SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
บทที่ 1
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
รายวิชาชีววิทยา 2 (ว32242)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย (homeostasis) เป็นคุณสมบัติที่สาคัญของสิ่งมีชีวิต
ดูแลโดยระบบต่างๆ ได้แก่
- ระบบหายใจ - ระบบลาเลียง
- ระบบขับถ่าย - ระบบนาเหลือง
- ระบบภูมิคุ้มกัน
1. ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
o อะมีบา พารามีเซียม
o เซลล์จะสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่เป็นนาตลอดเวลา
o มีการแลกเปลี่ยนแก๊สกับสิ่งแวดล้อมโดยการผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
สัตว์หลายเซลล์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในน้า
o ฟองนา ไฮดรา และหนอนตัวแบน
o เซลล์แต่ละเซลล์แลกเปลี่ยนแก๊สผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง
ไส้เดือนดิน
o ยังไม่มีโครงสร้างที่ทาหน้าที่เฉพาะในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
o มีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยเซลล์ที่อยู่บริเวณผิวหนังของลาตัวที่เปียกชืน
แมลง
o อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สอยู่ภายในร่างกาย
o ประกอบด้วยท่อลม (trachea) ซึ่งแตกแขนง
เป็นท่อลมฝอย (tracheole)ขนาดเล็กแทรกตาม
ส่วนต่างๆ ของร่างกายและไปสินสุดที่เนือเยื่อ
แมงมุม
 ไม่มีท่อลมแทรกตามเนือเยื่อ
 มีโครงสร้างที่เรียกว่า ปอดแผง (book lung)มีลักษณะ
เป็นท่อลมซ้อนเป็นพับไปมาคล้ายแผง มีหลอดเลือดนา
คาร์บอนไดออกไซด์ มาแลกเปลี่ยนที่แผงท่อลมนี แล้วรับ
ออกซิเจน
 ในนามีออกซิเจนเพียงร้อยละ 0.5
 สัตว์นามีเนือเยื่อของอวัยวะที่มากพอสาหรับ
การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 เหงือกปลา และกุ้งมีลักษณะเป็นซี่ๆ เรียงกัน
เป็นแผง
สัตว์น้า
นก
 นกมีถุงลม 9 ถุง เชื่อมต่อกับปอดเพื่อสารองอากาศไว้ใช้ขณะบิน
สัตว์เลื้ยงลูกด้วยนม
 มีปอดเป็นโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สอยู่ภายในร่างกาย
การสูดลมหายใจเข้า-ออก
ปริมาตรของอากาศในปอด
การแลกเปลี่ยนแก๊ส
ความหนาแน่นของ O2 และ CO2
การควบคุมการหายใจ
กลไกควบคุมการหายใจจะเกี่ยวข้องกับ
ระบบประสาทโดยมีการควบคุม 2 ส่วน คือ
1. การควบคุมแบบอัตโนมัติ
 ไม่สามารถบังคับได้
 สมองส่วนพอนส์ และเมดัลลาเป็นตัวสร้าง
และส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นกล้ามเนื้อ
ที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
2.การควบคุมภายใต้อานาจจิตใจ
 สามารถบังคับได้
 ใช้สมองส่วนหน้าที่เรียกว่า ซีรีบรัลคอร์เทกซ์ ไฮโพทาลามัส
และสมองส่วนหลังที่เรียกว่าซีรีเบลลัม
 ใช้ควบคุมการหายใจให้เหมาะสมกับพฤติกรรมต่างๆ ของร่างกาย
การวัดอัตราการหายใจ
ปริมาณ CO2 และ O2 สามารถบอกอัตรา metabolism ของคนได้ คนจะมี CO2 สูง และ O2 ต่า
เมื่อมี metabolism สูง ซึ่งอาจเกิดจากการออกกาลังกาย หรืออยู่นที่ที่อุณหภูมิต่า ปริมาณ CO2 ที่
สูงขึนจะไปกระตุ้นศูนย์ควบคุมให้หายใจถี่ขึนโดยอัตวัติ
ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับปอด และโรคของระบบทางเดินหายใจ
 โรคปอดบวม (pneumonia) เกิดจากการอักเสบและติดเชือแบคทีเรีย
หรือไวรัส ทาให้พืนที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง
 โรคถุงลมโป่งพอง (emphysema) เกิดจากการสูดแก๊สพิษ ทาให้ถุงลม
ขาดความยืดหยุ่น ขาดง่าย ทาให้พืนที่ผิวแลกเปลี่ยนลดลง
สะอึก เกิดจากการที่กล้ามเนือยึดซี่โครงและกล้ามเนือกระบังลมทางานไม่สัมพันธ์กัน
หาว เป็นการไล่ CO2 ที่มีมากในเลือดให้ออกไป
2. ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 ของเสียที่เกิดจากเมแทบอลิซึมจะแพร่ผ่านเยื่อ
หุ้มเซลล์ออกสู่สิ่งแวดล้อม
 พารามีเซียมและอะมีบาจะมีออร์แกเนลล์
เรียกว่า contractile vacuole ช่วยรักษาสมดุล
ของนาและแร่ธาตุในเซลล์
การขับถ่ายของสัตว์
ฟองน้าและไฮดรา
• ของเสียพวกแอมโมเนียถูกขับออกโดย
การแพร่สู่สภาพแวดล้อม
หนอนตัวแบน • พลานาเรีย มีเฟลมเซลล์ (flame cell) ช่วยกาจัดของเสีย
• ขับแอมโมเนียออกทางท่อขับถ่ายและทางผิวหนังได้
ไส้เดือนดิน
• มีอวัยวะ เรียกว่า nephridium ปล้องละ 1 คู่ มีปลายเปิดสองข้าง
• ปลายของเนฟริเดียมข้างหนึ่งอยู่ในช่องของลาตัว มีลักษณะ
เหมือนปากแตร เรียกว่า nephrostome รับของเหลวจากช่อง
ลาตัว อีกข้างเป็นช่องเปิดออกสู่ภายนอกผิวหนัง
• ขับถ่ายของเสียพวกแอมโมเนียและยูเรีย และดูดนาและแร่ธาตุบาง
ชนิดกลับสู่เลือด
การขับถ่ายของแมลง
• อวัยวะขับถ่ายเรียกว่า “ท่อมัลพิเกียน”
• ของเสียถูกลาเลียงเข้าสู่ท่อมัลพิเกียนไปยังทางเดินอาหาร
• ของเสียพวกสารประกอบไนโตรเจนจะเปลี่ยนเป็นผลึก
กรดยูเรีย ขับออกมาพร้อมกากอาหาร
การขับถ่ายของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
• มีไต (kidney) เป็นอวัยวะขับถ่าย
• ไต ทาหน้าที่กาจัดของเสียและรักษาสมดุลของนาและแร่ธาตุ
โดยทางานร่วมกับระบบหมุนเวียนเลือด
• นกและสัตว์เลือยคลานขับของเสียในรูป กรดยูริก
• อุจจาระของจิงจกมีสีขาวและสีดา สีดาเป็นกากอาหาร
ที่ย่อยไม่ได้ ส่วนสีขาวเป็น กรดยูริก
• สัตว์เลียงลูกด้วยนม และสัตว์สะเทินนาสะเทินบก
ฉลาม และปลากระดูกแข็งบางชนิดขับถ่ายของเสียในรูปของ ยูเรีย
การขับถ่ายของคน
โครงสร้างของไต
การดูดกลับของสารที่ท่อหน่วยไต
กลไกการรักษาสมดุลของน้าและสารต่างๆ
ความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต
โรคนิ่ว
 เกิดจากการที่ตะกอนของแร่ธาตุต่างๆ รวมตัวกันเป็นก้อนอุดตามทางเดินปัสสาวะ
 หรือเกิดจากร่างกายกรองหรือกาจัดแร่ธาตุออกมามากอาจจะเกิดจากอักเสบติดเชือทาให้มีการจับ
ตัวของผลึกเป็นก้อนนิ่วได้เร็วหรือเกิดจากการบริโภคผักใบเขียวบางชนิดที่มีสารออกซาเลตสูง
 ป้องกันได้โดยการรับประทานอาหารประเภทโปรตีนช่วยไม่ให้สารออกซาเลตจับตัวเป็นผลึก
กลายเป็นก้อนนิ่ว
 ดื่มนาสะอาด
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ • พบบ่อยในเพศหญิง
• เกิดจากการติดเชือแบคทีเรีย ซึ่งปนเปื้อนจากอุจจาระร่วมกับการกลัน
ปัสสาวะนานๆ
• ผู้ป่วยปัสสาวะบ่อย ปวดบริเวณหัวเหน่าขณะถ่ายหากไม่รักษา เชือจะทา
ให้ไตและกรวยไตอักเสบได้
ผักพืนบ้าน เช่น ผักชีฝรั่ง มันสาปะหลัง ใบชะพลู ผักโขม ยอดพริกขีฟ้า หัวไชเท้า ใบกระเจี๊ยบ ใบยอ
โรคไตวาย
 ภาวะที่ไตสูญเสียหน้าที่การทางาน ทาให้มีการสะสมของเสีย
 เกิดความผิดปกติในการรักษาสมดุลของนา แร่ธาตุและความเป็นกรด-เบส ของสารใน
ร่างกาย
 มีสาเหตุจาก การติดเชือที่รุนแรง , การสูญเสียเลือดหรือของเหลวจานวนมาก , หรือเกิด
จากการเป็นโรคเบาหวานติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือมีนิ่วอุดตันทางเดินปัสสาวะเป็น
เวลานาน
 การรักษา - โดยการควบคุมชนิดและปริมาณอาหาร
- การใช้ยา , ฟอกเลือด , ผ่าตัดเปลี่ยนไต
โรคเก๊าท์
เกิดจากการสะสมตัวของกรดยูริกตามข้อกระดูก ทาให้เจ็บปวด
3. ผิวหนังกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 ผิวหนังมีหน้าที่รักษาดุลยภาพให้คงที่ เช่น
- ป้ องกันเชื้อโรค
- รักษาอุณหภูมิให้คงที่
- รับความรู้สึก
- ขับถ่ายของเสีย
 โครงสร้างของผิวหนัง ดังรูป
สัตว์เลือดอุ่น เป็นสัตว์ที่มีกลไกในการรักษาอุณหภูมิ
ร่างกายได้คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อม
เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก
สัตว์เลือดเย็น เป็นสัตว์ที่ไม่มีกลไกในการรักษาอุณหภูมิ
ของร่างกายให้คงที่ จะทาให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
ตามสิ่งแวดล้อม เช่น ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า และ
สัตว์เลื้อยคลาน
@ การจาศีลมีความแตกต่างกัน
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
4. การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกาย ปฏิกิริยาเคมีเกือบทั้งหมดในกระบวนการเมแทบอลิซึมใน
ร่างกายควบคุมโดยเอนไซม์ ซึ่งเอนไซม์แต่ละชนิดจะทางานได้ในสภาพ pH ที่แตกต่างกัน เช่น ในกระเพาะ (กรด)
ลาไส้เล็ก (เบส) ในร่างกายเกิดจากปฏิกิริยาของการหายใจ (กรด) สามารถทาได้ 3 วิธี คือ
โดยกาลังในการรักษา pH : ไต (ออกไปเยอะ) > หายใจ (ออกไปทีละน้อย) > บัฟเฟอร์ (ปฏิกิริยาเคมี)
ความเร็ดวในการรักษา pH : บัฟเฟอร์ (เสียววินาที) > หายใจ (นาที) > ไต (ชั่วโมง)
5. ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบนาเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์
• ฟองนา ไฮดรา และพลานาเรีย
• การลาเลียงสารเป็นการลาเลียงผ่านเซลล์โดยตรง
ไส้เดือนดิน
• มีหลอดเลือดทอดยาวตลอดลาตัว
• มีห่วงหลอดเลือดหรือหัวใจเทียม (pseudoheart)
• เป็นระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดพวกแรก
(closed circulatory system)
แมลง (ตั๊กแตน , กุ้ง)  มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิด
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
การลาเลียงสารในร่างกายของคน
หัวใจ
โครงสร้างและการหมุนเวียนเลือดภายในของหัวใจ
คลื่นไฟฟ้ าของหัวใจ
• ตรวจด้วยเครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้า
ของหัวใจ ผลของการบันทึกได้กราฟ
เรียกว่า คลื่นไฟฟ้าของหัวใจ
(Electrocardiogram) หรือ ECG หรือ EKG



ความดันเลือด
• ผู้ใหญ่จะมีความดันเลือดประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท
• ตัวเลขแรกหมายถึงค่าความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว เรียกว่า ความดันซิสโทลิก
• ตัวเลขตัวหลัง หมายถึง ความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัว เรียก ความดันไดแอสโทลิก
• ความดันเลือดขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น อายุ เพศ อารมณ์
น้าหนักของร่างกาย อาหาร สภาพภูมิอากาศ และสภาพของร่างกาย
เส้นเลือด
ความดันเลือดในหลอดเลือดต่างๆ
• หลอดเลือดเวนมีลิ้นอยู่ภายในเป็นระยะ
การทางานของลิ้นหลอดเลือดเวน
ส่วนประกอบของเลือด(leukocyte)
(platelet)
(erythrocyte)
เซลล์เม็ดเลือดแดง
• มีหน้าที่รับส่งแก๊ส CO2 และ O2
• รูปร่างกลมแบนตรงกลางบุ๋ม ไม่มีนิวเคลียส ไม่มีไมโทคอนเดรีย
• ภายในมีฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นโปรตีนมีเหล็กเป็นองค์ประกอบ
• สร้างจากตับ ม้าม และไขกระดูก
• มีอายุประมาณ 100-120 วัน และถูกทาลายที่ตับและม้าม
• ชายมีเซลล์เม็ดเลือดแดง 5-5.5 ล้านเซลล์ต่อเลือด 1 ลบ.มม.
หญิงมีเซลล์เม็ดเลือดแดง 4.5–5 ล้านเซลล์ต่อเลือด 1 ลบ.มม.
เพลตเลต
• เป็นสิ่งสาคัญในกระบวนการแข็งตัวของเลือด
• บางทีเรียกว่า เศษเม็ดเลือด , เกล็ดเลือด , หรือแผ่นเลือด
• ไม่ใช่เซลล์แต่เป็นชิ้นส่วนของไซโทพลาซึมของเซลล์ชนิดหนึ่งในไขกระดูก
• มีอายุประมาณ 10 วัน
• กระบวนการแข็งตัวของเลือดสรุปได้ดังภาพต่อไปนี้
เซลล์เม็ดเลือดขาว
• มีหน้าที่ป้ องกันและทาลายเชื้อโรค
หรือสิ่งแปลกปลอม
• มีปริมาณ 5,000-10,000 เซลล์
ต่อ 1 ลบ.มม.
• สร้างจากไขกระดูกบางชนิด
เจริญในต่อมไทมัส
• มีอายุ 2-3 วัน
• แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่มีแกรนูลและกลุ่มที่ไม่มีแกรนูล
กลุ่มที่มีแกรนูล • เรียกว่า แกรนูโลไซต์ (granulocytes)
• มีนิวเคลียสขนาดใหญ่คอดเป็นพู สร้างจากไขกระดูก
• มีไซโทพลาสซึมค่อนข้างมาก
• มีแกรนูลกระจายอยู่ทั่วไปในไซโทพลาซึม
• มีลักษณะต่างกัน 3 ชนิด คือ
1. อีโอซิโนฟิล มีแกรนูลสีส้มแดง (ติดเชือพยาธิ)
2. เบโซฟิล มีแกรนูลสีนาเงิน (histamineกับheparin)
3. นิวโทรฟิล มีแกรนูลสีม่วงชมพู(มากสุด : phagocytosis)
กลุ่มที่ไม่มีแกรนูล • เรียกว่า อะแกรนูโลไซต์ (agranulocytes)
• มีนิวเคลียสขนาดใหญ่
• มี 2 ชนิด คือ โมโนไซต์ (monocyte) และลิมโฟไซต์ (lymphocyte)
• โมโนไซต์ - เจริญเป็นแมโครฟาจ (macrophage) ; phagocytosis
• ลิมโฟไซต์ มี 2 ชนิด - ลิมโฟไซต์ชนิดบี หรือ เซลล์บี (B-cell)
สร้างและเจริญในไขกระดูก : plasma cell และ memory cell
- ลิมโฟไซต์ชนิดที หรือเซลล์ที (T-cell)
สร้างจากไขกระดูกแล้วไปเจริญที่ต่อมไทมัส : CD4 ,CD8 ,suppressor
พลาสมา
หน้าที่ • มีหน้าที่ลาเลียงสารอาหารที่ย่อยแล้ว แร่ธาตุ ฮอร์โมน
แอนติบอดีไปให้เซลล์
• ช่วยรักษาสมดุลความเป็นกรด – เบส สมดุลของน้า
และรักษาระดับอุณหภูมิของร่างกาย
ลักษณะ • เป็นของเหลวใสมีสีเหลืองอ่อน
• ประกอบด้วยน้า 90 – 93 % โปรตีนที่สาคัญ
คือไฟบริโนเจน , อัลบูมิน และโกลบูลิน
• ประกอบด้วยแร่ธาตุ สารอาหาร เอนไซม์ ฮอร์โมน
และสารที่ร่างกายต้องกาจัดออก ได้แก่ ยูเรีย CO2
หมู่เลือดและการให้เลือด • จาแนกตามระบบ ABO ได้ 4 หมู่ คือ A ,B , AB และ O
( ตามชนิดของไกลโคโปรตีน หรือแอนติเจนที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง )
การให้เลือด
• หลักการ คือ“เลือดของ
ผู้ให้ต้องไม่มีแอนติเจนตรง
กับแอนติบอดีของผู้รับ”
ระบบเลือด Rh
• คนไทยส่วนใหญ่มีแอนติเจน Rh อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง เรียกว่า มีหมู่เลือด Rh+
• ส่วนน้อยร้อยละ 0.3 ไม่มีแอนติเจน Rh ที่เยื่อหุ้มเม็ดเลือดแดง เรียกว่ามี หมู่เลือด Rh-
• คนที่มีหมู่เลือด Rh- เมื่อได้รับเลือดหมู่ Rh+ แอนติเจนของหมู่เลือด Rh+ จะกระตุ้นให้คนที่มีหมู่เลือด
Rh- สร้างแอนติบอดีต่อแอนติเจน Rh
การเกิดอีรีโทรบลาสโทซิสฟีทาลีส
( Erythroblastosis fetalis )
ระบบน้าเหลือง
• โครงสร้างของระบบนาเหลือง
ประกอบด้วย นาเหลือง (lymph)
หลอดนาเหลือง (lymph vessel)
ซึ่งบางตอนโป่งออกเป็นต่อม
นาเหลือง (lymph node)
น้าเหลือง
• เป็นของเหลวที่อยู่ในหลอดน้าเหลืองได้มาจาก
ของเหลวที่อยู่ระหว่างเซลล์
• มีส่วนประกอบกล้ายพลาสมาแต่มีโปรตีนน้อยกว่า
• ส่วนประกอบของน้าเหลืองมีความแตกต่างกัน
ขึ้นอยู่กับแหล่งที่มา
หลอดน้าเหลือง
• การลาเลียงน้าเหลืองในหลอดน้าเหลือง
จะมีทิศทางการไหลเข้าสู่หัวใจ และเข้าสู่
ระบบหมุนเวียนเลือดโดยเปิดเข้าสู่หลอด
เลือดเวนใกล้หัวใจ
ทอนซิล (tonsil) • เป็นต่อมน้าเหลืองบริเวณคอ
• มีลิมโฟไซต์ดักจับและทาลายจุลลินทรีย์
ไม่ให้เข้าสู่หลอดอาหารและกล่องเสียง
• ถ้าทอนซิลติดเชื้อจะมีอาการอักเสบ บวมขึ้น
• ต่อมน้าเหลืองบริเวณอื่นๆ จะทาหน้าที่คล้ายทอนซิล
เพื่อกรองแบคทีเรียและสิ่งแปลกปลอมไม่ให้เข้าสู่กระแสเลือด
ต่อมไทมัส (thymus gland)
• เป็นต่อมไร้ท่อมีตาแหน่งอยู่ตรงทรวงอกด้านหน้าหลอดเลือดใหญ่ของหัวใจ
• พัฒนาลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที
ม้าม ( Spleen ) o อยู่บริเวณใต้กะบังลมด้านซ้ายติดกับด้านหลังของกระเพาะอาหาร
o ระยะเอ็มบริโอ ม้ามผลิตเซลล์เม็ดเลือดแดง
o หลังคลอดม้ามเป็นที่อยู่ของลิมโฟไซต์
o สร้างแอนติบอดีสู่กระแสเลือด
o ทาลายเซลล์เม็ดเลือดแดงและเพลตเลตที่หมดอายุแล้ว
กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน แบ่งได้ 2 แบบ ได้แก่ แบบไม่จำเพำะ (nonspecific defense)
แบบจำเพำะ (specific defense)
กลไกการต่อต้านหรือทาลายสิ่งแวดล้อมแบบไม่จาเพาะ
• ผิวหนังมีเคอราตินป้ องกันการเข้าออกของสิ่งต่างๆ ได้
• ผิวหนังมีต่อมเหงื่อ ,ต่อมไขมัน หลั่งสารบางชนิด
เช่น กรดไขมัน กรดแลกติก ป้ องกันการเติบโตของจุลินทรีย์บางชนิด
• ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ท่อปัสสาวะ ช่องคลอด
มีการสร้างเมือกและมีซิเลียดักจับสิ่งแปลกปลอม
• น้าตา น้าลาย มีไลโซไซม์ทาลายเชื้อโรคบางชนิดได้
กลไกการต่อต้านหรือทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบจาเพาะ
 การทางานของเซลล์บี
 การทางานของเซลล์ที
การสร้างภูมิคุ้มกัน
แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
1. ภูมิคุ้มกันก่อเอง (active immunization) เป็นการกระตุ้นให้
ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโดยการนาสารที่เป็นแอนติเจน (วัคซีน) ซึ่ง
อาจเป็นเชือโรคที่อ่อนกาลังแล้วมาฉีด / กิน / ทาที่ผิวหนัง เพื่อ
กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน
2. ภูมิคุ้มกันรับมา (passive immunization)เป็นวิธีให้แอนติบอดีแก่
ร่างกายโดยตรงเพื่อให้มีภูมิคุ้มกันขึนทันที เช่น ซีรัมสาหรับคอตีบ
ซีรัมแก้พิษงู ซีรัมแก้พิษสุนัขบ้า
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันโรค
โรคภูมิแพ้ ( allergy )
 ร่างกายมีปฏิกิริยาต่อแอนติเจนบางชนิดอย่างรุนแรง และก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย เช่น แพ้
สารเคมีในบ้าน ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ , อาหารทะเล
 โรคภูมิแพ้สารบางชนิดเกี่ยวข้องทางพันธุกรรมด้วย
โรคเอสแอลอี (Systemic Lupus Erythematiosus : SLE )
 เป็นความผิดปกติที่ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึนมาต่อต้านเซลล์ของตนเอง
 เกิดจากกลไกการควบคุมเสียไป ทาให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีมาต่อต้านแอนติเจนของตนเอง
โรคเอดส์ (AIDS)
เป็นโรคที่มีอาการของภูมิคุ้มกันบกพร่อง เกิดจากเชือไวรัส HIV
 HIV เข้าไปทาลายเซลล์ที ส่งผลให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายเสื่อมหรือบกพร่อง ร่างกายจึง
อ่อนแอและติดเชือโรคต่างๆ
 HIV พบในสารคัดหลั่งต่างๆ ของร่างกาย เช่น เลือด อสุจิ นานม นาตา และนาลาย เป็นต้น
ลักษณะพิเศษของ HIV
1. เชือ HIV จะทาลายเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดเซลล์ทีผู้ช่วย
2. HIV เพิ่มจานวนและมีการกลายพันธุ์ได้ง่าย
3. HIV เจริญและเพิ่มจานวนอยู่ในเซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์ทีผู้ช่วย ใช้องค์ประกอบต่างๆ ในเซลล์เม็ดเลือดขาว
ในการเพิ่มปริมาณชือ HIV
4. HIV มีสารพันธุกรรม เป็น RNA
เมื่อเข้าสู่เซลล์จะสร้างสารพันธุกรรมในรูป
DNA ของเซลล์
โรคเอดส์
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION !

More Related Content

What's hot

10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 

What's hot (20)

10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
5แบบทดสอบส่วนประกอบของเซลล์
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 

Viewers also liked

วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 

Similar to รักษาดุลม.5

บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชPandora Fern
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายพัน พัน
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)pitsanu duangkartok
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
การย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนการย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนY'tt Khnkt
 
แบบทดสอบที่ 6
แบบทดสอบที่ 6แบบทดสอบที่ 6
แบบทดสอบที่ 6Churuthikorn Kummoo
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionkasidid20309
 

Similar to รักษาดุลม.5 (20)

บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)สรีรวิทยา (part 1)
สรีรวิทยา (part 1)
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
การย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนการย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคน
 
แบบทดสอบที่ 6
แบบทดสอบที่ 6แบบทดสอบที่ 6
แบบทดสอบที่ 6
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
1
11
1
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

รักษาดุลม.5