุมใช้เดินขณะกาลังทอใย (นั่งร้านชั่วคราวขณะก่อสร้าง)
Piriform ผลิตเส้นใยสาหรับใช้ประสานกับจุดเชื่อมโยง เช่น กิ่งไม้
Cylindrical ผลิตเส้นใยตรงจุดศูนย์กลางวงล้อเพื่อใช้เฝ้ารอเหยื่อและผลิตเส้นใยสร้างรังชั้นนอก
Aciniform ผลิตเส้นใยที่ใช้ห่อหุ้มไข่ ห่อหุ้มเหยื่อและสร้างรังชั้นใน
Aggregate ผลิตเส้นใยที่มีความเหนียวเหมือนกาว (glue silk)
Tubiliformes ผลิตเส้นใยที่ใช้สร้างรังไหมเพื่อปกป้ องไข่ (cocoon silk)
ภาพที่ 1.2
4
แมงมุมเป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในชั้น (Class) Arachnida ซึ่งแตกต่างกับแมลงซึ่งจัดอยู่ในชั้น Insecta
ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงลักษณะเปรียบเทียบระหว่างแมงมุมกับแมลง
ลักษณะ แมงมุม แมลง
ส่วนหลักของร่างกาย 2 ส่วน คือ Cephalothoraxและ Abdomen
โดยหัวและอกจะรวมเป็นส่วนเดียว
3 ส่วน คือ Head Thorax
และ Abdomen
หนวด ( Antennae ) ไม่มี มี
ขา 4 คู่ 3 คู่
Pedipalps มีโดยจะพัฒนาไปเป็นอวัยวะที่ใช้ในการ
ผสมพันธุ์ของตัวผู้
ไม่มี
ส่วนที่ปล่อยพิษ ส่วนของรยางค์ปาก ( Chelicerae ) หากมีจะอยู่ส่วนปลายของ
ท้อง
ปีก ไม่มี ส่วนใหญ่มี
ตา มีตาเดี่ยว ( Ocelli ) 6 หรือ 8 ตา ปกติมีตาประกอบ 1 คู่หรือ
บางชนิด
พบตาเดี่ยว 2 หรือ 3 ตา
อวัยวะที่ใช้ในการสร้าง
ใย
แมงมุมทุกชนิดมีอวัยวะพิเศษที่ใช้ในการ
สร้างใย (Spinneret)
พบในระยะตัวอ่อนหรือ
ในแมลงบางชนิด
การย่อยอาหาร ย่อยโดยใช้เอมไซน์ก่อนที่จะมีการกลืนกิน โดยทั่วไปจะย่อยหลังกลืน
การเจริญเติบโต ไม่มี Metamorphosis
ตัวอ่อนคล้ายพ่อแม่
แมลงหลายชนิด
มี Metamorphosis
ในระยะตัวอ่อนและดักแด้
องค์ประกอบทางเคมีและโครงสร้างของเส้นใยแมงมุม
องค์ประกอบทางเคมี
เส้นใยแมงมุมเป็นเส้นใยโปรตีนธรรมชาติที่เรียกว่า สไปโดรอิน (Spidroin) ประกอบด้วยกรดอะมิ
โนหลัก 2 ชนิด คือ ไกลซีน (Glycine) ร้อยละ 40 และอะลานีน (Alanine) ร้อยละ 25 อยู่ในรูปของโคพอลิ
เมอร์ที่จัดแบบบล็อก (Block Copolymer) ในแต่ละบล็อกประกอบด้วย อะลานีนและไกลซีน 4-9 โมเลกุล
สไปโดรอิน มี 2 ชนิด คือ สไปโดรอิน 1(Spidroin 1) ซึ่งเป็นบล็อกโคพอลิเมอร์ที่มีลาดับกรดอะมิโนอะ
5
ลานีนมากกว่า (Alanine-rich) และสไปโดรอิน 2 (Spidroin 2) ซึ่งเป็นบล็อกโคพอลิเมอร์ที่มีลาดับกรดอะ
มิโนไกลซีนมากกว่า (Glycine-rich) องค์ประกอบที่เหลือ คือ กรดอะมิโนชนิดอื่น ไกลโคโปรตีนเกลืออนิ
นทรีย์สารประกอบซัลเฟอร์ และเอมีน ซึ่งปริมาณสารต่างๆเหล่านี้จะแตกต่างกันตามสายพันธุ์ของแมงมุม
โครงสร้างของเส้นใยแมงมุม
ลักษณะภาคตัดขวางของเส้นใยแมงมุมเป็นวงกลม ชั้นนอกสุดเป็นชั้นไขมัน ถัดเข้ามาเป็นชั้นไกลโค
โปรตีน แกนกลางของเส้นใย คือ ส่วนของโปรตีนที่เรียกว่า สไปโดรอิน (Spidroin) ส่วนโครงสร้างโมเลกุล
ของเส้นใยแมงมุมนั้นประกอบด้วยส่วนที่มีการจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบหรือส่วนที่เป็นผลึก (crystalline
region) ที่เกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O กับ N-H ของกรดอะมิโนระหว่างสายพอลิอะ
ลานีนที่อยู่คู่กัน เกิดเป็นโครงสร้างแบบแผ่น เรียกว่า แผ่นพลีทบีต้า(β- pleatedsheet ) บริเวณที่เป็นผลึกเป็น
ส่วนที่ทาให้เส้นใยมีความแข็งแรง ส่วนที่เหลือเป็นบริเวณของอสัณฐาน (amorphous region) ที่มีการจัดเรียง
ตัวอย่างไม่เป็นระเบียบ เกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=Oของกรดอะมิโนหนึ่งกับ N-H ของ
กรดอะมิโนถัดไปอีก 4 หน่วยในสายพอลิไกลซีนเดียวกันเกิดโครงสร้างในลักษณะบิดเป็นเกลียวขดคล้าย
สปริง เรียกว่า เกลียวแอลฟา (α-helix) โครงสร้างที่บิดเป็นเกลียวนี้ทาให้เส้นใยยืดหยุ่นได้เมื่อมีแรงมา
กระทา จากโครงสร้างดังกล่าวทาให้เส้นใยแมงมุมมีจุดเด่นในด้านสมบัติเชิงกลทั้งในแง่ของความแข็งแรง
และความยืดหยุ่น
เส้นใยแมงมุมมีความแข็งแรง ความยืดหยุ่น และความเหนียวมากกว่าเส้นใยไหมซึ่งเป็นเส้นใย
ธรรมชาติ และเส้นใยสังเคราะห์อย่างไนลอน และเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุอื่น เช่น เส้นใยคาร์บอนและเหล็ก
พบว่า เส้นใยแมงมุมก็ยังมีความยืดหยุ่น และความเหนียวมากกว่าวัสดุเหล่านั้น จากจุดเด่นด้านสมบัติเชิงกล
ของเส้นใยแมงมุม อาจจะเป็นแนวทางที่น่าสนใจในการนาเส้นใยแมงมุมมาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
เช่น เสื้อเกราะกันกระสุนน้าหนักเบา เข็มขัดนิรภัย ร่มชูชีพ บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ หรือ
แม้แต่วัสดุทางการแพทย์(ไหมเย็บแผล เส้นเอ็นเทียม) เป็นต้น อย่างไรก็ตามเนื่องจากการผลิตเส้นใยแมงมุม
ภาพที่ 1.3
6
ให้ได้ปริมาณมากนั้นเป็นเรื่องยาก การนาแมงมุมมาเลี้ยงรวมกันในปริมาณมากทาให้แมงมุมกินกันเอง อีก
ทั้งเส้นใยแมงมุมมีขนาดเล็กมาก เราต้องใช้แมงมุมถึง 400 ตัวในการผลิตผ้าขนาดหนึ่งตาราง
หลา นอกจากนี้เส้นใยแมงมุมยังแข็งตัวเมื่อสัมผัสอากาศ จึงจาเป็นต้องอาศัยการพัฒนางานวิจัยเพื่อผลิตเส้น
ใยแมงมุมเลียนแบบธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการสังเคราะห์โปรตีนเส้นใยแมงมุม หรือการตัดต่อยีนที่เกี่ยวกับ
การสร้างเส้นใยของแมงมุมเข้าไว้ในรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น ตัวไหม เป็นต้น คาดว่าในไม่ช้าเรา
อาจจะได้สวมใส่หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเส้นใยแมงมุมก็เป็นได้
2.1.2 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม
ร่างกายของแมงมุมประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก คือ Cephalothorax และ Abdomen โดยมีส่วนที่
เชื่อมทั้ง 2 ส่วนเข้าด้วยกันคือ Pedicell ดังภาพที่
แมงมุมแตกต่างจากแมลงที่มีร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนแรกมีส่วนหัวและอกเชื่อมเป็น
ส่วนเดียวกัน (cephalothorax) แยกออกจากส่วนที่สองคือส่วนท้อง (abdomen) อย่างชัดเจน มีเปลือกแข็ง
(carapage) หุ้มอยู่ทั้งด้านบนและด้านล่าง เป็นที่ตั้งของตา ปาก มีเพดิพัลพ์ (pedipal) ยื่นยาวออกมา
ด้านหน้าใช้สาหรับเขี่ยอาหารเข้าปาก แมงมุมบางชนิดมีเพดิพัลพ์ยาวจนคล้ายขาแต่ไม่ได้ทาหน้าที่เกาะ
หรือเดิน มี เขี้ยวที่แหลมคมใช้กัดเหยื่อได้ มีขา 4 คู่ แต่ละขาเป็นข้อปล้องต่อๆ กัน ที่ปลายขามีเล็บเล็ก
ภาพที่ 1.4 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม
(ที่มา : http://www.siaminsectzoo.com)
7
แหลม มันจะใช้น้ามันลื่น ๆ เคลือบเล็บนี้ไว้ ทาให้เดินไปมาบนใยแมงมุมเหนียวๆ ได้ ส่วนท้องไม่ได้
แบ่งเป็นปล้อง มีลักษณะเป็นถุงนิ่มๆ มีน้อยชนิดที่มีเปลือกแข็งหุ้ม ส่วนท้องในเพศเมียมีช่องเปิดของ
ระบบหายใจ อวัยวะขับถ่าย และรยางค์ปล่อยเส้นใย อย่างไรก็ตามแมงมุมบางชนิดไม่สร้างเส้นใย เช่นแมง
มุมบ้านสีน้าตาลมีขายาวที่อยู่ตามห้องน้าคอยจับแมลงสาบและสามง่ามกิน
รยางค์ผลิตและปล่อยเส้นใย (spinneret) ของ แมงมุมอยู่ที่ปลายสุดของส่วนท้อง แมงมุมจะชักใยเพื่อ
สร้างที่อยู่อันปลอดภัย และใช้จับเหยื่อนอกจากนี้ยังใช้ใยสร้างถุงใส่ไข่ของมันด้วย ที่ปากของแมงมุมมี
เขี้ยวพิษ ใช้ป้ องกันตัวและฆ่าเหยื่อ ปากเล็กๆ ของแมงมุมใช้เคี้ยวเหยื่อไม่ได้ มันจะใช้เขี้ยวพิษฆ่าเหยื่อ
หรือทาให้เป็นอัมพาต แล้วใช้ปากดูดของเหลวจากเหยื่อกินเป็นอาหาร เมื่อแมงมุมโตขึ้น มันจะสร้างรัง
ของตัวเอง โดยแมงมุมต้นไม้จะปล่อยใยยึดไว้ตามกิ่งไม้ ใยแมงมุมมีหลายแบบ ทั้งแบบกลม สามเหลี่ยม
และสี่เหลี่ยม ใยแมงมุมเป็นกับดัก เมื่อแมลงบินไปติดใยแมงมุมเหนียวๆ มันจะหนีไปไหนไม่ได้และถูก
แมงมุมจับกินเป็นอาหาร
2.2 ประโยชน์ของใยแมงมุม
เส้นใยที่เกิดจากธรรมชาติ ถือได้ว่าเป็นอีกวัตถุดิบที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์อย่างมากมาย มาตั้งแต่
ครั้งโบราณกาล ที่เราคุ้นเคยกันดีก็ คือ เส้นใยจากตัวไหม ที่นามาทาเสื้อผ้า ต่างๆ แต่รู็หรือไม่ว่า ยังมีเส้นใย
อีกชนิดนึงที่มีคุณภาพมากๆ เช่นกัน ในการนามาใช้ประโยชน์ในชีวิต ประจาวันของเราได้ คือ เส้นใยจาก
แมงมุมนั่นเอง ด้วยคุณสมบัติพิเศษของใยแมงมุมซึ่งแม้เป็นเส้นใยที่บางขนาดแค่ไมโครเมตรจน เกือบมอง
ไม่เห็นแต่มีความเหนียว ทนทาน และยืดหยุ่นได้ดี ทาให้สามารถจับและยึดแมลงที่บินเข้ามาหาและติดตาม
ผม ผิวหนัง และเสื้อผ้าของผู้ที่เดินเข้าไปหาโดยไม่ได้ตั้งใจ ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงสนใจศึกษาคุณสมบัติ
พิเศษของใยแมงมุมเหล่านี้
1. Ali Dhinojwala Vasav Sahni และ Todd A. Blackledge จากมหาวิทยาลัย Akron
เมื่อ สองปีที่ผ่านมาได้ศึกษากลไกที่ทาให้ใยแมงมุมของแมงมุมที่ชักใยเป็นรูปวงล้อ (แมงมุม orb) สามารถ
ยึดจับเหยื่อ โดยทดสอบหยดกาวขนาดเล็กที่อยู่ตามใยแมงมุมโดยใช้ตัวติดตาม (probe) แล้วพบว่าความ
ยืดหยุ่นของไกลโคโปรตีนทาให้กาวสามารถยึดจับเหยื่อ และกาวมีคุณสมบัติเหมือนของแข็งที่เหนียวและ
ยืดหดได้ซึ่งต่างจากของเหลวที่เหนียวและยืดหดได้ที่สูญเสียความยืดหยุ่นและความ สามารถในการยึดเกาะ
เร็ว ต่อมาได้เปรียบเทียบผลของความชื้นที่มีต่อ คุณสมบัติของกาวของแมงมุม orb และแมงมุม cobweb
(แมงมุมที่ชักใยเป็นรูปสามมิติอย่างไม่เป็นระเบียบ) แล้วพบว่าความยืดหยุ่นและการยึดจับของกาวของแมง
มุม cobweb ค่อนข้างคงที่แม้ความชื้นเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่กาวของแมงมุม orb เปลี่ยนแปลงตาม
ความชื้นอย่างมาก โดยกาวของแมงมุม orb ขยายตัวอย่างมากและสูญเสียความยืดหยุ่นเมื่อความชื้นเพิ่มขึ้น
และยึดจับได้ ดีที่สุดที่ความชื้นระดับปานกลาง เมื่อต้นปีนี้ได้เลียนแบบกลวิธีการ สร้างใยแมงมุมของแมง
มุม orb เพื่อผลิตเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งมีลักษณะและคุณสมบัติเหมือนเส้นใยตามธรรมชาติ โดยดึงเส้นใย
8
ไนลอนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 ไมโครเมตร ตามแนวดิ่งจากสารละลาย polydimethylsiloxane (PDMS)
แล้วเส้นใยเกิดเป็นหยดขนาดเล็ก และโดยการควบคุมความเหนียวและความตึงผิวของสารละลายและอัตรา
การดึงเส้นใยจาก สารละลายทาให้สามารถกาหนดเส้นผ่านศูนย์กลางและระยะห่างของหยดขนาดเล็ก
นอกจากนี้ยังพบว่าลักษณะของกาวที่ติดอยู่ตามเส้นใยของใยแมงมุมของแมงมุม orb คล้ายลูกปัดในสร้อยคอ
(a beads-on-a-string morphology) เพิ่มความสามารถในการยึดจับโดยการเพิ่มพื้นที่สัมผัสระหว่างแมลงและ
กาว และยังเพิ่มพลังงานซึ่งใช้เพื่อปล่อยแมลงเป็นอิสระ
ขณะนี้กาลังประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้ในการออกแบบสิ่งต่างๆ เช่น ผ้าพันแผลทนน้า สารกันรั่วใต้น้า
2. Frederick P. Gosselin จาก Polytechnique Montreal ตั้งใจ ศึกษาความเหนียวอย่างมากของใยแมง
มุม ซึ่งบางส่วนถือว่าเป็นเพราะพันธะไฮโดรเจนระหว่างส่วนที่ขดของสายโปรตีนของ เส้นใย โดยก่อนหน้า
นี้แสดงให้เห็นว่าการดึงเส้นใยเพิ่มความยาวโดยทาลายพันธะ ไฮโดรเจนและคลายจากการขดสายที่มี
ลักษณะคล้ายสปริงขนาดนาโนเมตร ที่เพิ่งเริ่มพัฒนาคือ วิธีการเพื่อเลียนแบบขบวนการระดับโมเลกุลของ
สายนั้นด้วยเส้นใยพอลิเมอร์ขด ซึ่งมองเห็นด้วยตาเปล่า ผลปรากฏว่าเส้นใยนั้นสามารถแสดงเหตุการณ์
คลายจากการขดแต่ความเหนียวของเส้น ใยยังไม่ได้ปรับให้เหมาะสม
3. Peggy Cebe David L. Kaplan Wenwen Huang และ Sreevidhya Krishnaji จากมหาวิทยาลัย
Tufts สังเคราะห์ โคพอลิเมอร์ที่จัดแบบบล็อก (Block Copolymer) ที่บล็อกประกอบด้วยลาดับกรดอะมิโนที่
ส่วนใหญ่เป็นอะลานีนซึ่งพบในส่วนที่ทา ให้ใยแมงมุมของแมงมุม orb (Nephila clavipes) มีความทนทาน
และความเหนียว และลาดับกรดอะมิโนที่ส่วนใหญ่เป็นไกลซีนซึ่งทาให้ใยแมงมุมมีความยืดหยุ่น และโดย
การปรับส่วนประกอบของโคพอลิเมอร์นี้ทาให้สามารถสร้างวัสดุหลากหลาย ชนิด เช่น disordered films
fibrils และ micelles
4. James S. Brook Eden Steven และคณะ จากมหาวิทยาลัย Florida State ทาให้ใยแมงมุมมี
คุณสมบัตินาไฟฟ้าและประยุกต์ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้ า โดยมีความต้องการพัฒนาลวดขนาดเล็กและตัวเชื่อม
ไฟฟ้าชนิดใหม่
5. Xinwei Wang และคณะ จากมหาวิทยาลัย Iowa State รายงานเมื่อเร็วๆ นี้ว่าเส้นใยชนิด dragline
ของแมงมุม N. clavipes เป็นตัวนาความร้อนที่ดีกว่าวัสดุส่วนใหญ่มาก โดยค้นพบว่าหลังจากเส้นใยถูกยืด
ออกความสามารถในการนาความร้อนมีมากกว่าทอง แดง นอกจากนี้ยังค้นพบอีกว่าในทางตรงข้ามกับวัสดุ
ส่วนใหญ่ความสามารถในการนาความ ร้อนของเส้นใยเพิ่มขึ้นภายหลังการทาให้ตึง
6. Shigeyoshi Osaki จากมหาวิทยาลัยการแพทย์Nara ประเทศญี่ปุ่น ทาสายไวโอลินที่ทาจากเส้นใย
ของใยแมงมุมจานวนพันเส้นมาบิดเป็นเกลียวรวมกัน ซึ่งทาให้สายไวโอลินมีเสียงที่นุ่มและลึก ผลงาน
ดังกล่าวเพิ่งเผยแพร่เร็วๆ นี้ในวารสาร Physical Review Letters (ที่มา http://kvamsook.com )
9
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการศึกษา
3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือ
(ก) (ข)
(ค) (ง)
(ค) (ง)
(จ) (ฉ)
(จ) (ฉ)
ภาพที่ 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการสารวจ (ก) กล้องถ่ายรูป (ข) เข็มทิศ, (ค) ไม้บรรทัด, (ง) เทปวัด,
(จ) สายวัด, (ฉ) แว่นขยาย
10
3.2 วิธีการศึกษา
ดาเนินการสารวจ/ศึกษา โดยใช้กระบวนการของนักสารวจแห่งท้องทุ่ง 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่1 การค้นหา
เดินค้นหาพื้นที่เป้ าหมายในการศึกษาโดยเดินสารวจหาพื้นที่ที่มีแมงมุม ภายในบริเวณพื้นที่ต่างๆ
ของโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาโดยรอบ แล้วประชุมสมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเห็นเพื่อคัดเลือก
พื้นที่เป้ าหมายที่เหมาะสมในการศึกษา (1 สัปดาห์)
ขั้นที่2 การสารวจ
ประชุมวางแผน กาหนดปัญหา กาหนดขอบเขตพื้นที่เป้ าหมาย แบ่งกลุ่มลงสารวจพื้นที่เป้ าหมาย
ครูที่ปรึกษาอบรมสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับวิธีการสารวจความหลากหลายของแมงมุมและแมลงและสิ่งมีชีวิต
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สืบค้นข้อมูล ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บตัวอย่าง วิธีการถ่ายภาพ
วิธีการสัมภาษณ์ การบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงาน การนาเสนอข้อมูล เป็นต้น จากนั้น
ลงพื้นที่สารวจภาคสนามตามกาหนดการที่วางแผนไว้โดยสารวจเกี่ยวกับความหลากหลายของแมงมุมและ
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เกี่ยงข้อง สัมภาษณ์ภูมิปัญญาชาวบ้านในการใช้ประโยชน์จากแมงมุม แล้วนาผลการสารวจ
มาจัดกระทาข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและอภิปรายผล เขียนรายงานพร้อมเข้ารูปเล่มให้สวยงามและจัดทา
สิ่งประดิษฐ์ (12 สัปดาห์)
ระยะเวลาในการสารวจ 7 เดือน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 31 มกราคม 2557 สารวจเฉพาะ
ช่วงเวลา 12.30 – 13.00 น. และ 15.30 – 16.30 น. พื้นที่ดาเนินการสารวจ สารวจเฉพาะในป่าไผ่ด้านทิศ
ตะวันออกและ ป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ตาบลศรีสมเด็จ อาเภอ
ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
11
ภาพที่ 3.2 แผนที่ดาวเทียมแสดงตาแหน่งพื้นที่สารวจแมงมุมในโรงเรียน
ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา (จาก Google Earth)
12
(ก)
(ข)
ภาพที่ 3.3 (ก)-(ข) พื้นที่ศึกษา 2 บริเวณ คือ ป่าไผ่ด้านทิศตะวันออกและป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ
โรงเรียน โดยวางแปลงขนาด 40 x 40 เมตร บริเวณละ 2 แปลง
40x40 m2
40x40 m2
40x40 m2
40x40 m2
13
ภาพที่ 3.4 สภาพป่าไผ่ด้านทิศตะวันออกของโรงเรียน
ภาพที่ 3.5 สภาพป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียน
14
ขั้นที่3 การอนุรักษ์
รณรงค์ให้เพื่อนนักเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน หน่วยงานของรัฐและเอกชนเห็นคุณค่าและ
ความสาคัญของแมงมุมและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในระบบนิเวศ โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการช่วยกัน
ปลูกต้นไม้ดูแลสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ โดยเชิญชวนให้มีการจัดสวนและจัดภูมิทัศน์ในโรงเรียนและชุมชนให้
สวยงาม ให้ความรู้เกี่ยวกับการไม่ตัดและทาลายต้นไม้ ติดป้ ายต้นไม้พูดได้เพื่อให้แนวคิดในการรักษาพืช/
ต้นไม้ที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของแมงมุม แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในสิ่งแวดล้อมและ
ธรรมชาติ (3 สัปดาห์)
ขั้นที่4 การแบ่งปัน
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้จากการดาเนินโครงการฯ ให้กับเพื่อนๆ ครู-อาจารย์ ชุมชนหรือผู้ที่
สนใจ ในรูปแบบ ดังต่อไปนี้
- จัดนิทรรศการเกี่ยวกับความหลากหลายแมงมุม แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เกี่ยงข้อง
- แลกเปลี่ยนประสบการณ์ผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. และพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา
- การแต่งบทเพลงเกี่ยวกับแมงมุมและการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้อันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่ง
อาหารของแมงมุม แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ
- จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างแมงมุมกับแมลงในระบบนิเวศ
- ประชาสัมพันธ์ประโยชน์ของแมงมุมและแมลงที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและด้านอื่นๆ ผ่าน
วิทยุชุมชน
(4 สัปดาห์)
15
บทที่ 4
ผลการศึกษา
4.1 ผลการศึกษา
จากการลงพื้นที่สารวจความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอ
ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สองบริเวณ คือ ป่าไผ่และป่าไม้ของโรงเรียน โดยวางแปลงขนาด 40 x 40 เมตร
บริเวณละ 2 แปลงโดยใช้กระบวนการนักสารวจ แห่งท้องทุ่ง พบว่า
พบแมงมุมทั้งสิ้น จานวน 44 ชนิด รวม 149 ตัว โดยบริเวณป่าไผ่ พบแมงมุม จานวน 7 ชนิด รวม 24
ตัว และพบที่ป่าไม้จานวน 44 ชนิด รวม 125 ตัว ชนิดที่พบมากที่สุด คือ แมงมุมใยทองลายขนาน (ย่างซี่น)
(Nephila pilipes) ดังแสดงในตารางที่ 4.1 โดยพบบริเวณป่าไม้มากกว่าบริเวณป่าไผ่
จาแนกแมงมุมได้เป็น 2 กลุ่ม ตามวิธีการจับอาหารหรือการชักใย คือ กลุ่มที่ล่าเหยื่อโดยวิธีชักใยหรือ
สร้างรังเป็นตาข่ายเมื่อแมลงบินไปติดใยแมงมุมเหนียวๆ จะไปไหนไม่ได้และถูกจับกินเป็นอาหารและกลุ่มที่ล่า
เหยื่อโดยไม่ชักใย จะล่าเหยื่อโดยเคลื่อนที่ไปรอบๆ เพื่อค้นหาเหยื่อ
จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการชักใยและรูปร่างตาข่ายใยแมงมุมจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละชนิด
ในตาข่ายของเส้นใยมีทั้งเส้นใยที่เหนียวและไม่เหนียวในรังเดียวกัน
จานวนและชนิดของแมงมุมพบมากที่สุดที่ระดับความสูงปานกลาง ( 1-2 เมตร) และจานวนจะลดลง
เมื่อความสูงเพิ่มมากขึ้นและจากการสารวจยังพบว่า ประชากรของแมงมุมในแต่ละช่วงมีจานวนแตกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาหรือฤดูกาล อุณหภูมิ ถิ่นที่อยู่อาศัย และแมลงที่เป็นอาหาร
พบแมลง 33ชนิด ได้แก่ มดน้าผึ้ง มดแดง ตั๊กแตนตาข้าว ตั๊กแตนฝ้าย ด้วงดอกรักสีน้าเงิน ผีเสื้อหนอน
มะพร้าว แมลงปอบ้านไร่ แมลงวันเลียนต่อ แมลงช้างหนวดสั้น จักจั่นงวงแดง มวนสิง แมลงค่อมทอง ผีเสื้อ
กลางคืน มวนพิฆาต มวนลาไย เพลี้ยไก่แจ้ ตั๊กแตนหนวดยาว แมลงวันหัวบุบ ผีเสื้อเชิงลายธรรมดา มวน
ตองแตก แมลงนูนเขียวธรรมดา แมลงปอเข็ม ตั๊กแตนกิ่งไม้ ผีเสื้อหนอนใบรักธรรมดา ผีเสื้อหางติ่ง ผีเสื้อเณร
แมลงหวี่ ผีเสื้อถุงทองธรรมดา ตั๊กแตนขาลายแข้งแดง แมลงปอเข็มหางแต้มหน้าส้ม มวนนักกล้าม จิ้งหรีด และ
กิ้งกือ ถ้ามีแมลงอยู่มาก แมงมุมเพศเมียจะวางไข่จานวนมาก แมงมุมก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีขนาดใหญ่
ขึ้น แสดงว่า ความหลากหลายของชนิด แมงมุมสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายของแมลงได้ และ
ความหลากหลายของแมลงเป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายของชนิดพืชอาหาร
16
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น/ชื่อ
วิทยาศาสตร์
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
1 แมงมุมใยทอง
ลายขนาน(ย่าง
ซี่น) Nephila
pilipes
- 12  - ใยขนาด
ใหญ่สิ่งที่ติด
ใย เช่น มวน
สิง ด้วง
ตั๊กแตนตา
ข้าว
ต้นนนทรี 2.50 ชาวบ้าน
นิยมรับ
ประ
ทาน
2 แมงมุมนุ่งซิ่น
หลากสี
Argiope
versicolor
3 8  - ใยตรงกลาง
มีสี่แฉก
ยุง แมลงวัน
ไผ่ มะขาม 1-2 รับประ
ทานได้
3 แมงมุมหลัง
หนามเหลืองจุด
ดา
Gasteracantra
hasselti
- 2  - ใยไม่ค่อย
เป็นตาข่าย
นัก
ต้นไผ่ใน
ป่าไม้และ
ต้นกระถิน
1-2.5 -
4
แมงมุมปูขาว
Thomisus
spectabilis
- 1 -  - ต้นข่อย 1 -
5
แมงมุมเขี้ยว
ใหญ่ไข่มุก
Opadometa
fastigata
- 1  - ใยมีลักษณะ
เป็นเส้น
มากกว่าตา
ข่าย
มะขามเทศ 2-3 -
17
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ)
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
6 แมงมุมเขี้ยว
ใหญ่ลาย
ประดับ
Leucauge
decorata
5 7  - ตาข่ายถี่ กอไผ่
ข่อย
0.5-1 -
7 Argyrodes
flavescens
- 7  - - มักพบ
อาศัยอยู่
บนใยของ
แมงมุม
วงศ์
Nephilidae
1-2 -
8 Cosmophasis
umbratica
- 2 -  - ข่อย 0-1 -
9
Crossopriza
lyoni
1 4  - ใยยุ่งๆ เส้น
เล็กๆ
ชอบอยู่ตาม
บ้านเรือน
0.5-2 -
10
กลุ่มหลังหนาม
Gasteracantha
kuhlii
- 7  - ใยเป็นแฉก/
รัศมี
กระถิน
ขี้เหล็ก
1-2 -
18
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ)
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
11 Gea spinpes - 7  - - ใบข่อย 0.5 เป็นเครือ
ญาติกับ
นุ่งซิ่น
12 แมงมุมสอง
หาง พวก
Hersiliidae
3 3 -  - หลบตาม
เปลือก
ต้นไม้
ขี้เหล็ก
1-3 -
13 Hyllus diardi - 5 -  - ใบข่อย 0.2-1 -
14
Lynx spider
Oxyopes sp.
- 3 -  - เฟื่องฟ้า
กระถิน
ข่อย
0.5-1 -
15
แมงมุมเลียนมด
แดง
Myrmarachne
plantaleoides
- 5 -  - เปลือก
ต้นไม้
ยูคาลิปตัส
มะขามเทศ
1-2 -
19
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ)
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
16 Oxyopes
javanus
- 3 -  - ใบข่อย
กระถิน
0.2-1 -
17 Parawixia
dehaani
- 5  - ใช้ใยห่อ
ใบไม้
นอนนิ่ง
โดยใช้
ใบไม้แห้ง
ห่อตัวใช้
ใยยึด
0.5-1 -
18 แมงมุมเต็นท์
แดง
Cyrtophora
unicolor
1 2 -  - นอนนิ่ง
โดยใช้
ใบไม้แห้ง
ห่อตัว
0.5-1 -
19
Telamonia
dimidiata
- 4 -  - กิ่งไม้เล็กๆ
เช่น
กระถิน
ข่อย
0.5-1 -
20
สกุล Marpissa - 2 -  - เปลือก
ต้นไม้
ตะเคียน
0.5-1 -
20
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ)
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
21 สกุล Olios - 1 -  - ใต้ใบข่อย 0.2-0.5 -
22 แมงมุม
กระโดด วงศ์
Salticidae
- 1 -  - ใบกระถิน 0.5-1 -
23 สกุล Neoscona - 1 -  - ใบอินทนิล 0.5-1 -
24
แมงมุมนุ่งซิ่น
หลังเงิน
Argiope
catenulata
- 1  - ตรงกลางใย
มีสีขาวสี่
แฉก
- 1-2 -
25
แมงมุม วงศ์
Clubionidae
- 1  - ใยยุ่งไม่เป็น
ระเบียบ
ต้น
สาบเสือ
0.5-1 -
21
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ)
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
26 แมงมุม สกุล
Scytodes
- 1 -  - ใบชงโค 0.5-1 -
27 แมงมุม
กระโดด
Plexippus
petersi
- 1 -  - พบได้
บ่อยๆ ตาม
บ้านเรือน
2-3 เพศผู้
28 แมงมุม
กระโดด สกุล
Cosmophasis
- 1 -  - ใต้ใบข่อย 2-3 เพศผู้
29
แมงมุม
กระโดด สกุล
Rhene
1 1 -  - ใบไผ่ 1-2 -
30
แมงมุมปู น่าจะ
เป็นสกุล
Thomisus
- 2 -  - บนใบไม้
แห้งบน
พื้นดิน
0-1 -
22
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ)
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
31 แมงมุมปูเลียน
มดแดง
Amyciaea
lineatipes
- 2 -  - กิ่งไม้
กระถิน
0-1 -
32 แมงมุมใยกลม
Eriovixia
laglaisei
- 1  - - กิ่งไม้ 0.5-1 -
33 แมงมุมใยเต็นท์
Cyrtophora
moluccensis
- 1  - ใยเป็นตาข่าย
ขนาดใหญ่
ยางนา 2-3 -
34 แมงมุมใยเต็นท์
สกุล
Cyrtophora
- 3  - ใยยุ่งขนาด
เล็ก
ตอไม้ 0-0.5 -
35
แมงมุมสกุล
Achaearanea
- 2  - ใช้ใยห่อ
ใบไม้เพื่อห่อ
ตัวทาเป็นรัง
ข่อย 2-3 -
23
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ)
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
36 แมงมุมสกุล
Chrysso
- 2  - ใยขนาดเล็ก ข่อย 1-2 -
37 แมงมุมสกุล
Hippasa วงศ์
Lycosidae
10 4  - ใยเส้นเล็ก
ทารังเป็นท่อ
ติดพื้นดิน
คล้ายพวกบึ้ง
กอไผ่ 1-2 -
38 แมงมุมสกุล
Storenomorpha
- 2 -  - กิ่งไม้/ใบไม้ 0.5-1 -
39 แมงมุมสกุล
Tetragnatha
- 1 -  - ใบกระถิน 0.5-1 -
40
แมงมุมสะสม
ขยะ Cyclosa
insulana
- 1  - ใยเส้นเล็กมี
ลักษณะยุ่งมี
ซากแมลง
และพืชเกาะ
เต็มรัง
ข่อย 1-2 -
41
วงศ์
Sparassidae
อาจเป็นสกุล
Heteropoda
- 1 -  - เศษผ้าในป่า 0.5 -
24
ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ)
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
42 สกุล Argiope - 2  - ใยเป็นตาข่าย
รูปแบบ
เฉพาะตัว
ต้นตะเคียน 0.5-1 -
43 สกุล Argiope
ที่ยังระบุชนิด
ไม่ได้
- 1  - ใยเป็นตาข่าย
ที่มีระเบียบ
มาก
ต้นข่อย 1-2 -
44 สกุล
Eurychoera
- 1 -  - บนพื้นดิน 0-0.5 -
รวม 44 ชนิด - 24 ตัว
7 ชนิด
125
44
ชนิด
21 23 - - 1-2 -
ป่าไผ่ สารวจพบแมงมุม 7 ชนิด รวม 24 ตัว ได้แก่ แมงมุมนุ่งซิ่นหลากสี (Argiope versicolor),
แมงมุมเขี้ยวใหญ่ลายประดับ (Leucauge decorate), แมงมุม Crossopriza lyoni , แมงมุมสองหาง พวก
Hersiliidae , แมงมุมเต็นท์แดง (Cyrtophora unicolor), แมงมุมกระโดด สกุล Rhene, แมงมุมสกุล Hippasa
วงศ์ Lycosidae
ป่าไม้ สารวจพบแมงมุม 44 ชนิด รวม 125 ตัว ดังตารางข้างต้น
25
ภาพที่ 4.2 สายใยอาหาร (Food Web) ของแมงมุมในระบบนิเวศ
พบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในรูปแบบภาวะล่าเหยื่อ (Predation; +,-) ซึ่งเป็นทั้งผู้ล่า/ตัว
ห้า(predator) และเป็นผู้ถูกล่า/เหยื่อ (prey) โดยแมงมุมบางชนิดล่าทั้งแมงมุมและแมลงเป็นอาหาร ซึ่งมี
ประโยชน์ต่อเกษตรกร เพราะ ช่วยกาจัดแมลงศัตรูพืชที่อยู่ในแปลงผัก ผลไม้และนาข้าว
26
ภาพที่ 4.3 การล่าเหยื่อของแมงมุมและแมลงที่ติดใยแมงมุม
27
(ก) (ข)
(ค) (ง)
(จ) (ฉ)
ภาพที่ 4.4 ตัวอย่างแมลงและแมงที่พบในป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา
วิทยา (ก) ตั๊กแตนสีน้าตาล, (ข) กระสุนพระอินทร์, (ค) กิ้งกือ, (ง) ตั๊กแตนขาลายแข้งแดง (จ) แมลงวัน
ชนิดหนึ่ง, (ฉ) ตัวอ่อนตั๊กแตนตาข้าว
28
(ช) (ซ)
(ฎ) (ฏ)
(ฐ) (ฑ)
ภาพที่ 4.4 (ต่อ) (ช) ตั๊กแตนหนวดยาว, (ซ) มวนนักกล้าม, (ฎ) ด้วงดอกรักสีน้าเงิน, (ฏ) จิ้งหรีด (ฐ)
ตัวอ่อนตั๊กแตนตาข้าว , (ฑ) ตัวเต็มวัยตั๊กแตนตาข้าว
29
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศึกษา
จากการลงพื้นที่สารวจความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอ
ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สองบริเวณ คือ ป่าไผ่และป่าไม้ของโรงเรียน โดยวางแปลงขนาด 40 x 40 เมตร
บริเวณละ 2 แปลงโดยใช้กระบวนการนักสารวจ แห่งท้องทุ่ง
พบแมงมุมทั้งสิ้น จานวน 44 ชนิด รวม 149 ตัว โดยบริเวณป่าไผ่ พบแมงมุม จานวน 7 ชนิด รวม 24
ตัว ได้แก่ แมงมุมนุ่งซิ่นหลากสี (Argiope versicolor),แมงมุมเขี้ยวใหญ่ลายประดับ (Leucauge decorate),
แมงมุม Crossopriza lyoni , แมงมุมสองหาง วงศ์ Hersiliidae , แมงมุมเต็นท์แดง (Cyrtophora unicolor),
แมงมุมกระโดด สกุล Rhene, แมงมุมสกุล Hippasa วงศ์ Lycosidae และพบที่ป่าไม้จานวน 44 ชนิด รวม
125 ตัว ชนิดที่พบมากที่สุด คือ แมงมุมใยทองลายขนาน (ย่างซี่น) (Nephila pilipes) โดยพบบริเวณป่าไม้
มากกว่าบริเวณป่าไผ่ จาแนกแมงมุมได้เป็น 2 กลุ่ม ตามวิธีการจับอาหารหรือการชักใย คือ กลุ่มที่ล่าเหยื่อโดย
วิธีชักใยหรือสร้างรังเป็นตาข่ายเมื่อแมลงบินไปติดใยแมงมุมเหนียวๆ จะไปไหนไม่ได้และถูกจับกินเป็นอาหาร
และกลุ่มที่ล่าเหยื่อโดยไม่ชักใย จะล่าเหยื่อโดยเคลื่อนที่ไปรอบๆ เพื่อค้นหาเหยื่อ จากการศึกษาพบว่า ลักษณะ
การชักใยและรูปร่างตาข่ายใยแมงมุมจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละชนิด ในตาข่ายของเส้นใยมีทั้งเส้นใยที่
เหนียวและไม่เหนียวในรังเดียวกัน
5.2 อภิปรายผล
จากการสารวจ พบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในรูปแบบภาวะล่าเหยื่อ (Predation; +,-) ซึ่ง
เป็นทั้งผู้ล่า/ตัวห้า(predator) และเป็นผู้ถูกล่า/เหยื่อ (prey) โดยแมงมุมบางชนิดล่าทั้งแมงมุมและแมลงเป็น
อาหาร ซึ่งมีประโยชน์ต่อเกษตรกร เพราะ ช่วยกาจัดแมลงศัตรูพืชที่อยู่ในแปลงผัก ผลไม้และนาข้าว
จานวนและชนิดของแมงมุมพบมากที่สุดที่ระดับความสูงปานกลาง ( 1-2 เมตร) และจานวนจะลดลง
เมื่อความสูงเพิ่มมากขึ้นและจากการสารวจยังพบว่า ประชากรของแมงมุมในแต่ละช่วงมีจานวนแตกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาหรือฤดูกาล อุณหภูมิ ถิ่นที่อยู่อาศัย และแมลงที่เป็นอาหาร
พบแมลง 33ชนิด ได้แก่ มดน้าผึ้ง มดแดง ตั๊กแตนตาข้าว ตั๊กแตนฝ้าย ด้วงดอกรักสีน้าเงิน ผีเสื้อหนอน
มะพร้าว แมลงปอบ้านไร่ แมลงวันเลียนต่อ แมลงช้างหนวดสั้น จักจั่นงวงแดง มวนสิง แมลงค่อมทอง ผีเสื้อ
กลางคืน มวนพิฆาต มวนลาไย เพลี้ยไก่แจ้ ตั๊กแตนหนวดยาว แมลงวันหัวบุบ ผีเสื้อเชิงลายธรรมดา มวน
30
ตองแตก แมลงนูนเขียวธรรมดา แมลงปอเข็ม ตั๊กแตนกิ่งไม้ ผีเสื้อหนอนใบรักธรรมดา ผีเสื้อหางติ่ง ผีเสื้อเณร
แมลงหวี่ ผีเสื้อถุงทองธรรมดา ตั๊กแตนขาลายแข้งแดง แมลงปอเข็มหางแต้มหน้าส้ม มวนนักกล้าม จิ้งหรีด และ
กิ้งกือ ถ้ามีแมลงอยู่มาก แมงมุมเพศเมียจะวางไข่จานวนมาก แมงมุมก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีขนาดใหญ่
ขึ้น แสดงว่า ความหลากหลายของชนิด
แมงมุมสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายของแมลงได้ และความหลากหลายของแมลงเป็นตัว
บ่งชี้ความหลากหลายของชนิดพืชอาหาร
5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 ควรมีการสารวจแมงมุมในสถานที่อื่นๆ ด้วย จะได้ทราบถึงความแตกต่างของจานวนและชนิด
แมงมุมในแต่ละระบบนิเวศ
5.3.2 ควรมีการศึกษาโดยมีการเก็บตัวอย่างแมงมุมด้วย จะทาให้ศึกษารายละเอียดทางอนุกรมวิธานได้
5.4 ประโยชน์ที่ได้รับ
5.4.1 ได้เรียนรู้เทคนิคการสารวจความหลากหลายของแมงมุม
5.4.2 ได้ทราบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
5.4.3 ได้ฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
31
บรรณานุกรม
เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. หนังสือชุดสังเกตธรรมชาติ ผีเสื้อ. กรุงเทพฯ: สารคดี, 2540. 149 หน้า.
___________. Photographic guide to Moths in Thailand. สมุทรปราการ: BNEC., 2555. 64 หน้า.
เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ และจารุจินต์ นภีตะภัฏ. คู่มือแมลง. กรุงเทพฯ: สารคดี, 2551. 224 หน้า.
จารุจินต์ นภีตะภัฏ และเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. คู่มือดูผีเสื้อในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์วนา,
2544. 320 หน้า.
นิดดา หงส์วิวัฒน์. ผีเสื้อแสนสวย. กรุงเทพฯ: คติ, 2554. 176 หน้า.
พริมา ยนตรรักษ์. แมลงกินได้. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์, 2556, 160 หน้า.
พิสุทธิ์ เอกอานวย. ตั๊กแตนกิ่งไม้. กรุงเทพฯ: บริษัท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า.
___________.ตั๊กแตนต่างๆ. กรุงเทพฯ: บริษัท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า.
___________.ตั๊กแตนตาข้าว. กรุงเทพฯ: บริษัท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า.
___________.ผีเสื้อกลางวัน. กรุงเทพฯ: สายธุรกิจโรงพิมพ์, 2552, 32 หน้า.
___________.แมลงปอ. กรุงเทพฯ: สายธุรกิจโรงพิมพ์, 2552, 32 หน้า.
___________.โรคและแมลงศัตรูพืชที่สาคัญ. กรุงเทพฯ: สายธุรกิจโรงพิมพ์, 2553(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม), 591 หน้า.
ราชบัณฑิตยสถาน. ศัพท์พฤกษศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน,
2541. 366 หน้า.
___________. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์, 2546, 523 หน้า.
___________. อนุกรมวิธานพืช อักษร ข. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์, 2547, 263 หน้า.
สัมฤทธิ์ พุ่มสุวรรณ และคณะ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 7. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์, 2555, 192 หน้า.
สานักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้กรมป่าไม้.คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองของชุมชนด้านความ
หลากหลายทางชีวภาพ “ด้านแมลง”.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,
2553.
*********************
32
ภาคผนวก
แบบบันทึกการสารวจแมงมุมและแมลงในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
วันที่สารวจ…………………………………เวลา……………………สถานที่/พื้นที่……………………………..
สภาพป่า……………………………………
ผู้สารวจ…………………………………………………………………………………………………………….
ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/
กลุ่ม/ชื่อ
ท้องถิ่น
ภาพถ่าย จานวนที่พบใน
พื้นที่สารวจ
(ตัว)
การชักใย ลักษณะใย
(ถ้ามี)/
สิ่งที่ติดใย
(ถ้ามี)
สิ่งยึด
เกาะ/
ต้นไม้ที่
อยู่
ความ
สูงจาก
พื้นดิน
(เมตร)
หมาย
เหตุ
ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ
1
2
3
4
5
34
ภาพประกอบโครงงาน
ภาพที่ 6.1 ลงพื้นที่สารวจแมงมุมและแมลงที่เกี่ยวข้องที่ป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียน
ภาพที่ 6.2 ลงพื้นที่สารวจแมงมุมและแมลงที่เกี่ยวข้องที่ป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียน
35
ภาพที่ 6.3 ประชุมและตรวจสอบเพื่อสรุปชนิดและรายชื่อแมงมุมและแมลงจากหนังสืออ้างอิง
ที่ห้องสมุดโรงเรียน
36
ขั้นอนุรักษ์ (Conserve)
ภาพที่ 6.4 นาป้ ายอนุรักษ์ที่อยู่ของแมงมุมและแมลงไปติดที่ต้นไม้รอบๆ บริเวณที่ศึกษา
ภาพที่ 6.5 เชิญชวนคณะครูและนักเรียนร่วมกันปลูกต้นไม้ในป่าและรอบๆโรงเรียน วันที่ 3 กันยายน 2556
37
ขั้นแบ่งปัน (Share)
ภาพที่ 6.6 การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook แมงมุมชักใยสายใยนิเวศ
กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. ร่วมกับกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา
ภาพที่ 6.7 แต่งนิทานและสมุดเล่มเล็กไว้ให้อ่านในห้องสมุด
38
ภาพที่ 6.8 ภาพวาดแมงมุม (ผลงานนักเรียน)
39

More Related Content

What's hot

โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 

Viewers also liked

รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001suttidakamsing
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดJoy Jantima
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
แมงมุม
แมงมุมแมงมุม
แมงมุมicon753951
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
ข้อมูลสรุปประเมินการสอนของครูจตุรภัทร ประทุม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
ข้อมูลสรุปประเมินการสอนของครูจตุรภัทร ประทุม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555ข้อมูลสรุปประเมินการสอนของครูจตุรภัทร ประทุม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
ข้อมูลสรุปประเมินการสอนของครูจตุรภัทร ประทุม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555Jaturapad Pratoom
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์Taweesak Poochai
 
ตารางคำนวน งานระดับ
ตารางคำนวน งานระดับตารางคำนวน งานระดับ
ตารางคำนวน งานระดับKasetsart University
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานtitle_boy
 
บทที่1 บทนำ1
บทที่1 บทนำ1บทที่1 บทนำ1
บทที่1 บทนำ1Kampon Maleengam
 
โครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมโครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมprrimhuffy
 
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUpคู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร Wichitchai Buathong
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือsuchinmam
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 

Viewers also liked (20)

รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001ระบบนิเวศ001
ระบบนิเวศ001
 
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุดโครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
โครงงานศึกษาดินที่ปลูกพืชได้ดีที่สุด
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
แมงมุม
แมงมุมแมงมุม
แมงมุม
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
ข้อมูลสรุปประเมินการสอนของครูจตุรภัทร ประทุม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
ข้อมูลสรุปประเมินการสอนของครูจตุรภัทร ประทุม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555ข้อมูลสรุปประเมินการสอนของครูจตุรภัทร ประทุม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
ข้อมูลสรุปประเมินการสอนของครูจตุรภัทร ประทุม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
ตารางคำนวน งานระดับ
ตารางคำนวน งานระดับตารางคำนวน งานระดับ
ตารางคำนวน งานระดับ
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
บทที่1 บทนำ1
บทที่1 บทนำ1บทที่1 บทนำ1
บทที่1 บทนำ1
 
โครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรมโครงงานพฤติกรรม
โครงงานพฤติกรรม
 
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUpคู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
คู่มือการหารปริมาตรงานดินขุดและถมด้วยโปรแกรม SketchUp
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
 
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือชุดการสอนอเมริกาเหนือ
ชุดการสอนอเมริกาเหนือ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การศึกษาระบบนิเวศ111
การศึกษาระบบนิเวศ111 การศึกษาระบบนิเวศ111
การศึกษาระบบนิเวศ111
 
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
 

Similar to 1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว

โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดstampmin
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57Suriya Phongsiang
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57Suriya Phongsiang
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564PornpenInta
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)Nattayaporn Dokbua
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 

Similar to 1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว (20)

โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 

More from Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกดSircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อSircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือSircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอนSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1Sircom Smarnbua
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558Sircom Smarnbua
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม5 1 2558
 

1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว

  • 1. โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในการการประกวดแข่งขันกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจาปี 2557 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จังหวัดร้อยเอ็ด ณ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยาและโรงเรียนโพนทองวิทยายน วันที่ 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2557
  • 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง : ความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา (Diversity of Spiders in Srisomdetpimpattanawittaya School) โดย 1. เด็กหญิงณัฐชา บัวสิงห์ 2. นายสุธิพงษ์ สีลาโส 3. เด็กหญิงระพีพรรณ โทนะหงษา ครูที่ปรึกษา 1. นายศิริวุฒิ บัวสมาน 2. นางสาวพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสารวจ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในการการประกวดแข่งขันกิจกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจาปี 2557 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จังหวัดร้อยเอ็ด ณ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยาและโรงเรียนโพนทองวิทยายน วันที่ 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2557
  • 3. ชื่อโครงงาน ความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ผู้ทาโครงงาน เด็กหญิงณัฐชา บัวสิงห์, นายสุธิพงษ์ สีลาโส, เด็กหญิงระพีพรรณ โทนะหงษา ครูที่ปรึกษา นายศิริวุฒิ บัวสมาน, นางสาวพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม สาขา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ประเภทโครงงาน สารวจ ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2557 บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง “ความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความหลากหลายของแมงมุมและศึกษาความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในโรงเรียนศรี สมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สองบริเวณ คือ ป่าไผ่และป่าไม้ของโรงเรียน โดยวาง แปลงขนาด 40 x 40 เมตร บริเวณละ 2 แปลงโดยใช้กระบวนการนักสารวจ 4 ขั้นตอน คือ ขั้นค้นหา สารวจ อนุรักษ์และแบ่งปัน จากการสารวจ พบว่า พบแมงมุมทั้งสิ้น จานวน 44 ชนิด รวม 149 ตัว โดยบริเวณป่าไผ่ พบแมงมุม จานวน 7 ชนิด รวม 24 ตัว ได้แก่ แมงมุมนุ่งซิ่นหลากสี (Argiope versicolor),แมงมุมเขี้ยวใหญ่ลายประดับ (Leucauge decorate), แมงมุม Crossopriza lyoni , แมงมุมสองหาง วงศ์ Hersiliidae , แมงมุมเต็นท์แดง (Cyrtophora unicolor), แมงมุมกระโดด สกุล Rhene, แมงมุมสกุล Hippasa วงศ์ Lycosidae และพบที่ป่าไม้จานวน 44 ชนิด รวม 125 ตัว ชนิดที่พบมากที่สุด คือ แมงมุมใยทองลายขนาน (ย่างซี่น) (Nephila pilipes) โดยพบบริเวณป่าไม้มากกว่า บริเวณป่าไผ่ จาแนกแมงมุมได้2 กลุ่มตามวิธีการจับอาหารหรือการชักใย คือ กลุ่มที่ล่าเหยื่อโดยวิธีชักใยหรือ สร้างรังเป็นตาข่าย (จานวน 21 ชนิด) และกลุ่มที่ล่าเหยื่อโดยไม่ชักใย (จานวน 23 ชนิด) และพบว่า ลักษณะ การชักใยและรูปร่างตาข่ายใยแมงมุมจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละชนิด ในตาข่ายของเส้นใยมีทั้งเส้นใยที่ เหนียวและไม่เหนียวในรังเดียวกัน พบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในรูปแบบภาวะล่าเหยื่อ (Predation; +,-) ซึ่งเป็นทั้งผู้ล่า/ตัวห้า(predator) และเป็นผู้ถูกล่า/เหยื่อ (prey) โดยแมงมุมบางชนิดล่าทั้งแมงมุม และแมลงเป็นอาหาร ซึ่งมีประโยชน์ต่อเกษตรกร เพราะช่วยกาจัดแมลงศัตรูพืช จานวนและชนิดของแมงมุมพบ มากที่สุดที่ระดับความสูงปานกลาง ( 1-2 เมตร) และจานวนจะลดลงเมื่อความสูงเพิ่มมากขึ้นและจากการสารวจ ยังพบว่า ประชากรของแมงมุมในแต่ละช่วงมีจานวนแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับช่วงเวลาหรือฤดูกาล อุณหภูมิ ถิ่นที่ อยู่อาศัย และแมลงที่เป็นอาหาร พบแมลง 33ชนิด ถ้ามีแมลงอยู่มาก แมงมุมเพศเมียจะวางไข่จานวนมาก แมงมุม ก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีขนาดใหญ่ขึ้น แสดงว่า ความหลากหลายของชนิดแมงมุมสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ ความหลากหลายของแมลงได้และความหลากหลายของแมลงเป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายของชนิดพืชอาหาร ก
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง “ความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา” สาเร็จลุล่วง ได้ด้วยความกรุณา อย่างยิ่งจากครูศิริวุฒิ บัวสมาน และครูพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม ครูที่ปรึกษาโครงงาน ซึ่งได้ ให้คาปรึกษาอันเป็นแนวทางในการทาโครงงานและการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ปลูกฝังให้คณะผู้จัดทามี ความเพียรพยายามและรักการทางาน สนับสนุน ส่งเสริม ให้โอกาส ให้กาลังใจ และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ คณะผู้จัดทามาโดยตลอดและขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณท่านสุรศักดิ์ ศรีละมนตรี ผู้อานวยการโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ที่ให้ กาลังใจและสนับสนุนงบประมาณในการทาโครงงาน และขอขอบพระคุณ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ทุกท่าน ที่ให้กาลังใจและคาแนะนาที่ดีเสมอมา ขอขอบพระคุณ คุณพงศ์พัฒนา วิรวรรณนาวิน ที่ช่วยแนะนาเกี่ยวกับชื่อและข้อมูลแมงมุมผ่าน face book นักสารวจ ศ.พ.ว. อย่างสม่าเสมอ คุณพิสุทธิ์ เอกอานวย และคุณเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ ที่แนะนาหนังสือเกี่ยวกับแมลงชนิดต่างๆ ในประเทศไทย ขอขอบคุณ กลุ่มสาระน่ารู้จากแมลง ที่ให้ความรู้ เกี่ยวกับแมลงชนิดต่างๆ ขอขอบคุณผู้ดูแลระบบของเว็บไซต์ www.malaeng.com ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับแมลง ดีมาก และขอขอบคุณทุกท่านที่เกี่ยวข้องมา ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ คงมีประโยชน์หรือเป็นแนวทางในการศึกษาด้านแมงมุมใน ท้องถิ่นต่อไป และหวังว่าคงมีผู้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น คณะผู้จัดทา ข
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของโครงงาน 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 2 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3 2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแมงมุม 3 2.2 ประโยชน์ของใยแมงมุม 8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา 10 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือ 10 3.2 วิธีการศึกษา 11 บทที่ 4 ผลการศึกษา 16 4.1 ผลการศึกษา 16 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 30 5.1 สรุปผลการศึกษา 30 5.2 อภิปรายผล 30 5.3 ข้อเสนอแนะ 31 5.4 ประโยชน์ที่ได้รับ 31 บรรณานุกรม 32 ภาคผนวก 33-39 ค
  • 6. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน สถานการณ์ของโลกในปัจจุบันมีเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นและมี การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของ มนุษย์ และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศของโลก มนุษย์จาเป็นจะต้องมีการเตรียม ความพร้อมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งจะต้องมีการสร้างความตระหนักในการลด ความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ประเทศไทยเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เพราะอยู่ในเขตร้อนชื้น แต่ยังขาดการสารวจอย่างจริงจัง โดยเฉพาะความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูก สันหลัง ซึ่งแมงมุมเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่ยังขาดการสารวจและได้รับความสนใจน้อยมาก ทั้งที่แมงมุมมีบทบาท สาคัญทาหน้าที่เป็นผู้ล่าในระบบนิเวศ และยังเป็นอาหารสาหรับคนในบางท้องถิ่นของประเทศ ในประเทศ ไทยมีการคาดการณ์ว่าน่าจะพบแมงมุมประมาณ 6,000– 10,000 ชนิด ซึ่งในปัจจุบันเท่าที่มีรายงานพบเพียง 600-700 ชนิด เท่านั้น สะท้อนให้เห็นว่ายังมีแมงมุมอีกหลายชนิดที่ยังรอการค้นพบ (ประสิทธิ์ วงษ์พรม , 2555) จากการที่กลุ่มของพวกเราเดินเล่นในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัด ร้อยเอ็ด ระหว่างอาคารจะมีสวนหย่อมและต้นไม้ขึ้นอยู่มากมาย พวกเราสังเกตพบว่า มีแมลงหลายชนิดเกาะ กินใบไม้และอาศัยอยู่บนกิ่งไม้แต่มีสิ่งมีชีวิตพวกหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ คือ มีแปดขาและมีการทารังโดยชัก ใยสีขาวให้แมลงต่างๆ มาติดกับดักใยเพื่อเป็นอาหารของมัน สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะพิเศษนี้คือ “แมงมุม” (Spider) ซึ่งมีสิ่งที่พิเศษกว่าแมลง/แมงชนิดอื่นๆ ทาให้อยากเรียนรู้เกี่ยวกับแมงมุมและสิ่งมีชีวิตที่ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น กลุ่มของพวกเราจึงจึงสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของแมงมุมและความสัมพันธ์ของ แมงมุมในระบบนิเวศ ภายในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา วิทยา 1.2.2 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 1.2.3 เพื่อจัดทาฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ที่พบในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา วิทยา
  • 7. 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ระยะเวลาในการศึกษา : 7 เดือน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 31 มกราคม 2557 1.3.2 พื้นที่ดาเนินการสารวจ : สารวจเฉพาะในป่าไผ่ด้านทิศตะวันออกและป่าไม้ด้านทิศตะวันตก เฉียงใต้ของโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ตาบลศรีสมเด็จ อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด เท่านั้น 1.3.3 ช่วงเวลาในการสารวจ : สารวจเฉพาะช่วงเวลา 12.30 – 13.00 น. และ 15.30 – 16.30 น. 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.4.1 ได้เรียนรู้เทคนิคการสารวจความหลากหลายของแมงมุม 1.4.2 ได้ทราบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 1.4.3 ได้ฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 2
  • 8. บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยนาเสนอในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ โครงงาน ดังนี้ 2.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแมงมุม 2.1.1 ลักษณะทั่วไปของแมงมุม แมงมุมเป็นสิ่งมีชีวิตจาพวกสัตว์ขาข้อปล้อง (Arthropoda) จัดอยู่ในคลาสอะแรชนิดา (Class Arachnida) มีลักษณะสาคัญ คือ ลาตัวแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนอกรวมเป็นชิ้นเดียวกัน (cephalothorax) และส่วนท้องที่ไม่แบ่งเป็นปล้อง ด้านหน้าของส่วนท้องที่เชื่อมต่อกับส่วน cephalothorax มี ลักษณะเป็นก้านเล็กๆ เรียกว่า เพดดิเซิล (pedicel) มีขา 4 คู่ ไม่มีขากรรไกร ไม่มีหนวด หายใจโดยท่อลม หรือ แผงปอด (books lung) ปัจจุบันมีแมงมุมที่ถูกค้นพบแล้วประมาณ 40,000 ชนิด โดยแมงมุมสายพันธุ์ที่ สามารถผลิตเส้นใยที่มีคุณสมบัติพิเศษและแตกต่างจากเส้นใยที่สร้างจากหนอนไหม คือ แมงมุมที่มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า Araneus diadematus (garden cross-spider) พบมากในแถบยุโรปและอเมริกาเหนือ และ แมงมุม Nephila clavipes (golden orb-web spider) ที่มีเส้นใยเป็นสีเหลืองทองสวยงาม พบได้ในทวีป อเมริกา แมงมุมทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นแมงมุมใยกลม (orb-weaver spider) ซึ่งสร้างใยที่มีลักษณะคล้ายวงล้อ การสร้างเส้นใยของแมงมุมเกิดจากต่อมผลิตเส้นใย (silk gland) ทาหน้าที่ผลิตโปรตีนที่ใช้สร้างเส้น ใย เมื่อโปรตีนถูกหลั่งผ่าน spinnerets 1-3 คู่ ที่เชื่อมต่อกับ silk glands จะถูกเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไป เป็นของแข็ง หลังจากนั้นแมงมุมก็จะใช้ขาในการถักทอโปรตีนเหล่านี้ให้เป็นเส้นใยที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เป็น ใยแมงมุมที่เราเห็นนั่นเอง 3 ภาพที่ 1.1
  • 9. ต่อมผลิตเส้นใยของแมงมุม มีหลายต่อมซึ่งทาหน้าที่ผลิตเส้นใย โดยแต่ละต่อมจะผลิตเส้นใยที่มี คุณสมบัติต่างกันดังนี้ ต่อมผลิตเส้นใย Major Ampullate ผลิตเส้นใยที่เป็นโครงสร้างหลักของใยแมงมุม (dragline silk) ใช้สาหรับรับแรง เดินและ ปล่อยตัวจากที่สูง (dragline silk) มีความแข็งแรงและเหนียวมาก Flagelliform ผลิตเส้นใยที่ใช้สาหรับจับเหยื่อซึ่งมีความยืดหยุ่นสูงมาก (capture silk) ใช้ส่งสัญญาณเมื่อ เหยื่อติดกับ (signal line) Minor Ampullate เป็นเส้นใยชั่วคราวที่แมงมุมใช้เดินขณะกาลังทอใย (นั่งร้านชั่วคราวขณะก่อสร้าง) Piriform ผลิตเส้นใยสาหรับใช้ประสานกับจุดเชื่อมโยง เช่น กิ่งไม้ Cylindrical ผลิตเส้นใยตรงจุดศูนย์กลางวงล้อเพื่อใช้เฝ้ารอเหยื่อและผลิตเส้นใยสร้างรังชั้นนอก Aciniform ผลิตเส้นใยที่ใช้ห่อหุ้มไข่ ห่อหุ้มเหยื่อและสร้างรังชั้นใน Aggregate ผลิตเส้นใยที่มีความเหนียวเหมือนกาว (glue silk) Tubiliformes ผลิตเส้นใยที่ใช้สร้างรังไหมเพื่อปกป้ องไข่ (cocoon silk) ภาพที่ 1.2 4
  • 10. แมงมุมเป็นสิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในชั้น (Class) Arachnida ซึ่งแตกต่างกับแมลงซึ่งจัดอยู่ในชั้น Insecta ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงลักษณะเปรียบเทียบระหว่างแมงมุมกับแมลง ลักษณะ แมงมุม แมลง ส่วนหลักของร่างกาย 2 ส่วน คือ Cephalothoraxและ Abdomen โดยหัวและอกจะรวมเป็นส่วนเดียว 3 ส่วน คือ Head Thorax และ Abdomen หนวด ( Antennae ) ไม่มี มี ขา 4 คู่ 3 คู่ Pedipalps มีโดยจะพัฒนาไปเป็นอวัยวะที่ใช้ในการ ผสมพันธุ์ของตัวผู้ ไม่มี ส่วนที่ปล่อยพิษ ส่วนของรยางค์ปาก ( Chelicerae ) หากมีจะอยู่ส่วนปลายของ ท้อง ปีก ไม่มี ส่วนใหญ่มี ตา มีตาเดี่ยว ( Ocelli ) 6 หรือ 8 ตา ปกติมีตาประกอบ 1 คู่หรือ บางชนิด พบตาเดี่ยว 2 หรือ 3 ตา อวัยวะที่ใช้ในการสร้าง ใย แมงมุมทุกชนิดมีอวัยวะพิเศษที่ใช้ในการ สร้างใย (Spinneret) พบในระยะตัวอ่อนหรือ ในแมลงบางชนิด การย่อยอาหาร ย่อยโดยใช้เอมไซน์ก่อนที่จะมีการกลืนกิน โดยทั่วไปจะย่อยหลังกลืน การเจริญเติบโต ไม่มี Metamorphosis ตัวอ่อนคล้ายพ่อแม่ แมลงหลายชนิด มี Metamorphosis ในระยะตัวอ่อนและดักแด้ องค์ประกอบทางเคมีและโครงสร้างของเส้นใยแมงมุม องค์ประกอบทางเคมี เส้นใยแมงมุมเป็นเส้นใยโปรตีนธรรมชาติที่เรียกว่า สไปโดรอิน (Spidroin) ประกอบด้วยกรดอะมิ โนหลัก 2 ชนิด คือ ไกลซีน (Glycine) ร้อยละ 40 และอะลานีน (Alanine) ร้อยละ 25 อยู่ในรูปของโคพอลิ เมอร์ที่จัดแบบบล็อก (Block Copolymer) ในแต่ละบล็อกประกอบด้วย อะลานีนและไกลซีน 4-9 โมเลกุล สไปโดรอิน มี 2 ชนิด คือ สไปโดรอิน 1(Spidroin 1) ซึ่งเป็นบล็อกโคพอลิเมอร์ที่มีลาดับกรดอะมิโนอะ 5
  • 11. ลานีนมากกว่า (Alanine-rich) และสไปโดรอิน 2 (Spidroin 2) ซึ่งเป็นบล็อกโคพอลิเมอร์ที่มีลาดับกรดอะ มิโนไกลซีนมากกว่า (Glycine-rich) องค์ประกอบที่เหลือ คือ กรดอะมิโนชนิดอื่น ไกลโคโปรตีนเกลืออนิ นทรีย์สารประกอบซัลเฟอร์ และเอมีน ซึ่งปริมาณสารต่างๆเหล่านี้จะแตกต่างกันตามสายพันธุ์ของแมงมุม โครงสร้างของเส้นใยแมงมุม ลักษณะภาคตัดขวางของเส้นใยแมงมุมเป็นวงกลม ชั้นนอกสุดเป็นชั้นไขมัน ถัดเข้ามาเป็นชั้นไกลโค โปรตีน แกนกลางของเส้นใย คือ ส่วนของโปรตีนที่เรียกว่า สไปโดรอิน (Spidroin) ส่วนโครงสร้างโมเลกุล ของเส้นใยแมงมุมนั้นประกอบด้วยส่วนที่มีการจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบหรือส่วนที่เป็นผลึก (crystalline region) ที่เกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างC=O กับ N-H ของกรดอะมิโนระหว่างสายพอลิอะ ลานีนที่อยู่คู่กัน เกิดเป็นโครงสร้างแบบแผ่น เรียกว่า แผ่นพลีทบีต้า(β- pleatedsheet ) บริเวณที่เป็นผลึกเป็น ส่วนที่ทาให้เส้นใยมีความแข็งแรง ส่วนที่เหลือเป็นบริเวณของอสัณฐาน (amorphous region) ที่มีการจัดเรียง ตัวอย่างไม่เป็นระเบียบ เกิดจากการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่าง C=Oของกรดอะมิโนหนึ่งกับ N-H ของ กรดอะมิโนถัดไปอีก 4 หน่วยในสายพอลิไกลซีนเดียวกันเกิดโครงสร้างในลักษณะบิดเป็นเกลียวขดคล้าย สปริง เรียกว่า เกลียวแอลฟา (α-helix) โครงสร้างที่บิดเป็นเกลียวนี้ทาให้เส้นใยยืดหยุ่นได้เมื่อมีแรงมา กระทา จากโครงสร้างดังกล่าวทาให้เส้นใยแมงมุมมีจุดเด่นในด้านสมบัติเชิงกลทั้งในแง่ของความแข็งแรง และความยืดหยุ่น เส้นใยแมงมุมมีความแข็งแรง ความยืดหยุ่น และความเหนียวมากกว่าเส้นใยไหมซึ่งเป็นเส้นใย ธรรมชาติ และเส้นใยสังเคราะห์อย่างไนลอน และเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุอื่น เช่น เส้นใยคาร์บอนและเหล็ก พบว่า เส้นใยแมงมุมก็ยังมีความยืดหยุ่น และความเหนียวมากกว่าวัสดุเหล่านั้น จากจุดเด่นด้านสมบัติเชิงกล ของเส้นใยแมงมุม อาจจะเป็นแนวทางที่น่าสนใจในการนาเส้นใยแมงมุมมาประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ เช่น เสื้อเกราะกันกระสุนน้าหนักเบา เข็มขัดนิรภัย ร่มชูชีพ บรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ หรือ แม้แต่วัสดุทางการแพทย์(ไหมเย็บแผล เส้นเอ็นเทียม) เป็นต้น อย่างไรก็ตามเนื่องจากการผลิตเส้นใยแมงมุม ภาพที่ 1.3 6
  • 12. ให้ได้ปริมาณมากนั้นเป็นเรื่องยาก การนาแมงมุมมาเลี้ยงรวมกันในปริมาณมากทาให้แมงมุมกินกันเอง อีก ทั้งเส้นใยแมงมุมมีขนาดเล็กมาก เราต้องใช้แมงมุมถึง 400 ตัวในการผลิตผ้าขนาดหนึ่งตาราง หลา นอกจากนี้เส้นใยแมงมุมยังแข็งตัวเมื่อสัมผัสอากาศ จึงจาเป็นต้องอาศัยการพัฒนางานวิจัยเพื่อผลิตเส้น ใยแมงมุมเลียนแบบธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการสังเคราะห์โปรตีนเส้นใยแมงมุม หรือการตัดต่อยีนที่เกี่ยวกับ การสร้างเส้นใยของแมงมุมเข้าไว้ในรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น ตัวไหม เป็นต้น คาดว่าในไม่ช้าเรา อาจจะได้สวมใส่หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเส้นใยแมงมุมก็เป็นได้ 2.1.2 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม ร่างกายของแมงมุมประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก คือ Cephalothorax และ Abdomen โดยมีส่วนที่ เชื่อมทั้ง 2 ส่วนเข้าด้วยกันคือ Pedicell ดังภาพที่ แมงมุมแตกต่างจากแมลงที่มีร่างกายแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนแรกมีส่วนหัวและอกเชื่อมเป็น ส่วนเดียวกัน (cephalothorax) แยกออกจากส่วนที่สองคือส่วนท้อง (abdomen) อย่างชัดเจน มีเปลือกแข็ง (carapage) หุ้มอยู่ทั้งด้านบนและด้านล่าง เป็นที่ตั้งของตา ปาก มีเพดิพัลพ์ (pedipal) ยื่นยาวออกมา ด้านหน้าใช้สาหรับเขี่ยอาหารเข้าปาก แมงมุมบางชนิดมีเพดิพัลพ์ยาวจนคล้ายขาแต่ไม่ได้ทาหน้าที่เกาะ หรือเดิน มี เขี้ยวที่แหลมคมใช้กัดเหยื่อได้ มีขา 4 คู่ แต่ละขาเป็นข้อปล้องต่อๆ กัน ที่ปลายขามีเล็บเล็ก ภาพที่ 1.4 ลักษณะทางกายวิภาคของแมงมุม (ที่มา : http://www.siaminsectzoo.com) 7
  • 13. แหลม มันจะใช้น้ามันลื่น ๆ เคลือบเล็บนี้ไว้ ทาให้เดินไปมาบนใยแมงมุมเหนียวๆ ได้ ส่วนท้องไม่ได้ แบ่งเป็นปล้อง มีลักษณะเป็นถุงนิ่มๆ มีน้อยชนิดที่มีเปลือกแข็งหุ้ม ส่วนท้องในเพศเมียมีช่องเปิดของ ระบบหายใจ อวัยวะขับถ่าย และรยางค์ปล่อยเส้นใย อย่างไรก็ตามแมงมุมบางชนิดไม่สร้างเส้นใย เช่นแมง มุมบ้านสีน้าตาลมีขายาวที่อยู่ตามห้องน้าคอยจับแมลงสาบและสามง่ามกิน รยางค์ผลิตและปล่อยเส้นใย (spinneret) ของ แมงมุมอยู่ที่ปลายสุดของส่วนท้อง แมงมุมจะชักใยเพื่อ สร้างที่อยู่อันปลอดภัย และใช้จับเหยื่อนอกจากนี้ยังใช้ใยสร้างถุงใส่ไข่ของมันด้วย ที่ปากของแมงมุมมี เขี้ยวพิษ ใช้ป้ องกันตัวและฆ่าเหยื่อ ปากเล็กๆ ของแมงมุมใช้เคี้ยวเหยื่อไม่ได้ มันจะใช้เขี้ยวพิษฆ่าเหยื่อ หรือทาให้เป็นอัมพาต แล้วใช้ปากดูดของเหลวจากเหยื่อกินเป็นอาหาร เมื่อแมงมุมโตขึ้น มันจะสร้างรัง ของตัวเอง โดยแมงมุมต้นไม้จะปล่อยใยยึดไว้ตามกิ่งไม้ ใยแมงมุมมีหลายแบบ ทั้งแบบกลม สามเหลี่ยม และสี่เหลี่ยม ใยแมงมุมเป็นกับดัก เมื่อแมลงบินไปติดใยแมงมุมเหนียวๆ มันจะหนีไปไหนไม่ได้และถูก แมงมุมจับกินเป็นอาหาร 2.2 ประโยชน์ของใยแมงมุม เส้นใยที่เกิดจากธรรมชาติ ถือได้ว่าเป็นอีกวัตถุดิบที่มนุษย์นามาใช้ประโยชน์อย่างมากมาย มาตั้งแต่ ครั้งโบราณกาล ที่เราคุ้นเคยกันดีก็ คือ เส้นใยจากตัวไหม ที่นามาทาเสื้อผ้า ต่างๆ แต่รู็หรือไม่ว่า ยังมีเส้นใย อีกชนิดนึงที่มีคุณภาพมากๆ เช่นกัน ในการนามาใช้ประโยชน์ในชีวิต ประจาวันของเราได้ คือ เส้นใยจาก แมงมุมนั่นเอง ด้วยคุณสมบัติพิเศษของใยแมงมุมซึ่งแม้เป็นเส้นใยที่บางขนาดแค่ไมโครเมตรจน เกือบมอง ไม่เห็นแต่มีความเหนียว ทนทาน และยืดหยุ่นได้ดี ทาให้สามารถจับและยึดแมลงที่บินเข้ามาหาและติดตาม ผม ผิวหนัง และเสื้อผ้าของผู้ที่เดินเข้าไปหาโดยไม่ได้ตั้งใจ ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงสนใจศึกษาคุณสมบัติ พิเศษของใยแมงมุมเหล่านี้ 1. Ali Dhinojwala Vasav Sahni และ Todd A. Blackledge จากมหาวิทยาลัย Akron เมื่อ สองปีที่ผ่านมาได้ศึกษากลไกที่ทาให้ใยแมงมุมของแมงมุมที่ชักใยเป็นรูปวงล้อ (แมงมุม orb) สามารถ ยึดจับเหยื่อ โดยทดสอบหยดกาวขนาดเล็กที่อยู่ตามใยแมงมุมโดยใช้ตัวติดตาม (probe) แล้วพบว่าความ ยืดหยุ่นของไกลโคโปรตีนทาให้กาวสามารถยึดจับเหยื่อ และกาวมีคุณสมบัติเหมือนของแข็งที่เหนียวและ ยืดหดได้ซึ่งต่างจากของเหลวที่เหนียวและยืดหดได้ที่สูญเสียความยืดหยุ่นและความ สามารถในการยึดเกาะ เร็ว ต่อมาได้เปรียบเทียบผลของความชื้นที่มีต่อ คุณสมบัติของกาวของแมงมุม orb และแมงมุม cobweb (แมงมุมที่ชักใยเป็นรูปสามมิติอย่างไม่เป็นระเบียบ) แล้วพบว่าความยืดหยุ่นและการยึดจับของกาวของแมง มุม cobweb ค่อนข้างคงที่แม้ความชื้นเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่กาวของแมงมุม orb เปลี่ยนแปลงตาม ความชื้นอย่างมาก โดยกาวของแมงมุม orb ขยายตัวอย่างมากและสูญเสียความยืดหยุ่นเมื่อความชื้นเพิ่มขึ้น และยึดจับได้ ดีที่สุดที่ความชื้นระดับปานกลาง เมื่อต้นปีนี้ได้เลียนแบบกลวิธีการ สร้างใยแมงมุมของแมง มุม orb เพื่อผลิตเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งมีลักษณะและคุณสมบัติเหมือนเส้นใยตามธรรมชาติ โดยดึงเส้นใย 8
  • 14. ไนลอนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 ไมโครเมตร ตามแนวดิ่งจากสารละลาย polydimethylsiloxane (PDMS) แล้วเส้นใยเกิดเป็นหยดขนาดเล็ก และโดยการควบคุมความเหนียวและความตึงผิวของสารละลายและอัตรา การดึงเส้นใยจาก สารละลายทาให้สามารถกาหนดเส้นผ่านศูนย์กลางและระยะห่างของหยดขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังพบว่าลักษณะของกาวที่ติดอยู่ตามเส้นใยของใยแมงมุมของแมงมุม orb คล้ายลูกปัดในสร้อยคอ (a beads-on-a-string morphology) เพิ่มความสามารถในการยึดจับโดยการเพิ่มพื้นที่สัมผัสระหว่างแมลงและ กาว และยังเพิ่มพลังงานซึ่งใช้เพื่อปล่อยแมลงเป็นอิสระ ขณะนี้กาลังประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้ในการออกแบบสิ่งต่างๆ เช่น ผ้าพันแผลทนน้า สารกันรั่วใต้น้า 2. Frederick P. Gosselin จาก Polytechnique Montreal ตั้งใจ ศึกษาความเหนียวอย่างมากของใยแมง มุม ซึ่งบางส่วนถือว่าเป็นเพราะพันธะไฮโดรเจนระหว่างส่วนที่ขดของสายโปรตีนของ เส้นใย โดยก่อนหน้า นี้แสดงให้เห็นว่าการดึงเส้นใยเพิ่มความยาวโดยทาลายพันธะ ไฮโดรเจนและคลายจากการขดสายที่มี ลักษณะคล้ายสปริงขนาดนาโนเมตร ที่เพิ่งเริ่มพัฒนาคือ วิธีการเพื่อเลียนแบบขบวนการระดับโมเลกุลของ สายนั้นด้วยเส้นใยพอลิเมอร์ขด ซึ่งมองเห็นด้วยตาเปล่า ผลปรากฏว่าเส้นใยนั้นสามารถแสดงเหตุการณ์ คลายจากการขดแต่ความเหนียวของเส้น ใยยังไม่ได้ปรับให้เหมาะสม 3. Peggy Cebe David L. Kaplan Wenwen Huang และ Sreevidhya Krishnaji จากมหาวิทยาลัย Tufts สังเคราะห์ โคพอลิเมอร์ที่จัดแบบบล็อก (Block Copolymer) ที่บล็อกประกอบด้วยลาดับกรดอะมิโนที่ ส่วนใหญ่เป็นอะลานีนซึ่งพบในส่วนที่ทา ให้ใยแมงมุมของแมงมุม orb (Nephila clavipes) มีความทนทาน และความเหนียว และลาดับกรดอะมิโนที่ส่วนใหญ่เป็นไกลซีนซึ่งทาให้ใยแมงมุมมีความยืดหยุ่น และโดย การปรับส่วนประกอบของโคพอลิเมอร์นี้ทาให้สามารถสร้างวัสดุหลากหลาย ชนิด เช่น disordered films fibrils และ micelles 4. James S. Brook Eden Steven และคณะ จากมหาวิทยาลัย Florida State ทาให้ใยแมงมุมมี คุณสมบัตินาไฟฟ้าและประยุกต์ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้ า โดยมีความต้องการพัฒนาลวดขนาดเล็กและตัวเชื่อม ไฟฟ้าชนิดใหม่ 5. Xinwei Wang และคณะ จากมหาวิทยาลัย Iowa State รายงานเมื่อเร็วๆ นี้ว่าเส้นใยชนิด dragline ของแมงมุม N. clavipes เป็นตัวนาความร้อนที่ดีกว่าวัสดุส่วนใหญ่มาก โดยค้นพบว่าหลังจากเส้นใยถูกยืด ออกความสามารถในการนาความร้อนมีมากกว่าทอง แดง นอกจากนี้ยังค้นพบอีกว่าในทางตรงข้ามกับวัสดุ ส่วนใหญ่ความสามารถในการนาความ ร้อนของเส้นใยเพิ่มขึ้นภายหลังการทาให้ตึง 6. Shigeyoshi Osaki จากมหาวิทยาลัยการแพทย์Nara ประเทศญี่ปุ่น ทาสายไวโอลินที่ทาจากเส้นใย ของใยแมงมุมจานวนพันเส้นมาบิดเป็นเกลียวรวมกัน ซึ่งทาให้สายไวโอลินมีเสียงที่นุ่มและลึก ผลงาน ดังกล่าวเพิ่งเผยแพร่เร็วๆ นี้ในวารสาร Physical Review Letters (ที่มา http://kvamsook.com ) 9
  • 15. บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการศึกษา 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือ (ก) (ข) (ค) (ง) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (จ) (ฉ) ภาพที่ 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการสารวจ (ก) กล้องถ่ายรูป (ข) เข็มทิศ, (ค) ไม้บรรทัด, (ง) เทปวัด, (จ) สายวัด, (ฉ) แว่นขยาย 10
  • 16. 3.2 วิธีการศึกษา ดาเนินการสารวจ/ศึกษา โดยใช้กระบวนการของนักสารวจแห่งท้องทุ่ง 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่1 การค้นหา เดินค้นหาพื้นที่เป้ าหมายในการศึกษาโดยเดินสารวจหาพื้นที่ที่มีแมงมุม ภายในบริเวณพื้นที่ต่างๆ ของโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาโดยรอบ แล้วประชุมสมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเห็นเพื่อคัดเลือก พื้นที่เป้ าหมายที่เหมาะสมในการศึกษา (1 สัปดาห์) ขั้นที่2 การสารวจ ประชุมวางแผน กาหนดปัญหา กาหนดขอบเขตพื้นที่เป้ าหมาย แบ่งกลุ่มลงสารวจพื้นที่เป้ าหมาย ครูที่ปรึกษาอบรมสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับวิธีการสารวจความหลากหลายของแมงมุมและแมลงและสิ่งมีชีวิต อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สืบค้นข้อมูล ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บตัวอย่าง วิธีการถ่ายภาพ วิธีการสัมภาษณ์ การบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงาน การนาเสนอข้อมูล เป็นต้น จากนั้น ลงพื้นที่สารวจภาคสนามตามกาหนดการที่วางแผนไว้โดยสารวจเกี่ยวกับความหลากหลายของแมงมุมและ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เกี่ยงข้อง สัมภาษณ์ภูมิปัญญาชาวบ้านในการใช้ประโยชน์จากแมงมุม แล้วนาผลการสารวจ มาจัดกระทาข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและอภิปรายผล เขียนรายงานพร้อมเข้ารูปเล่มให้สวยงามและจัดทา สิ่งประดิษฐ์ (12 สัปดาห์) ระยะเวลาในการสารวจ 7 เดือน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2556 ถึง 31 มกราคม 2557 สารวจเฉพาะ ช่วงเวลา 12.30 – 13.00 น. และ 15.30 – 16.30 น. พื้นที่ดาเนินการสารวจ สารวจเฉพาะในป่าไผ่ด้านทิศ ตะวันออกและ ป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา ตาบลศรีสมเด็จ อาเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 11
  • 18. (ก) (ข) ภาพที่ 3.3 (ก)-(ข) พื้นที่ศึกษา 2 บริเวณ คือ ป่าไผ่ด้านทิศตะวันออกและป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ โรงเรียน โดยวางแปลงขนาด 40 x 40 เมตร บริเวณละ 2 แปลง 40x40 m2 40x40 m2 40x40 m2 40x40 m2 13
  • 19. ภาพที่ 3.4 สภาพป่าไผ่ด้านทิศตะวันออกของโรงเรียน ภาพที่ 3.5 สภาพป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียน 14
  • 20. ขั้นที่3 การอนุรักษ์ รณรงค์ให้เพื่อนนักเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน หน่วยงานของรัฐและเอกชนเห็นคุณค่าและ ความสาคัญของแมงมุมและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในระบบนิเวศ โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการช่วยกัน ปลูกต้นไม้ดูแลสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ โดยเชิญชวนให้มีการจัดสวนและจัดภูมิทัศน์ในโรงเรียนและชุมชนให้ สวยงาม ให้ความรู้เกี่ยวกับการไม่ตัดและทาลายต้นไม้ ติดป้ ายต้นไม้พูดได้เพื่อให้แนวคิดในการรักษาพืช/ ต้นไม้ที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของแมงมุม แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในสิ่งแวดล้อมและ ธรรมชาติ (3 สัปดาห์) ขั้นที่4 การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้จากการดาเนินโครงการฯ ให้กับเพื่อนๆ ครู-อาจารย์ ชุมชนหรือผู้ที่ สนใจ ในรูปแบบ ดังต่อไปนี้ - จัดนิทรรศการเกี่ยวกับความหลากหลายแมงมุม แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เกี่ยงข้อง - แลกเปลี่ยนประสบการณ์ผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. และพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา - การแต่งบทเพลงเกี่ยวกับแมงมุมและการอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้อันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่ง อาหารของแมงมุม แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ - จัดทาหนังสือการ์ตูนเล่มเล็กเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างแมงมุมกับแมลงในระบบนิเวศ - ประชาสัมพันธ์ประโยชน์ของแมงมุมและแมลงที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและด้านอื่นๆ ผ่าน วิทยุชุมชน (4 สัปดาห์) 15
  • 21. บทที่ 4 ผลการศึกษา 4.1 ผลการศึกษา จากการลงพื้นที่สารวจความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สองบริเวณ คือ ป่าไผ่และป่าไม้ของโรงเรียน โดยวางแปลงขนาด 40 x 40 เมตร บริเวณละ 2 แปลงโดยใช้กระบวนการนักสารวจ แห่งท้องทุ่ง พบว่า พบแมงมุมทั้งสิ้น จานวน 44 ชนิด รวม 149 ตัว โดยบริเวณป่าไผ่ พบแมงมุม จานวน 7 ชนิด รวม 24 ตัว และพบที่ป่าไม้จานวน 44 ชนิด รวม 125 ตัว ชนิดที่พบมากที่สุด คือ แมงมุมใยทองลายขนาน (ย่างซี่น) (Nephila pilipes) ดังแสดงในตารางที่ 4.1 โดยพบบริเวณป่าไม้มากกว่าบริเวณป่าไผ่ จาแนกแมงมุมได้เป็น 2 กลุ่ม ตามวิธีการจับอาหารหรือการชักใย คือ กลุ่มที่ล่าเหยื่อโดยวิธีชักใยหรือ สร้างรังเป็นตาข่ายเมื่อแมลงบินไปติดใยแมงมุมเหนียวๆ จะไปไหนไม่ได้และถูกจับกินเป็นอาหารและกลุ่มที่ล่า เหยื่อโดยไม่ชักใย จะล่าเหยื่อโดยเคลื่อนที่ไปรอบๆ เพื่อค้นหาเหยื่อ จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการชักใยและรูปร่างตาข่ายใยแมงมุมจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละชนิด ในตาข่ายของเส้นใยมีทั้งเส้นใยที่เหนียวและไม่เหนียวในรังเดียวกัน จานวนและชนิดของแมงมุมพบมากที่สุดที่ระดับความสูงปานกลาง ( 1-2 เมตร) และจานวนจะลดลง เมื่อความสูงเพิ่มมากขึ้นและจากการสารวจยังพบว่า ประชากรของแมงมุมในแต่ละช่วงมีจานวนแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาหรือฤดูกาล อุณหภูมิ ถิ่นที่อยู่อาศัย และแมลงที่เป็นอาหาร พบแมลง 33ชนิด ได้แก่ มดน้าผึ้ง มดแดง ตั๊กแตนตาข้าว ตั๊กแตนฝ้าย ด้วงดอกรักสีน้าเงิน ผีเสื้อหนอน มะพร้าว แมลงปอบ้านไร่ แมลงวันเลียนต่อ แมลงช้างหนวดสั้น จักจั่นงวงแดง มวนสิง แมลงค่อมทอง ผีเสื้อ กลางคืน มวนพิฆาต มวนลาไย เพลี้ยไก่แจ้ ตั๊กแตนหนวดยาว แมลงวันหัวบุบ ผีเสื้อเชิงลายธรรมดา มวน ตองแตก แมลงนูนเขียวธรรมดา แมลงปอเข็ม ตั๊กแตนกิ่งไม้ ผีเสื้อหนอนใบรักธรรมดา ผีเสื้อหางติ่ง ผีเสื้อเณร แมลงหวี่ ผีเสื้อถุงทองธรรมดา ตั๊กแตนขาลายแข้งแดง แมลงปอเข็มหางแต้มหน้าส้ม มวนนักกล้าม จิ้งหรีด และ กิ้งกือ ถ้ามีแมลงอยู่มาก แมงมุมเพศเมียจะวางไข่จานวนมาก แมงมุมก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีขนาดใหญ่ ขึ้น แสดงว่า ความหลากหลายของชนิด แมงมุมสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายของแมลงได้ และ ความหลากหลายของแมลงเป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายของชนิดพืชอาหาร 16
  • 22. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น/ชื่อ วิทยาศาสตร์ ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 1 แมงมุมใยทอง ลายขนาน(ย่าง ซี่น) Nephila pilipes - 12  - ใยขนาด ใหญ่สิ่งที่ติด ใย เช่น มวน สิง ด้วง ตั๊กแตนตา ข้าว ต้นนนทรี 2.50 ชาวบ้าน นิยมรับ ประ ทาน 2 แมงมุมนุ่งซิ่น หลากสี Argiope versicolor 3 8  - ใยตรงกลาง มีสี่แฉก ยุง แมลงวัน ไผ่ มะขาม 1-2 รับประ ทานได้ 3 แมงมุมหลัง หนามเหลืองจุด ดา Gasteracantra hasselti - 2  - ใยไม่ค่อย เป็นตาข่าย นัก ต้นไผ่ใน ป่าไม้และ ต้นกระถิน 1-2.5 - 4 แมงมุมปูขาว Thomisus spectabilis - 1 -  - ต้นข่อย 1 - 5 แมงมุมเขี้ยว ใหญ่ไข่มุก Opadometa fastigata - 1  - ใยมีลักษณะ เป็นเส้น มากกว่าตา ข่าย มะขามเทศ 2-3 - 17
  • 23. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 6 แมงมุมเขี้ยว ใหญ่ลาย ประดับ Leucauge decorata 5 7  - ตาข่ายถี่ กอไผ่ ข่อย 0.5-1 - 7 Argyrodes flavescens - 7  - - มักพบ อาศัยอยู่ บนใยของ แมงมุม วงศ์ Nephilidae 1-2 - 8 Cosmophasis umbratica - 2 -  - ข่อย 0-1 - 9 Crossopriza lyoni 1 4  - ใยยุ่งๆ เส้น เล็กๆ ชอบอยู่ตาม บ้านเรือน 0.5-2 - 10 กลุ่มหลังหนาม Gasteracantha kuhlii - 7  - ใยเป็นแฉก/ รัศมี กระถิน ขี้เหล็ก 1-2 - 18
  • 24. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 11 Gea spinpes - 7  - - ใบข่อย 0.5 เป็นเครือ ญาติกับ นุ่งซิ่น 12 แมงมุมสอง หาง พวก Hersiliidae 3 3 -  - หลบตาม เปลือก ต้นไม้ ขี้เหล็ก 1-3 - 13 Hyllus diardi - 5 -  - ใบข่อย 0.2-1 - 14 Lynx spider Oxyopes sp. - 3 -  - เฟื่องฟ้า กระถิน ข่อย 0.5-1 - 15 แมงมุมเลียนมด แดง Myrmarachne plantaleoides - 5 -  - เปลือก ต้นไม้ ยูคาลิปตัส มะขามเทศ 1-2 - 19
  • 25. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 16 Oxyopes javanus - 3 -  - ใบข่อย กระถิน 0.2-1 - 17 Parawixia dehaani - 5  - ใช้ใยห่อ ใบไม้ นอนนิ่ง โดยใช้ ใบไม้แห้ง ห่อตัวใช้ ใยยึด 0.5-1 - 18 แมงมุมเต็นท์ แดง Cyrtophora unicolor 1 2 -  - นอนนิ่ง โดยใช้ ใบไม้แห้ง ห่อตัว 0.5-1 - 19 Telamonia dimidiata - 4 -  - กิ่งไม้เล็กๆ เช่น กระถิน ข่อย 0.5-1 - 20 สกุล Marpissa - 2 -  - เปลือก ต้นไม้ ตะเคียน 0.5-1 - 20
  • 26. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 21 สกุล Olios - 1 -  - ใต้ใบข่อย 0.2-0.5 - 22 แมงมุม กระโดด วงศ์ Salticidae - 1 -  - ใบกระถิน 0.5-1 - 23 สกุล Neoscona - 1 -  - ใบอินทนิล 0.5-1 - 24 แมงมุมนุ่งซิ่น หลังเงิน Argiope catenulata - 1  - ตรงกลางใย มีสีขาวสี่ แฉก - 1-2 - 25 แมงมุม วงศ์ Clubionidae - 1  - ใยยุ่งไม่เป็น ระเบียบ ต้น สาบเสือ 0.5-1 - 21
  • 27. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 26 แมงมุม สกุล Scytodes - 1 -  - ใบชงโค 0.5-1 - 27 แมงมุม กระโดด Plexippus petersi - 1 -  - พบได้ บ่อยๆ ตาม บ้านเรือน 2-3 เพศผู้ 28 แมงมุม กระโดด สกุล Cosmophasis - 1 -  - ใต้ใบข่อย 2-3 เพศผู้ 29 แมงมุม กระโดด สกุล Rhene 1 1 -  - ใบไผ่ 1-2 - 30 แมงมุมปู น่าจะ เป็นสกุล Thomisus - 2 -  - บนใบไม้ แห้งบน พื้นดิน 0-1 - 22
  • 28. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 31 แมงมุมปูเลียน มดแดง Amyciaea lineatipes - 2 -  - กิ่งไม้ กระถิน 0-1 - 32 แมงมุมใยกลม Eriovixia laglaisei - 1  - - กิ่งไม้ 0.5-1 - 33 แมงมุมใยเต็นท์ Cyrtophora moluccensis - 1  - ใยเป็นตาข่าย ขนาดใหญ่ ยางนา 2-3 - 34 แมงมุมใยเต็นท์ สกุล Cyrtophora - 3  - ใยยุ่งขนาด เล็ก ตอไม้ 0-0.5 - 35 แมงมุมสกุล Achaearanea - 2  - ใช้ใยห่อ ใบไม้เพื่อห่อ ตัวทาเป็นรัง ข่อย 2-3 - 23
  • 29. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 36 แมงมุมสกุล Chrysso - 2  - ใยขนาดเล็ก ข่อย 1-2 - 37 แมงมุมสกุล Hippasa วงศ์ Lycosidae 10 4  - ใยเส้นเล็ก ทารังเป็นท่อ ติดพื้นดิน คล้ายพวกบึ้ง กอไผ่ 1-2 - 38 แมงมุมสกุล Storenomorpha - 2 -  - กิ่งไม้/ใบไม้ 0.5-1 - 39 แมงมุมสกุล Tetragnatha - 1 -  - ใบกระถิน 0.5-1 - 40 แมงมุมสะสม ขยะ Cyclosa insulana - 1  - ใยเส้นเล็กมี ลักษณะยุ่งมี ซากแมลง และพืชเกาะ เต็มรัง ข่อย 1-2 - 41 วงศ์ Sparassidae อาจเป็นสกุล Heteropoda - 1 -  - เศษผ้าในป่า 0.5 - 24
  • 30. ตางรางที่ 4.1 แมงมุมที่สารวจพบในพื้นที่ศึกษา (ต่อ) ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 42 สกุล Argiope - 2  - ใยเป็นตาข่าย รูปแบบ เฉพาะตัว ต้นตะเคียน 0.5-1 - 43 สกุล Argiope ที่ยังระบุชนิด ไม่ได้ - 1  - ใยเป็นตาข่าย ที่มีระเบียบ มาก ต้นข่อย 1-2 - 44 สกุล Eurychoera - 1 -  - บนพื้นดิน 0-0.5 - รวม 44 ชนิด - 24 ตัว 7 ชนิด 125 44 ชนิด 21 23 - - 1-2 - ป่าไผ่ สารวจพบแมงมุม 7 ชนิด รวม 24 ตัว ได้แก่ แมงมุมนุ่งซิ่นหลากสี (Argiope versicolor), แมงมุมเขี้ยวใหญ่ลายประดับ (Leucauge decorate), แมงมุม Crossopriza lyoni , แมงมุมสองหาง พวก Hersiliidae , แมงมุมเต็นท์แดง (Cyrtophora unicolor), แมงมุมกระโดด สกุล Rhene, แมงมุมสกุล Hippasa วงศ์ Lycosidae ป่าไม้ สารวจพบแมงมุม 44 ชนิด รวม 125 ตัว ดังตารางข้างต้น 25
  • 31. ภาพที่ 4.2 สายใยอาหาร (Food Web) ของแมงมุมในระบบนิเวศ พบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในรูปแบบภาวะล่าเหยื่อ (Predation; +,-) ซึ่งเป็นทั้งผู้ล่า/ตัว ห้า(predator) และเป็นผู้ถูกล่า/เหยื่อ (prey) โดยแมงมุมบางชนิดล่าทั้งแมงมุมและแมลงเป็นอาหาร ซึ่งมี ประโยชน์ต่อเกษตรกร เพราะ ช่วยกาจัดแมลงศัตรูพืชที่อยู่ในแปลงผัก ผลไม้และนาข้าว 26
  • 33. (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) ภาพที่ 4.4 ตัวอย่างแมลงและแมงที่พบในป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนา วิทยา (ก) ตั๊กแตนสีน้าตาล, (ข) กระสุนพระอินทร์, (ค) กิ้งกือ, (ง) ตั๊กแตนขาลายแข้งแดง (จ) แมลงวัน ชนิดหนึ่ง, (ฉ) ตัวอ่อนตั๊กแตนตาข้าว 28
  • 34. (ช) (ซ) (ฎ) (ฏ) (ฐ) (ฑ) ภาพที่ 4.4 (ต่อ) (ช) ตั๊กแตนหนวดยาว, (ซ) มวนนักกล้าม, (ฎ) ด้วงดอกรักสีน้าเงิน, (ฏ) จิ้งหรีด (ฐ) ตัวอ่อนตั๊กแตนตาข้าว , (ฑ) ตัวเต็มวัยตั๊กแตนตาข้าว 29
  • 35. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา จากการลงพื้นที่สารวจความหลากหลายของแมงมุมในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอ ศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สองบริเวณ คือ ป่าไผ่และป่าไม้ของโรงเรียน โดยวางแปลงขนาด 40 x 40 เมตร บริเวณละ 2 แปลงโดยใช้กระบวนการนักสารวจ แห่งท้องทุ่ง พบแมงมุมทั้งสิ้น จานวน 44 ชนิด รวม 149 ตัว โดยบริเวณป่าไผ่ พบแมงมุม จานวน 7 ชนิด รวม 24 ตัว ได้แก่ แมงมุมนุ่งซิ่นหลากสี (Argiope versicolor),แมงมุมเขี้ยวใหญ่ลายประดับ (Leucauge decorate), แมงมุม Crossopriza lyoni , แมงมุมสองหาง วงศ์ Hersiliidae , แมงมุมเต็นท์แดง (Cyrtophora unicolor), แมงมุมกระโดด สกุล Rhene, แมงมุมสกุล Hippasa วงศ์ Lycosidae และพบที่ป่าไม้จานวน 44 ชนิด รวม 125 ตัว ชนิดที่พบมากที่สุด คือ แมงมุมใยทองลายขนาน (ย่างซี่น) (Nephila pilipes) โดยพบบริเวณป่าไม้ มากกว่าบริเวณป่าไผ่ จาแนกแมงมุมได้เป็น 2 กลุ่ม ตามวิธีการจับอาหารหรือการชักใย คือ กลุ่มที่ล่าเหยื่อโดย วิธีชักใยหรือสร้างรังเป็นตาข่ายเมื่อแมลงบินไปติดใยแมงมุมเหนียวๆ จะไปไหนไม่ได้และถูกจับกินเป็นอาหาร และกลุ่มที่ล่าเหยื่อโดยไม่ชักใย จะล่าเหยื่อโดยเคลื่อนที่ไปรอบๆ เพื่อค้นหาเหยื่อ จากการศึกษาพบว่า ลักษณะ การชักใยและรูปร่างตาข่ายใยแมงมุมจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละชนิด ในตาข่ายของเส้นใยมีทั้งเส้นใยที่ เหนียวและไม่เหนียวในรังเดียวกัน 5.2 อภิปรายผล จากการสารวจ พบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในรูปแบบภาวะล่าเหยื่อ (Predation; +,-) ซึ่ง เป็นทั้งผู้ล่า/ตัวห้า(predator) และเป็นผู้ถูกล่า/เหยื่อ (prey) โดยแมงมุมบางชนิดล่าทั้งแมงมุมและแมลงเป็น อาหาร ซึ่งมีประโยชน์ต่อเกษตรกร เพราะ ช่วยกาจัดแมลงศัตรูพืชที่อยู่ในแปลงผัก ผลไม้และนาข้าว จานวนและชนิดของแมงมุมพบมากที่สุดที่ระดับความสูงปานกลาง ( 1-2 เมตร) และจานวนจะลดลง เมื่อความสูงเพิ่มมากขึ้นและจากการสารวจยังพบว่า ประชากรของแมงมุมในแต่ละช่วงมีจานวนแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาหรือฤดูกาล อุณหภูมิ ถิ่นที่อยู่อาศัย และแมลงที่เป็นอาหาร พบแมลง 33ชนิด ได้แก่ มดน้าผึ้ง มดแดง ตั๊กแตนตาข้าว ตั๊กแตนฝ้าย ด้วงดอกรักสีน้าเงิน ผีเสื้อหนอน มะพร้าว แมลงปอบ้านไร่ แมลงวันเลียนต่อ แมลงช้างหนวดสั้น จักจั่นงวงแดง มวนสิง แมลงค่อมทอง ผีเสื้อ กลางคืน มวนพิฆาต มวนลาไย เพลี้ยไก่แจ้ ตั๊กแตนหนวดยาว แมลงวันหัวบุบ ผีเสื้อเชิงลายธรรมดา มวน 30
  • 36. ตองแตก แมลงนูนเขียวธรรมดา แมลงปอเข็ม ตั๊กแตนกิ่งไม้ ผีเสื้อหนอนใบรักธรรมดา ผีเสื้อหางติ่ง ผีเสื้อเณร แมลงหวี่ ผีเสื้อถุงทองธรรมดา ตั๊กแตนขาลายแข้งแดง แมลงปอเข็มหางแต้มหน้าส้ม มวนนักกล้าม จิ้งหรีด และ กิ้งกือ ถ้ามีแมลงอยู่มาก แมงมุมเพศเมียจะวางไข่จานวนมาก แมงมุมก็จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีขนาดใหญ่ ขึ้น แสดงว่า ความหลากหลายของชนิด แมงมุมสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ความหลากหลายของแมลงได้ และความหลากหลายของแมลงเป็นตัว บ่งชี้ความหลากหลายของชนิดพืชอาหาร 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ควรมีการสารวจแมงมุมในสถานที่อื่นๆ ด้วย จะได้ทราบถึงความแตกต่างของจานวนและชนิด แมงมุมในแต่ละระบบนิเวศ 5.3.2 ควรมีการศึกษาโดยมีการเก็บตัวอย่างแมงมุมด้วย จะทาให้ศึกษารายละเอียดทางอนุกรมวิธานได้ 5.4 ประโยชน์ที่ได้รับ 5.4.1 ได้เรียนรู้เทคนิคการสารวจความหลากหลายของแมงมุม 5.4.2 ได้ทราบความสัมพันธ์ของแมงมุมในระบบนิเวศในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 5.4.3 ได้ฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 31
  • 37. บรรณานุกรม เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. หนังสือชุดสังเกตธรรมชาติ ผีเสื้อ. กรุงเทพฯ: สารคดี, 2540. 149 หน้า. ___________. Photographic guide to Moths in Thailand. สมุทรปราการ: BNEC., 2555. 64 หน้า. เกรียงไกร สุวรรณภักดิ์ และจารุจินต์ นภีตะภัฏ. คู่มือแมลง. กรุงเทพฯ: สารคดี, 2551. 224 หน้า. จารุจินต์ นภีตะภัฏ และเกรียงไกร สุวรรณภักดิ์. คู่มือดูผีเสื้อในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์วนา, 2544. 320 หน้า. นิดดา หงส์วิวัฒน์. ผีเสื้อแสนสวย. กรุงเทพฯ: คติ, 2554. 176 หน้า. พริมา ยนตรรักษ์. แมลงกินได้. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์, 2556, 160 หน้า. พิสุทธิ์ เอกอานวย. ตั๊กแตนกิ่งไม้. กรุงเทพฯ: บริษัท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า. ___________.ตั๊กแตนต่างๆ. กรุงเทพฯ: บริษัท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า. ___________.ตั๊กแตนตาข้าว. กรุงเทพฯ: บริษัท พลัสเพรส จากัด, 2556, 40 หน้า. ___________.ผีเสื้อกลางวัน. กรุงเทพฯ: สายธุรกิจโรงพิมพ์, 2552, 32 หน้า. ___________.แมลงปอ. กรุงเทพฯ: สายธุรกิจโรงพิมพ์, 2552, 32 หน้า. ___________.โรคและแมลงศัตรูพืชที่สาคัญ. กรุงเทพฯ: สายธุรกิจโรงพิมพ์, 2553(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม), 591 หน้า. ราชบัณฑิตยสถาน. ศัพท์พฤกษศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2541. 366 หน้า. ___________. อนุกรมวิธานพืช อักษร ก. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์, 2546, 523 หน้า. ___________. อนุกรมวิธานพืช อักษร ข. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์, 2547, 263 หน้า. สัมฤทธิ์ พุ่มสุวรรณ และคณะ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 7. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์, 2555, 192 หน้า. สานักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้กรมป่าไม้.คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองของชุมชนด้านความ หลากหลายทางชีวภาพ “ด้านแมลง”.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2553. ********************* 32
  • 39. แบบบันทึกการสารวจแมงมุมและแมลงในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา วันที่สารวจ…………………………………เวลา……………………สถานที่/พื้นที่…………………………….. สภาพป่า…………………………………… ผู้สารวจ……………………………………………………………………………………………………………. ที่ ชื่อ/วงศ์/สกุล/ กลุ่ม/ชื่อ ท้องถิ่น ภาพถ่าย จานวนที่พบใน พื้นที่สารวจ (ตัว) การชักใย ลักษณะใย (ถ้ามี)/ สิ่งที่ติดใย (ถ้ามี) สิ่งยึด เกาะ/ ต้นไม้ที่ อยู่ ความ สูงจาก พื้นดิน (เมตร) หมาย เหตุ ป่ าไผ่ ป่ าไม้ พบ ไม่พบ 1 2 3 4 5 34
  • 40. ภาพประกอบโครงงาน ภาพที่ 6.1 ลงพื้นที่สารวจแมงมุมและแมลงที่เกี่ยวข้องที่ป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียน ภาพที่ 6.2 ลงพื้นที่สารวจแมงมุมและแมลงที่เกี่ยวข้องที่ป่าไม้ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโรงเรียน 35
  • 42. ขั้นอนุรักษ์ (Conserve) ภาพที่ 6.4 นาป้ ายอนุรักษ์ที่อยู่ของแมงมุมและแมลงไปติดที่ต้นไม้รอบๆ บริเวณที่ศึกษา ภาพที่ 6.5 เชิญชวนคณะครูและนักเรียนร่วมกันปลูกต้นไม้ในป่าและรอบๆโรงเรียน วันที่ 3 กันยายน 2556 37
  • 43. ขั้นแบ่งปัน (Share) ภาพที่ 6.6 การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook แมงมุมชักใยสายใยนิเวศ กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. ร่วมกับกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา ภาพที่ 6.7 แต่งนิทานและสมุดเล่มเล็กไว้ให้อ่านในห้องสมุด 38
  • 44. ภาพที่ 6.8 ภาพวาดแมงมุม (ผลงานนักเรียน) 39