SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
1
2


                             ตารางวิเคราะหจุดประสงคการเรียนรู หลักฐานการเรียนรู สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด ผลที่เกิดกับผูเรียน
กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร             ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ชื่อหนวยการเรียนรู วิวัฒนาการ (Evolution) : วิถีแหงการอยูรอด
สาระที่ ๑         สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช
                  เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู และนําความรู
                  ไปใชประโยชน
 สาระการเรียนรูแกนกลาง           1. สิ่งมีชีวิตแตละสปชีสจะมีความหลากหลายที่แตกตางกัน สิ่งมีชีวิตในสปชีสเดียวกันจะผสมพันธุและสืบลูกหลานตอไปได
                                  2. การคัดเลือกตามธรรมชาติจะสงผลทําใหลักษณะพันธุกรรมของประชากรในกลุมยอยแตละกลุมแตกตางกันไปจนกลายเปน
                                      สปชีสใหมทําใหเกิดเปนความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด                         ที4. อธิบายกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติตอความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
                                    ่

 จุดประสงคการเรียนรู    หลักฐานการเรียนรู        สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด              ผูเรียนรูอะไรบาง        ผูเรียนทําอะไรได   คุณลักษณะอันพึงประสงค
1. อธิบายกระบวนการ       ภาระงาน             การคัดเลือกโดยธรรมชาติทําใหประชากรที่    1. สิ่งมีชีวิตจะเกิด       1. อธิบายความสัมพันธ 1. ใฝเรียนรู
คัดเลือกตามธรรมชาติและ   1. กิจกรรมปากคีบ    มีลักษณะเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมสามารถ       ปรับเปลี่ยน (adaptation)   ของปากคีบและธัญพืช 2. การสังเกต (Observation)
ผลของการคดเลือกตาม       และธัญพืช           ดํารงชีวิตและแพรพันธุประชากรในรุน      ใหมีลักษณะทางสรีระ        2. เชื่อมโยงการทดลอง 3. ความมีเหตุผล
ธรรมชาติตอความ                              ตอไปได แตสําหรับประชากรที่ไม          พฤติกรรมและรูปแบบ          ของปากคีบและธัญพืชสู
หลากหลาย                 ชิ้นงาน             เหมาะสมกับสิ่งแวดลอมนั้นก็จะถูกคัดทิ้ง   การดํารงชีวิตที่กลมกลืน    การคัดเลือกทาง
ของสิงมีชีวิต
      ่                  1. Model ปากนกฟนซ และลดจํานวนลงไป                           กับสภาพแวดลอมที่          ธรรมชาติของนกฟนซ
                         และอาหาร                                                      อาศัยอยูเพื่อใหเกิดการ   และสรุปเปนโมเดลได
                                                                                       อยูรอด
3


จุดประสงคการเรียนรู      หลักฐานการเรียนรู/   สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด                       ผูเรียนรูอะไรบาง        ผูเรียนทําอะไรได     คุณลักษณะอันพึงประสงค
                                ชิ้นงาน
2. สืบคน วิเคราะห การ   ภาระงาน                มนุษยมีสายวิวัฒนาการมาจากสัตวกลุม        1. คนกับลิงมีวิวัฒนากา     1. เขียน Mapping         1. การสํารวจ (Exploration)
เกิดวิวัฒนาการมนุษยได   1. ใบงานเรื่อง         ไพรเมต (primate) ซึ่งถือเปนกลุมของสัตว   รวมกัน แตคนไมได        เรียงลําดับวิวัฒนาการ    2. การสืบเสาะหาความรูทาง
                           “วิวัฒนาการมนุษย”    เลี้ยงลูกดวยนมที่มีพัฒนาการสูงที่สุด การ   พัฒนาการมาจากลิง           ของมนุษย                วิทยาศาสตร (Scientific
                                                 คนพบวิวัฒนาการมนุษยเริ่มจากสมัยไมโอ       2. ไพรเมตกลุม ไดแก      2. ยกตัวอยางของมนุษย   Inquiry)
                          ชิ้นงาน                ซีน พบออสทราโลพิเทคัส                       นางอายหรือลิงลม และ        สปซี่ตางๆ
                          1. Mapping             (Australopithecus) Homo habilis             ลิงทารซิเออร (tarsier
                          วิวัฒนาการมนุษย       Homo erectus         มนุษยนีแอนเดอรทัล    monkey) และไพรเม
                                                 (Neanderthal man) Homo sapiens              ตอีกสายหนึ่งคือ แอน
                                                                                             โทรพอยด (anthropoid)
                                                                                             ไดแก ลิงมีหาง ลิงไมมี
                                                                                             หางและมนุษย
                                                                                             3. มนุษยออสท
                                                                                             ราโลพิเทคัส
                                                                                             (Australopithecus)คือ ลู
                                                                                             ซี่
                                                                                             4. มนุษย Homo habilis
                                                                                             สามารถใชเครื่องมือได
                                                                                             5. Homo erectus คือ
                                                                                             มนุษยชวา รากศัพทมาก
                                                                                             จากลําตัวตั้งตรง
4


จุดประสงคการเรียนรู   หลักฐานการเรียนรู/   สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด      ผูเรียนรูอะไรบาง     ผูเรียนทําอะไรได   คุณลักษณะอันพึงประสงค
                             ชิ้นงาน
                                                                         6. มนุษยนีแอนเดอรทัล
                                                                         อยูในสปชีสเดียวกันกับ
                                                                         มนุษยปจจุบัน (Homo
                                                                         sapiens sapiens) แต
                                                                         แยกกันในระดับซับสป
                                                                         ชีส
5


จุดประสงคการเรียนรู       หลักฐานการเรียนรู/   สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด                   ผูเรียนรูอะไรบาง         ผูเรียนทําอะไรได    คุณลักษณะอันพึงประสงค
                                 ชิ้นงาน
3. อภิปรายการศึกษา        ภาระงาน                 หลักฐานที่ใชในการศึกษาวิวัฒนาการคือ   1. ซากดึกดําบรรพจะพบ        1. แยกประเภทของ         1. การสังเกต (Observation)
วิวัฒนาการผาน            1. ใบงานหลักฐาน         1. หลักฐานจากซากดึกดําบรรพของ         มากในหินชั้นหรือหิน          หลักฐาน                 2. วิเคราะหขอมูล
หลักฐาน ขอมูลตาง ๆ      วิวัฒนาการ              สิ่งมีชีวิต                            ตะกอน                        วิวัฒนาการ
นําขอมูลทางพันธุศาสตร                           2. ขอมูลสนับสนุนจากกายวิภาค           2. การเปรียบเทียบกาย         2. สรุป มโนทัศน
ประชากรและ                ชิ้นงาน                 เปรียบเทียบ                            วิภาค แบงเปน 2 แบบคือ      เกี่ยวกับหลักฐาน
ขอมูอื่น ๆ มาใชในการ    1.มโนทัศนหลักฐาน       3. ขอมูลสนับสนุนจากคัพภะวิทยา         โครงสรางของอวัยวะ           วิวัฒนาการ
วิเคราะหแนวโนมการสูญ   วิวัฒนาการ              เปรียบเทียบ                            บางอยางคลายคลึงกัน
พันธุ การเกิดสปชีส                            4. ขอมูลสนับสนุนทางชีวภูมิศาสตร      แมวาจะทําหนาที่
ใหมได                                           5. หลักฐานทางชีววิทยาระดับโมเลกุล      แตกตางกันเรียก
                                                                                         ฮอมอโลกัส
                                                                                         (homologous structure)
                                                                                         และโครงสรางที่มี
                                                                                         ลักษณะตางกันแตทํา
                                                                                         หนาที่เหมือนกันนี้วา
                                                                                         อะนาโลกัส (analogous
                                                                                         structure)
                                                                                         3. คัพภะวิทยา คือการ
                                                                                         เปรียบเทียบตัวออนของ
                                                                                         สิ่งมีชีวิต เรียกวา ทฤษฎี
                                                                                         การยอนซ้ําลักษณะ
6


จุดประสงคการเรียนรู   หลักฐานการเรียนรู/   สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด      ผูเรียนรูอะไรบาง      ผูเรียนทําอะไรได   คุณลักษณะอันพึงประสงค
                             ชิ้นงาน
                                                                         (Theory of
                                                                         Recapitulation)
                                                                         4. ชีวภูมิศาสตร
                                                                         การศึกษาถิ่นที่อยูอาศัย
                                                                         สมมติฐานเรื่องแผนดิน
                                                                         อาจตอเนื่องเปนผืน
                                                                         เดียวกัน
                                                                         5. ชีววิทยาระดับโมเลกุล
                                                                         การศึกษาลําดับเบสในดี
                                                                         เอ็นเอของสิ่งมีชีวิตแตละ
                                                                         ชนิด
7




   แผนการจัดการเรียนรูแบบการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น
หนวยการเรียนรูวิวัฒนาการ (Evolution) : วิถีแหงการอยูรอด
8


                           แผนการจัดการเรียนรู ที่ 1 ปรับตัว เพื่อรอดตาย
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร                 รหัสวิชา ว 40243 รายวิชาชีววิทยา
หนวยการเรียนวิวัฒนาการ (Evolution) : วิถีแหงการอยูรอด                  เวลา 6 ชั่วโมง
ผูเขียนแผน กมลรัตน ฉิมพาลี                                              เวลา 2 ชั่วโมง

สาระสําคัญ
        การคัดเลือกโดยธรรมชาติถือเปนกลไกพื้นฐานของการเกิดวิวัฒนาการรวมกับกลไกอื่นๆ การ
คัดเลือกโดยธรรมชาติทําใหประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมสามารถดํารงชีวิตและแพร
พันธุประชากรในรุนตอไปได แตสําหรับประชากรที่ไมเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมนั้นก็จะถูกคัดทิ้งและลด
จํานวนลงไป ทําใหสิ่งมีชีวิตที่ถูกคัดเลือกใหเหลืออยูเกิดวิวัฒนาการโดยปรับเปลี่ยน (adaptation) ใหมี
ลักษณะทางสรีระ พฤติกรรมและรูปแบบการดํารงชีวิตที่กลมกลืนกับสภาพแวดลอมที่ประชากรนั้นอาศัย
อยู

2. จุดประสงคการเรียนรู
        1. อธิบายกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติตอความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต (K)
        2. ทักษะการสังเกต ทักษะการใชเหตุผล (P)
        4. มีความกระตือรือรนที่จะคนควาหาความรู (A)

3. สาระการเรียนรู
    1. การคัดเลือกตามธรรมชาติ
    2. ตัวอยางของสิ่งมีชีวิตในการคัดเลือกตามธรรมชาติ
9


4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
              7E                            ครู                            นักเรียน
1. เราความสนใจ(engage)       1. นําเสนอภาพสิ่งมีชีวิตตางๆ  1. ศึกษาภาพที่ครูนําเสนอ
                              จากนั้นนําเสนอภาพนก ที่มี      2. แสดงความคิดเห็น
                              ลักษณะปากแตกตางกัน ตั้ง
                              คําถามวา เหตุใดนกแตละชนิดจึง
                              มีลักษณะปากที่แตกตางกัน(ไม
                              เฉลยคําตอบ)

2. สํารวจคนหา(explore)       1.จัดเตรียมปากคีบที่หลากหลาย 1. ฟงคําอธิบาย
                              ลักษณะ เชน                  2. แบงกลุมเทาๆกันใหได 5 กลุม
                                                           3. ลงมือปฏิบัติกิจกรรม
                                                           3) เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว
                                                           ชวยกันเขียนรายงานการปฏิบัติ
                                                           กิจกรรม

                              2. ธัญพืช 4 ชนิด เมล็ดฟกทอง
                              เมล็ดแมงลัก ผลพุทรา และถั่ว
                              3. แผนที่เปนหมูเกาะ 4 หมูเกาะ
                              4. วางธัญพืชแตละชนิดในแตละ
                              เกาะ
                              5. ใหนักเรียนแบงกลุม
                              6.อธิบายใหนักเรียนเลือกใชปาก
                              คีบที่เหมาะสมกับธัญพืชของแต
                              ละเกาะ

3. อธิบาย (explain)           1) ถามกลุมที่ 1 2 3 4 วาเลือกใช 1) นักเรียนแตละกลุมชวยกัน
                              ปากคีบอันไหนกับธัญพืชกลุม ตอบคําถามแสดงความคิดเห็น
                              ละชนิด เพราะอะไร ถาใชอันอื่น
                              ไดไหม ได/ไมได เพราะ
10

              7E                                    ครู                             นักเรียน
                                  2) ถามกลุมที5 มีความแตกตาง
                                                  ่
                                  หรือคลายคลึงในการเลือกของ
                                  กลุมไหนบาง คิดวาเพราะอะไร
4. ขยายความรู(elaborate)
                                 1) แจกใบความรูเรื่องเกาะกาลา         1) ศึกษาใบความรู
                                  ปากอสใหแตละกลุม ชวยกัน            2) ตอบคําถามในใบงาน
                                  ศึกษาและหาคําตอบ                      3) สรุปความรูดวยวิธีตางๆ เชน
                                  2) ใหเชื่อมโยงกิจกรรมที่ปฏิบัติ      มโนทัศน, Mapping, แผนพับ,
                                  กับใบงานที่อาน                       หนังสือเลมเล็ก
                                  3) ใหแตละกลุมเสนอวิธีที่จะ         4) ทําแบบทดสอบ
                                  สรุปเรื่องที่เรียน เพื่อนําไปจัดทํา
                                  ใหเรียบรอยและสงครู
                                  4) แจกแบบทดสอบ




5. สื่อและแหลงการเรียนรู
           สื่อการเรียนรู
      1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม 5
      2. เอกสารเรื่องปรับตัว เพื่อรอดตาย
      3. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องปากคีบกับธัญพืช
      4. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องNatural Selection

        แหลงเรียนรู
    1. หองสืบคนขอมูลออนไลน
       เว็บไซต http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-darwin/Less5_2.html#
             http://www.ipecp.ac.th/cgi-binn/BP1/Program/chapter2/p2.html
             http://www.i-creativeweb.com/demo/biology/index.php?option=
                     com_content&view=category&layout=blog&id=45&Itemid=112&limitstart=10
             http://users.rcn.com/jkimball.ma.ultranet/BiologyPages/S/Speciation.html
11

               http://www.truthnet.org/Christianity/Apologetics/Evolutiontrue4/ และ
               http://mindfultourist.com/2009/10/13/galapagos-people-or-eco-system-and-do-we-have-
                      to-choose/
               http://www.huntzinger.com/galapagos.html
               http://www.houstonzooblogs.org/zoo/tag/galapagos-islands/



   6. การวัดและการประเมินผล
 สิ่งที่ตอง     ประเด็นการประเมิน         หลักฐาน/วิธีการ/เครื่องมือ       เกณฑการผาน       ผูประเมิน
 ประเมิน
ดานความรู 1. อธิบายกระบวนการ               แบบประเมินพฤติกรรมการ 1. นักเรียนมีผลการ                ครู
              คัดเลือกตามธรรมชาติ            ปฏิบัติกิจกรรม        ประเมินระดับพอใช
              และผลของการคัดเลือก                                  ขึ้นไป
              ตามธรรมชาติตอความ
              หลากหลายของสิ่งมีชีวิต
              (K)

ดานทักษะ 2. ทักษะการสังเกต                  การตรวจใบงานที่ 1           1. นักเรียนทําใบ         ครู/
          ทักษะการใชเหตุผล (P)                                          งานไดถูกตองอยาง     นักเรียน
                                                                         นอยรอยละ 80




ดานเจตคติ 3. มีความกระตือรือรนที่          แบบประเมินพฤติกรรมการ 1. นักเรียนมีผลการ                ครู
 (เงื่อนไข จะคนควาหาความรู (A)            เรียน                 ประเมินระดับพอใช
คุณธรรม)                                                           ขึ้นไป
12

                          แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
                             ชื่อกลุม …………………………

 ที่                 รายงานประเมิน                 ระดับคุณภาพ      หมายเหตุ
 1     ปฏิบัติงานถูกตามขั้นตอน                   3      2      1
 2     การแสดงความคิดเห็นและสรุปความคิดเห็น
       ภายในกลุม
 3     การแกปญหาระหวางการทํางาน
 4     ตั้งใจและมีสวนรวมในการทํางาน
 5     ทํางานเสร็จตรงเวลาที่กําหนด
                       รวม
                  คะแนนเฉลี่ย

เกณฑการประเมิน
3 = ดี        2 = พอใช     1 = ควรปรับปรุง
                                              ลงชื่อ ………………………………. ผูประเมิน
                                                   (…………………..…………………. )
                                              วันที……… เดือน ……………………พ.ศ. ……….
                                                    ่
13

                                แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                       รายการประเมิน




                                                       การศึกษาเรียนรู
                                                       และทํางานเสร็จ
                                                       มีความพยายาม
              กระตือรือรนใน




                                เรียนรูเพิ่มเติม
                                ซักถามเพื่อหา




                                                         ตามกําหนด
                                  สนใจศึกษา
                                  เหตุผลและ
 เลขที-ชื่อ
      ่         การแสงหา                                                           รวมคะแนน




                                                          ของเพื่อน
                                                          ชวยเหลือ
                                    คําตอบ
                 มีความ



                 ความรู

1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.



                           เกณฑการประเมิน ประเมินพฤติกรรมการทํางาน

       องคประกอบที่ 1 มีความกระตือรือรนในการแสวงหาความรู
              4 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดีมาก มีสวนรวมในกิจกรรม
                            การเรียนรูอยางขมีขมันทุกขั้นตอน
              3 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดี มีสวนรวมในกิจกรรม
                            การเรียนรูดวยความตั้งใจทุกขั้นตอน
              2 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดีพอสมควร มีสวนรวมในกิจกรรม
                            เกือบทุกขั้นตอน
              1 หมายถึง สนใจและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูนอย
14

องคประกอบที่ 2 ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบ
       4 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดง
                    ความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดดีมาก
       3 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดง
                    ความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดดี
       2 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดง
                    ความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดพอใช
       1 หมายถึง มีการซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบนอยมาก

องคประกอบที่ 3 สนใจหาความรูเพิ่มเติม
       4 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิมเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆ ที่เกี่ยวของกับ
                                      ่
                    เรื่องที่ศึกษาอยางตอเนื่อง
       3 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆที่เกี่ยวของกับ
                    เรื่องที่ศึกษาหลายครั้ง
       2 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆที่เกี่ยวของกับ
                    เรื่องที่ศึกษาเปนบางครั้ง
       1 หมายถึง ไมสนใจศึกษาหาความรูเพิ่มเติม


องคประกอบที่ 4 มีความพยายามและทํางานสําเร็จตามกําหนด
       4 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด
      3 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด โดยเพิ่มเวลาให
                     อีกเล็กนอย
      2 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด ตองเพิ่มเวลา
                     ใหอีกมากกวา 1 ครั้ง
       1 หมายถึง ไมตั้งใจทํางานใหเสร็จตามที่กําหนด
15

องคประกอบที่ 5 ชวยเหลือการศึกษาเรียนรูของเพื่อน
       4 หมายถึง ชวยเหลือเพื่อนดวยการสอน แนะนํา เสนอแนะวิธีการปฏิบัติเพื่อใหเพื่อนได
                     เรียนรูไปพรอมๆ กับตนดวยความเต็มใจ
       3 หมายถึง ชวยเหลือเพื่อนมาก แตชวยในลักษณะแบบบอกความรู หรือทําใหเพื่อน
                     มากกวาชวยใหเพื่อนไดเรียนรู
       2 หมายถึง ใหความชวยเหลือเพื่อนบางเล็กนอย และชวยในลักษณะบอกความรู หรือทํา
                     ใหเพื่อนมากกวาชวยใหเพื่อนไดเรียนรู
       1 หมายถึง ไมใหมีความชวยเหลือการศึกษาเรียนรูของเพื่อน หรือใหความชวยเหลือ
                               นอยมาก
เกณฑการตัดสินผลการเรียน
                  คะแนน                                     ผลการประเมิน
                0-4 คะแนน                                      ปรับปรุง
                   5-10                                       ผานเกณฑ
                   11-15                                         พอใช
                   16-20                                          ดี
16
                    เอกสารประกอบการเรียนรูเรื่อง ปรับตัว เพื่อรอดตาย

1. วิวัฒนาการและความหลากหลายทางชีวภาพ

     วิวัฒนาการถือเปนหัวใจที่สําคัญของชีววิทยา ทั้งนี้เนื่องจากปรากฏการณตางๆที่เกิดขึ้นในทาง
ชีววิทยาสามารถที่จะอธิบายไดโดยอาศัยหลักวิวัฒนาการ กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือปรากฏการณทางชีววิทยา
ทั้งหลายลวนแลวแตมีมูลเหตุมาจากการวิวัฒนาการ วิชาวิวัฒนาการ (Evolutionary biology) มีจุดกําเนิด
มาจากแนวคิดของนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษชื่อ ชารล ดารวิน (Charles Darwin) (ภาพที่ 1ก) ซึ่งได
ตีพิมพแนวคิดผานทางหนังสือชื่อ On the origin of species by means of natural selection ในป ค.ศ. 1859




                           (ก)                                        (ข)


       ภาพที่ 1 (ก) ชารล ดารวิน (1809 - 1882)
                (ข) หนังสือที่ตีพิมพแนวคิดวิวัฒนาการของดารวิน
                     (ที่มา Cambell and Reece, 2002)

         โดยผลงานของดารวินเกิดจากการเก็บรวบรวมขอมูล การทําการทดลอง และการศึกษาคนควา
    เอกสารตําราตางๆมากมาย โดยชวงเวลาที่สําคัญที่สุดชวงหนึ่งคือการเดินทางออกสํารวจกับเรือหลวง
    Beagle จากการเดินทางสํารวจทําใหดารวินสังเกตเห็นความแตกตางแปรผันของสิ่งมีชีวิตในแตละ
    ภูมิภาค สถานที่หนึ่งที่สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เดนชัดคือนกฟนสจากหมูเกาะกาลาปากอส
    (Galapagos) ซึ่งอยูทางทิศตะวันตกของชายฝงอเมริกาใต โดยดารวินไดสังเกตเห็นความแตกตางของ
    นกที่มาจากเกาะตางๆซึ่งแมจะมีความคลายคลึงกันซึ่งแสดงใหเห็นวามีความสัมพันธกันแตนกเหลานี้
    ก็มีความแตกตางกันมากจนถือเปนคนละสปซีส
17

         ดารวินพยายามหาคําอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นและไดแนวคิดวาสิ่งมีชีวิตเหลานี้นาจะเกิดจาก
    การปรับตัว (adaptation) เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยที่แตกตางกันออกไปในแตละ
    พื้นที่ เชน ขนาดปากของนกฟนสดูเหมือนจะมีความสัมพันธกับอาหารที่นกกินในแตละหมูเกาะที่นก
    อาศัยอยู โดยสิ่งแวดลอมเหลานี้ (เชน อาหาร) จะเปนตัวคัดเลือกลักษณะที่มีความเหมาะสมตอ
    สภาพแวดลอมนั้นๆ (ที่มา : http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclass-
    uploads/libs/html/44079/u106.html)

        กาลาปากอส มาจากคําวา galapago ซึ่งเปนภาษาสเปนหมายถึง เตาบก (tortoise) ซึ่งก็คือสัตวที่
พบห็นไดมากบนเกาะนี้ เกาะกาลาปากอสนั้นมีสภาพโดยทั่วไปแหงแลงและกันดาร เปนที่ที่กระแสน้ํา
เย็นไหลมาพบกับกระแสน้ําอุน จึงทําใหสามารถพบสิ่งมีชีวิตไดทั้งประเภทที่ชอบน้ําเย็น เชน สิงโตทะเล
และเพ็นกวิน รวมทั้งสัตวที่ชอบน้ําอุนก็หาไดบนเกาะนี้อีกเชนกัน ที่นี่จึงเปนแหลงรวมพันธุพืชและสัตว
จํานวนมากหลากหลายสปชีส มีสายพันธุสิ่งมีชีวิตแปลกๆ แทบจะไมสามารถพบไดที่ไหนในโลก ทั้งแบบ
ที่เชื่องนารัก และมองดูดรายนากลัว อาทิ เตากระดอง (Galapagos Tortoise) ที่มีน้ําหนักมากถึง 200-500
ปอนด กิ่งกา (iguana) สิงโตทะเล (Galapagos Sea-lion)นกนานาชนิด โดยเฉพาะนกฟนซ




                                  ภาพที่ 2 Giant Galapagos tortoises
                                      ที่มา progresoverde.org
18




                                 ภาพที่ 3 Galapagos Marine Iguana
                                    ที่มา worldtimezone.com

     ความ “พิเศษ” ของสิ่งมีชีวิตที่กาลาปากลอสทําให ดารวินรูสึกตื่นเตนมากที่ไดเห็น ดารวินพบวามี
นกสปชีสเ ดียวกันแมวามันจะมีตนกําเนิดจากแหลงเดียวกันก็ตาม แตมันกลับมีลักษณะที่แตกตางกันไป
เล็กนอย นกฟนช(finch) ชนิดหนึ่งบนกาลาปากอส ที่ดารวินเคยสนใจศึกษาเปนพิเศษ เขาไดแบงวาเจานก
ชนิดนี้มีความแตกตางกันไปในแตละเกาะถึง 13 แบบ ซึ่งสิ่งที่ทําใหพวกมันแตกตางกันนั้น ก็ผันแปรไป
ตามสิ่งแวดลอมบริเวณที่นกพวกนั้นอาศัยอยู อยางรูปทรงของจงอยปากที่แตกตางกันในนกสปชีส
เดียวกัน ที่เปนผลมาจากเมล็ดพืช ที่เปนอาหารของนกที่อยูบนแตละเกาะ




                                                                ภาพที่ 4 Finches from the Galapagos
                                                                            ที่มา www.dls.ym.edu.tw
19

     ดารวินจึงไดขอสรุปซึ่งนับเปนการนําไปสูการอธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการ วา ในอดีตกาลเมื่อบรรพ
บุรุษของนกไดมาจากทวีปอเมริกาใต แลวมาแพรพันธยังเกาะตางๆของหมูเกาะกาลาปากอส ซึ่งมี
สภาพแวดลอมแตกตางกัน นกชนิดใดที่สามารถปรับตัวใหอยูรอดในสภาพแวดลอมได มันก็จะอยูรอด
สามารถแพรพันธุตอไปได มันจะคอยเกิดกลายกลายพันธุจากรุนสูรุนอยางชาๆ แบบที่เรียกวา
“กลายพันธุ” และเมื่อการกลายพันธุที่วานี้เกิดขึ้นอยางตอเนื่องยั่งยืนมันก็จะกลายเปนวิวัฒนาการที่
            
เรียกวา “การปรับตัวสืบทอด (descent with modification)” สวนตัวใดที่ไมสามารถปรับตัวได มันก็จะ
คอยๆหายไป และสูญพันธุลงในที่สุด ซึ่งกลไกที่คอยคัดสรรวาสัตวใดจะอยู สัตวใดจะไป นั้นก็คือสิ่งที่
ดารวินเรียกวา “การคัดเลือกตามธรรมชาติ (natural selection)” นั่นเอง

     ความแตกตางไดแฝงตัวอยูในสิ่งมีชีวิต ทําใหพวกมันสามารถปรับตัวและแพรพันธุสืบทอดสูรุน
ตอๆไป ซึ่งกุญแจสําคัญที่ทําใหสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีความแตกตางกันก็คือ สภาพแวดลอมที่ตางกัน
นั่นเอง หรือที่จะกลาววา "สภาพแวดลอมไมใชสิ่งที่ทําใหเกิดการผันแปรของสิ่งมีชีวิต หากแตความผัน
แปรเหลานั้นมีอยูในทุกชีวิตอยูแลว ธรรมชาติจึงทําหนาที่เปนเพียงผูคัดสรร" (ที่มา :
http://www.vcharkarn.com/varticle/39371)



     วิวัฒนาการและการคัดเลือกโดยธรรมชาติ

      ทฤษฎีวิวัฒนาการของชารล ดารวิน อธิบายถึงกลไกของการวิวัฒนาการวาเปนผลมาจากการคัดเลือก
โดยธรรมชาติทําใหเกิดการปรับเปลี่ยนของลูกหลานที่เกิดขึ้นมาใหม (descent with modification)
ดารวินอธิบายวาสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกลวนสืบเผาพันธุมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน โดยการเปลี่ยนแปลง
วิวัฒนาการเปนกลไกที่ทําใหเกิดความแตกตางแปรผันของสิ่งมีชีวิตตางๆดังที่เราเห็นในปจจุบันนี้
กระบวนการที่ทําใหเกิดความแตกตางแปรผันก็คือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ซึ่งทําให
เกิดการปรับตัว (adaptation) ของสิ่งมีชีวิตจนกระทั่งเปลี่ยนแปลงเปนสิ่งมีชีวิตชนิดใหมขึ้นมาโดยอาศัย
กลไกดังกลาวรวมกับระยะเวลาที่ยาวนานนับตั้งแตสิ่งมีชีวิตชนิดแรกกําเนิดบนโลกเมื่อ 3.5 ถึง 3.8
พันลานปที่ผานมา จึงทําใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพดังที่ปรากฏบนโลกในปจจุบันนี้ ดารวินกลาว
เปรียบเทียบการวิวัฒนาการวาเปรียบเสมือนตนไมที่มีการแตกกิ่งกานสาขาออกจากลําตนซึ่ง
เปรียบเสมือนการเกิดสปซีสใหมที่มีตนกําเนิดมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน
      ปจจัยที่ทําใหเกิดกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติและการปรับตัวมีดังตอไปนี้ สิ่งมีชีวิตทั่วไปมี
ศักยภาพในการสืบพันธุสูง กลาวคือสิ่งมีชีวิตสวนใหญใหกําเนิดลูกมากเกินกวาที่ทรัพยากรจะรองรับได
เนื่องจากทรัพยากร เชน อาหาร ที่อยูอาศัย มีอยูอยางจํากัด จึงนําไปสูการแกงแยงเพื่อการอยูรอด หรือคํา
20

 ของดารวินก็คือ “struggle for existence” ซึ่งจะมีเพียงบางสวนของประชากรเทานั้นที่สามารถดํารงอยูได
 โดยทั่วไปในประชากรของสิ่งมีชีวิตจะมีความแปรผันและลักษณะที่แปรผันบางลักษณะในประชากรมี
 ความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมมากกวาจึงทําใหการแกงแยงเพื่อการอยูรอดนั้นดีกวาลักษณะอื่นๆ
 กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือประชากรที่ปรับตัวไดดีกวาจะมีโอกาสในการอยูรอดและการสืบพันธุที่ดีกวา
 (คําศัพทที่อธิบายถึงโอกาสในการอยูรอดและการสืบพันธุคือ ฟตเนส (fitness)) เมื่อเวลาผานไปลักษณะที่
 เปนลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมดังกลาวก็จะเพิ่มขึ้นในประชากรและเมื่อลักษณะที่ถูกคัดเลือก
 โดยธรรมชาติสะสมมากขึ้นเรื่อยๆในประชากรเมือเวลาผานไปก็จะนําไปสูการเกิดสปซีสใหม
                                                   ่
 (speciation) ในที่สุด


     2. ตัวอยางการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
    ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ความสามารถในการสืบพันธุจะเพิ่มจํานวนไดสูงมาก หากไมมีปจจัยที่จํากัด การ
เพิ่มจํานวนแลวสิ่งมีชีวิตทั้งหลายคงจะลนโลก แตตามที่เปนจริงจํานวนของสิ่งมีชีวิตคอนขางจะคงที่
เนื่องจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (naturalselection)ซึ่งอาศัยหลักเกณฑพื้นฐานวา จะไมมี
ลักษณะทางกรรมพันธุชุดเดียวที่เหมาะสมตอสภาพความเปนอยูของ สิ่งมีชีวิตในแตละแหลงที่อยูอาศัย
ฉะนั้นการคัดเลือกโดยธรรมชาติ จึงตองมีปจจัยสําคัญ คือ ความสามารถในการสืบพันธุ ของสิ่งมีชีวิต เพื่อ
การถายทอดลักษณะแตกตางที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นตองอยูใตอิทธิพลของสิ่งแวดลอม
ผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติจะไดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะ สปชีสเดียวกัน ทีมีความแตกตางกัน อยางเห็น
                                                                          ่
ไดชัดทางกรรมพันธุ ซึ่งเรียกวาโพลีมอรฟซึม(polymorphism)
21




ตัวอยางเชน
สีและลวดลายบนเปลือกหอย : หอยชนิด Cepaea nemoralis เปลือกมีสีเหลือง นํ้าตาลชมพู สมแดง และ
ยังมีชนิดที่มีลวดลาย เปนเสนพาดไปตามเปลือกจากการศึกษาพบวาในแหลงที่อยูที่มีลักษณะเรียบๆ เชน
บริเวณโคลนตมหรือทรายจะพบหอย ที่มีลักษณะเปลือกเปนสีเรียบๆมากกวาลักษณะอื่นๆ สวนในปา
หญาจะพบวามีหอยที่เปลือกลายมากกวาลักษณะอื่น แตในที่บางแหงก็พบหอย ทั้งเปลือก มีลายและหอย
เปลือกสีเรียบอยูในที่เดียวกันซึ่งพบวาหอยเปลือกสีเรียบมีความทนทาน ตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได
ดีกวาหอยเปลือกลายดังนั้นนอกจากความสัมพันธของเหยื่อและผูลาแลว ยังนาจะเกี่ยวของกับการ
ปรับตัวทางสรีระอีกดวย




                        ภาพที่ 5 หอย Cepaea nemoralis ที่มีลายเปลือกตางกัน
                ที่มา : http://www.sbp.univ-rennes1.fr และ http://www.tiscali.co.uk
22




ภาพที่ 6 ลายเปลือกของหอยที่ไมเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมอาจจะไมจะพนอันตรายจากผูลา
          ที่มา www.il.mahidol.ac.th/course/ap_biology2/chapter6/index.html




      ภาพที่ 7 สีของแมลงที่ไมเหมาะสมกับสิ่งแวดลอม จึงถูกนกจับกินเปนอาหาร
  ที่มา http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-darwin/Less5_2.html#
23



      สีของผีเสื้อกลางคืน ผีเสื้อกลางคืนชนิด Bristom betularia ซึ่งมีอยูมากในประเทศอังกฤษ
อาศัยอยูตามตนไมที่มีไลเคนส เกาะอยูเต็ม สีตัวของมันจึงเปนสีออนจางซึ่งชวยใหมันอําพรางตัว
ไดดี จนกระทั่งประมาณป 1845 ซึ่งเปนชวงปที่มี การปฏิวัติ อุตสาหกรรมในเขตเมือง จะมีเขมา
ควัน จากปลองควันของโรงงานอุตสาหกรรมฟุงกระจายไปทั่วในอากาศ เริ่มมีผูพบผีเสื้อ
กลางคืนสปชีส เดียวกันนี้แตมีสีดําเขมขึ้นกวาเดิมปรากฏขึ้นในเขตเมืองแมนเชสเตอร ซึ่งเปนเขต
ที่มีการอุตสาหกรรมใหญ และมีกลุมควันจากโรงงาน อุตสาหกรรม ทําลายพวกไลเคนสตาม
เปลือกไม และทําใหตนไมมีสีดําเต็มไปหมดตอมาในชวงเวลาไมถึงรอยปพบผีเสื้อกลางคืนที่มีสี
ดําเพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว จนเกือบทั้งหมด เปนผีเสื้อสีดํา




                A สีออนจาง                                       B สีดํา

                                ภาพที่ 8 การปรับตัวของผีเสื้อ
                อางอิงจาก : http://en.wikipedia.org/wiki/Peppered_moth
24

    นอกจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติแลวกลไกของวิวัฒนาการที่สําคัญยังประกอบไปดวย


1. การผาเหลาทางพันธุกรรม
          การผาเหลา (mutation) เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตการผาเหลาหรือมิว
เทชัน มีทั้งที่เกิดกับเซลลรางกาย ซึ่งเรียกวา โซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล
สืบพันธุ เรียกวา แกมีติคมิวเทชัน (gameticmutation) มิวเทชันที่มีผลตอขบวนการวิวัฒนาการมาก คือ มิว
เทชันที่เกิดกับเซลลสืบพันธุ เนื่องจากสามารถถายทอดไปสูรุนตอๆไปได มิวเทชันทําใหเกิดการแปรผัน
ทางพันธุกรรม นอกจากนั้นในกระบวนการ สืบพันธุแบบอาศัยเพศ จะมีการแบงเซลลดวยวิธีไมโอซิส
เพื่อสรางเซลลสืบพันธุ ในกระบวนการไมโอซิสจะมีครอสซิงโอเวอร (crossing over) โดยมีการ
แลกเปลี่ยนชิ้นสวนของโฮโมโลกัสโครโมโซมซึ่งมีผลทําใหอัลลีลของยีน เกิดการเปลี่ยนตําแหนงได
รวมทั้งการรวมกลุมกันอยางอิสระ ของโครโมโซม ที่แยกตัวจากคูของมันแลวเปนผลใหยีนตางๆ ได
รวมกลุมกันใหมในแตละรุน ดังนั้น การสืบพันธุแบบอาศัยเพศจึงชวยใหยีนตางๆ ทั้งเกาและใหม ไดมี
โอกาส รวมกลุมกัน (gene recombination) ในรูปแบบตางๆ ทั้งขบวนการมิวเทชันและขบวนการ
สืบพันธุแบบอาศัยเพศเปนสาเหตุที่ทําให สิ่งมีชีวิตเกิดความแปรผัน ทางพันธุกรรมอยางมากมาย


2. การอพยพของสมาชิกประชากร

           สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการอพยพเขาหรือออกของสมาชิก สงผลให มีการหมุนเวียนพันธุกรรมหรือ
ที่เรียกวา การไหลของยีน (gene flow) เกิดขึ้นระหวาง ประชากรยอยๆ ซึ่งการอพยพจะทําใหสัดสวน
ของอัลลีลเปลี่ยนแปลงไป ในประชากรที่มีขนาดใหญมากๆ การอพยพเขาหรืออพยพออกของสมาชิก
อาจจะเกือบไมมีผลตอสัดสวนของยีนในกลุมประชากรเลย แตถาประชากรมีขนาดเล็ก เมื่อมีสมาชิก
อพยพออกไปทําใหกลุมประชากรสูญเสียยีนบางสวน ทําใหมีโอกาสในการถายทอดหรือแลกเปลี่ยนยีน
กับกลุมยีนนั้นนอยลงไป หรือไมมีโอกาสเลยในทางกลับกัน การอพยพเขาของประชากร ในกลุม
ประชากรขนาดเล็ก จะทําใหเกิดการเพิ่มพูนบางสวน หรือบางยีนใหมเขามาในประชากร มีผลทําใหเกิด
ความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร

3. ขนาดของประชากร
       การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร มีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนและ
โครงสรางของ ยีนพูล (gene pool) ซึ่งเกิดจากโอกาส หรือความบังเอิญ หรือจากภัยธรรมชาติ ประชากรที่
มี ขนาดใหญและมีการผสมพันธุแบบสุม จะไมพบวามีการเปลี่ยนแปลง ความถี่ของยีน มากมายอยาง มี
25

นัยสําคัญ แตถาเปนประชากรขนาดเล็กจะมีผลอยางมาก การเปลี่ยนแปลงผกผันทางพันธุกรรม อยาง
ฉับพลันอยางไมมีทิศทางแนนอน หรือการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนอยางฉับพลันโดยเหตุบังเอิญ ตาม
ธรรมชาติที่เกิดขึ้นแบบสุม ไมสามารถคาดการณทิศทางการเปลี่ยนแปลงความถี่ ของยีนไดแนนอน เชนนี้
เรียกวา เจเนติก ดริฟต (genetic drift) เปนกลไกที่สําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหความถี่ของยีน มีการเบี่ยงเบน
จนเกิดการเปลี่ยนแปลง ความถี่ของยีน ตัวอยางของปรากฏการณนี้ไดแก วิวัฒนาการ ของสัตวชนิดใหมที่
เกิดขึ้นตามหมูเกาะตางๆ ในมหาสมุทรแปซิฟก ดังตัวอยางของแมลงหวี่ชนิดตางๆ ที่เกิดบนหมูเกาะ
ฮาวาย
หมายเหต ุ : gene pool หมายถึง ยีนโดยรวมซึ่งแลกเปลี่ยนกันระหวางสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะ ในเผาพันธุ
เดียวกัน เปรียบเหมือนมีบอของยีน ซึ่งสิ่งมีชีวิตนํามาฝากและนําไปใช




                     รูปที่ 2.18 ภาพแสดงปรากฏการณ เจเนติกดริฟต ของแมลงหวี่
                                   ที่มา : http://evolution/Berkeley/edu
26

                                                   ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องปากคีบกับธัญพืช
   วันที่...........เดือน............................พ.ศ....................
   สมาชิกกลุมที.่ ......ไดแก
   1. ………………………………………………… เลขที……                                                        ่
   2............................................................................. เลขที.่ .......
   3............................................................................ เลขที.่ ......
   4............................................................................ เลขที.่ ......

วัสดุและอุปกรณ
1.
2.
3.
4.
วิธีการทดลอง
1.
2.
3.
บันทึกผลการทดลอง

          เกาะ                              ธัญพืช                                              คีมที่ใช
27

สรุปผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
28

                                               ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง Natural Selection

  1. ใหนักเรียนวิเคราะหแนวโนมของประชากรตะบองเพชร จากภาพดังกลาว พรอมอธิบายเหตุผล




...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

2. ในภาพคือนกในอดีตและนกปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางรูปราง ใหนักเรียนชวยกันเติม
ลักษณะสิ่งแวดลอมที่ทําใหนกมีลักษณะแบบนกปจจุบัน

                                         นกในอดีต                                                                             นกในปจจุบัน
   1. อาศัยอยูใกลแมน้ํา
   2. กินพืชน้ํา
   3. มีผูลาที่อาศัยบนบก
   4. อพยพเปนระยะทางที่ไกล
   มากในแตละป




...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
29

                               แนวทางการตรวจคําตอบใบกิจกรรมที่ 1
1. นักเรียนบันทึกขอมูลครบถวนและสามารถสรุปไดวาการเลือกปากคีบขึ้นอยูกับลักษณะของธัญพืช
(ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูตรวจ)

                            แนวทางการตรวจคําตอบใบกิจกรรมที่ 2
1. แนวโนมลักษณะตะบองเพชรจะมีหนาม เพื่อปองกันสัตวกัดกิน
2. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะตางๆไดอยางสอดคลอง ลักษณะละ 1 คะแนน เหตุผลสนับสนุน
ขอละ 1 คะแนน เชน ปกมีขนาดสั้นและบางลง เนื่องจาก ไมตองอพยพเปนระยะทางไกลเทาเดิม
                        (1 คะแนน)                            (1 คะแนน)
เนนใหนักเรียนอธิบายลักษณะกับสภาพแวดลอมอยางสมเหตุสมผล
30

                                    แบบทดสอบทายบท

1. ขอความที่สอดคลองกับวิวัฒนาการมากที่สุดคือขอใด?
1. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตจากแบบงายๆไปซับซอนขึ้น
2. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตมักมีโครงสรางใหมเกิดขึ้นเสมอ
3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตมีทิศทางที่ไมแนนอน
4. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงอยางคอยเปนคอยไป สืบเนื่องกันตลอดเวลา

2. การเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตนอกจากเกิดจากการคัดเลือกตามธรรมชาติแลว ยังอาจเกิดจาก
กลไกตางๆ ยกเวนขอใด?
1. การลอยหางจากกันทางพันธุกรรม (genetic drift)
2. การถายเทเคลื่อนยายยีน (gene flow)
3. การใชและไมใช (use and disuse)
4. การผาเหลา (mutation)

3. กรณีใดตอไปนี้เปนตัวอยางที่สนับสนุนทฤษฎี Natural selection ?
1. เชื้อเอดสแพรระบาดอยางรวดเร็ว เนื่องจากพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของมนุษย
2. มีพลาสโมเดียมสายพันธุที่ตานยารักษาโรคมาลาเรียเพิ่มขึ้น
3. นกกะทาวางไขจํานวนมากขึ้นเมื่อชวงกลางวันยาวนานขึ้น
4. จิ้งจกเปลี่ยนสีตามสภาพแวดลอมที่อยูอาศัย

4. วิวัฒนาการตามแนวคิดของดารวินยึดหลักตางๆยกเวนหลักเกี่ยวกับขอใด?
1. หลักการเกี่ยวกับการแปรผันของสิ่งมีชีวิต
2. หลักการเกี่ยวกับการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
3. หลักการเกี่ยวกับการอพยพยายถิ่นของสิ่งมีชีวิต
4. หลักการเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะจากบรรพบุรุษไปลูกหลาน
31


5. จากการสังเกตพบวาผีเสื้อที่มีสีสันกลมกลืนกับสีของเปลือกไมจะมีจํานวนมากกวาผีเสื้อชนิดอื่นๆ
ขอสังเกตนี้จะใชขอมูลใดมาอธิบายสนับสนุนไดเหมาะสมที่สุด?
1. ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดารวิน
2. สัญชาตญาณในการหลบหนีศัตรูของสิ่งมีชีวิต
3. การถายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นใหมของลามารก
4. การผาเหลาอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม

6. ปจจัยใดสําคัญที่สุดในการเกิดวิวัฒนาการของนกฟนชในหมูเกาะกาลาปากอส
ซึ่งมีหลายสปชีสตางๆกัน?
1. การเกิดภัยธรรมชาติ
2. การอพยพยายถิ่นตามฤดูกาล
3. กลไกการแยกทางการสืบพันธุ
4. การแยกกันทางสภาพภูมิศาสตร



7. สิ่งที่ยืนยันถึงหลักการคัดเลือกโดยธรรมชาติคือขอใด ?
1. สิ่งมีชีวิตที่แข็งแรงกวาคือผูชนะ
2. สิ่งมีชีวิตที่จะอยูรอดตองเหมาะสมกับสิ่งแวดลอม
3. สิ่งมีชีวิตที่จะอยูรอดตองมีขนาดใหญและมีลูกไดเปนจํานวนมาก
4. ถูกทุกขอ



8.ทฤษฎีวิวัฒนาการของดารวิน มีหลักการที่สําคัญเรื่องใด
1. หลักการใชและไมใชอวัยวะ
2. หลักการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
3. หลักการผันแปรของกรรมพันธุ
4. การถายทอดลักษณะที่ไดจากการฝกฝน
32

9.แมสุนัขตัวหนึ่งคลอดลูกออกมา 7 ตัว ตามแนวความคิดของ ชารล ดารวิน ลูกสุนัขทั้ง 7 ตัว จะมีสี
ขนเหมือนกันหรือตางกันอยางไร
1. มีสีขนตางกันทุกตัว
2. มีสีขนเหมือนกันทุกตัว
3. มีสีขนเหมือนแมทุกตัว
4. บางตัวสีขนเหมือนกันบางตัวตางกัน

10. การคัดเลือกในธรรมชาติ (natural selection) จะเกิดขึ้นตอเมื่อลักษณะนั้น
1. เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดลอม
2. ถายทอดไปยังรุนตอๆไปได
3. ควบคุมโดยจีนที่เกิด mutationไดยาก
4. มีความแตกตางกัน ในหมูประชากรนั้น

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Biobiome
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
Wan Ngamwongwan
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
Biobiome
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
oranuch_u
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 

What's hot (20)

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 

Similar to แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
Mam Chongruk
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
teacherhistory
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
Kob Ying Ya
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
supreechafkk
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
Note Na-ngam
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
Kanjanjao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 

Similar to แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ (20)

แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
แหล่งกำเนิดและการเคลื่อนย้ายของมนุษย์ (1)
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Number 1
Number 1Number 1
Number 1
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
การเคลื่อนย้ายของมนุษย์
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 

More from Sumalee Khvamsuk

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
Sumalee Khvamsuk
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
Sumalee Khvamsuk
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
Sumalee Khvamsuk
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจ้า
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจ้าอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจ้า
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจ้า
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิตอาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิตอาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิตอาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 

More from Sumalee Khvamsuk (20)

ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจ้า
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจ้าอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจ้า
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตจ้า
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิตอาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิตอาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิตอาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
 
อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1อาณาจักรมอเนอรา 1
อาณาจักรมอเนอรา 1
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 

แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ

  • 1. 1
  • 2. 2 ตารางวิเคราะหจุดประสงคการเรียนรู หลักฐานการเรียนรู สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด ผลที่เกิดกับผูเรียน กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ชื่อหนวยการเรียนรู วิวัฒนาการ (Evolution) : วิถีแหงการอยูรอด สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู และนําความรู ไปใชประโยชน สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. สิ่งมีชีวิตแตละสปชีสจะมีความหลากหลายที่แตกตางกัน สิ่งมีชีวิตในสปชีสเดียวกันจะผสมพันธุและสืบลูกหลานตอไปได 2. การคัดเลือกตามธรรมชาติจะสงผลทําใหลักษณะพันธุกรรมของประชากรในกลุมยอยแตละกลุมแตกตางกันไปจนกลายเปน สปชีสใหมทําใหเกิดเปนความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ตัวชี้วัด ที4. อธิบายกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติตอความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ่ จุดประสงคการเรียนรู หลักฐานการเรียนรู สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด ผูเรียนรูอะไรบาง ผูเรียนทําอะไรได คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. อธิบายกระบวนการ ภาระงาน การคัดเลือกโดยธรรมชาติทําใหประชากรที่ 1. สิ่งมีชีวิตจะเกิด 1. อธิบายความสัมพันธ 1. ใฝเรียนรู คัดเลือกตามธรรมชาติและ 1. กิจกรรมปากคีบ มีลักษณะเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมสามารถ ปรับเปลี่ยน (adaptation) ของปากคีบและธัญพืช 2. การสังเกต (Observation) ผลของการคดเลือกตาม และธัญพืช ดํารงชีวิตและแพรพันธุประชากรในรุน ใหมีลักษณะทางสรีระ 2. เชื่อมโยงการทดลอง 3. ความมีเหตุผล ธรรมชาติตอความ ตอไปได แตสําหรับประชากรที่ไม พฤติกรรมและรูปแบบ ของปากคีบและธัญพืชสู หลากหลาย ชิ้นงาน เหมาะสมกับสิ่งแวดลอมนั้นก็จะถูกคัดทิ้ง การดํารงชีวิตที่กลมกลืน การคัดเลือกทาง ของสิงมีชีวิต ่ 1. Model ปากนกฟนซ และลดจํานวนลงไป กับสภาพแวดลอมที่ ธรรมชาติของนกฟนซ และอาหาร อาศัยอยูเพื่อใหเกิดการ และสรุปเปนโมเดลได อยูรอด
  • 3. 3 จุดประสงคการเรียนรู หลักฐานการเรียนรู/ สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด ผูเรียนรูอะไรบาง ผูเรียนทําอะไรได คุณลักษณะอันพึงประสงค ชิ้นงาน 2. สืบคน วิเคราะห การ ภาระงาน มนุษยมีสายวิวัฒนาการมาจากสัตวกลุม 1. คนกับลิงมีวิวัฒนากา 1. เขียน Mapping 1. การสํารวจ (Exploration) เกิดวิวัฒนาการมนุษยได 1. ใบงานเรื่อง ไพรเมต (primate) ซึ่งถือเปนกลุมของสัตว รวมกัน แตคนไมได เรียงลําดับวิวัฒนาการ 2. การสืบเสาะหาความรูทาง “วิวัฒนาการมนุษย” เลี้ยงลูกดวยนมที่มีพัฒนาการสูงที่สุด การ พัฒนาการมาจากลิง ของมนุษย วิทยาศาสตร (Scientific คนพบวิวัฒนาการมนุษยเริ่มจากสมัยไมโอ 2. ไพรเมตกลุม ไดแก 2. ยกตัวอยางของมนุษย Inquiry) ชิ้นงาน ซีน พบออสทราโลพิเทคัส นางอายหรือลิงลม และ สปซี่ตางๆ 1. Mapping (Australopithecus) Homo habilis ลิงทารซิเออร (tarsier วิวัฒนาการมนุษย Homo erectus มนุษยนีแอนเดอรทัล monkey) และไพรเม (Neanderthal man) Homo sapiens ตอีกสายหนึ่งคือ แอน โทรพอยด (anthropoid) ไดแก ลิงมีหาง ลิงไมมี หางและมนุษย 3. มนุษยออสท ราโลพิเทคัส (Australopithecus)คือ ลู ซี่ 4. มนุษย Homo habilis สามารถใชเครื่องมือได 5. Homo erectus คือ มนุษยชวา รากศัพทมาก จากลําตัวตั้งตรง
  • 4. 4 จุดประสงคการเรียนรู หลักฐานการเรียนรู/ สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด ผูเรียนรูอะไรบาง ผูเรียนทําอะไรได คุณลักษณะอันพึงประสงค ชิ้นงาน 6. มนุษยนีแอนเดอรทัล อยูในสปชีสเดียวกันกับ มนุษยปจจุบัน (Homo sapiens sapiens) แต แยกกันในระดับซับสป ชีส
  • 5. 5 จุดประสงคการเรียนรู หลักฐานการเรียนรู/ สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด ผูเรียนรูอะไรบาง ผูเรียนทําอะไรได คุณลักษณะอันพึงประสงค ชิ้นงาน 3. อภิปรายการศึกษา ภาระงาน หลักฐานที่ใชในการศึกษาวิวัฒนาการคือ 1. ซากดึกดําบรรพจะพบ 1. แยกประเภทของ 1. การสังเกต (Observation) วิวัฒนาการผาน 1. ใบงานหลักฐาน 1. หลักฐานจากซากดึกดําบรรพของ มากในหินชั้นหรือหิน หลักฐาน 2. วิเคราะหขอมูล หลักฐาน ขอมูลตาง ๆ วิวัฒนาการ สิ่งมีชีวิต ตะกอน วิวัฒนาการ นําขอมูลทางพันธุศาสตร 2. ขอมูลสนับสนุนจากกายวิภาค 2. การเปรียบเทียบกาย 2. สรุป มโนทัศน ประชากรและ ชิ้นงาน เปรียบเทียบ วิภาค แบงเปน 2 แบบคือ เกี่ยวกับหลักฐาน ขอมูอื่น ๆ มาใชในการ 1.มโนทัศนหลักฐาน 3. ขอมูลสนับสนุนจากคัพภะวิทยา โครงสรางของอวัยวะ วิวัฒนาการ วิเคราะหแนวโนมการสูญ วิวัฒนาการ เปรียบเทียบ บางอยางคลายคลึงกัน พันธุ การเกิดสปชีส 4. ขอมูลสนับสนุนทางชีวภูมิศาสตร แมวาจะทําหนาที่ ใหมได 5. หลักฐานทางชีววิทยาระดับโมเลกุล แตกตางกันเรียก ฮอมอโลกัส (homologous structure) และโครงสรางที่มี ลักษณะตางกันแตทํา หนาที่เหมือนกันนี้วา อะนาโลกัส (analogous structure) 3. คัพภะวิทยา คือการ เปรียบเทียบตัวออนของ สิ่งมีชีวิต เรียกวา ทฤษฎี การยอนซ้ําลักษณะ
  • 6. 6 จุดประสงคการเรียนรู หลักฐานการเรียนรู/ สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด ผูเรียนรูอะไรบาง ผูเรียนทําอะไรได คุณลักษณะอันพึงประสงค ชิ้นงาน (Theory of Recapitulation) 4. ชีวภูมิศาสตร การศึกษาถิ่นที่อยูอาศัย สมมติฐานเรื่องแผนดิน อาจตอเนื่องเปนผืน เดียวกัน 5. ชีววิทยาระดับโมเลกุล การศึกษาลําดับเบสในดี เอ็นเอของสิ่งมีชีวิตแตละ ชนิด
  • 7. 7 แผนการจัดการเรียนรูแบบการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น หนวยการเรียนรูวิวัฒนาการ (Evolution) : วิถีแหงการอยูรอด
  • 8. 8 แผนการจัดการเรียนรู ที่ 1 ปรับตัว เพื่อรอดตาย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รหัสวิชา ว 40243 รายวิชาชีววิทยา หนวยการเรียนวิวัฒนาการ (Evolution) : วิถีแหงการอยูรอด เวลา 6 ชั่วโมง ผูเขียนแผน กมลรัตน ฉิมพาลี เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ การคัดเลือกโดยธรรมชาติถือเปนกลไกพื้นฐานของการเกิดวิวัฒนาการรวมกับกลไกอื่นๆ การ คัดเลือกโดยธรรมชาติทําใหประชากรที่มีลักษณะเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมสามารถดํารงชีวิตและแพร พันธุประชากรในรุนตอไปได แตสําหรับประชากรที่ไมเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมนั้นก็จะถูกคัดทิ้งและลด จํานวนลงไป ทําใหสิ่งมีชีวิตที่ถูกคัดเลือกใหเหลืออยูเกิดวิวัฒนาการโดยปรับเปลี่ยน (adaptation) ใหมี ลักษณะทางสรีระ พฤติกรรมและรูปแบบการดํารงชีวิตที่กลมกลืนกับสภาพแวดลอมที่ประชากรนั้นอาศัย อยู 2. จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติตอความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต (K) 2. ทักษะการสังเกต ทักษะการใชเหตุผล (P) 4. มีความกระตือรือรนที่จะคนควาหาความรู (A) 3. สาระการเรียนรู 1. การคัดเลือกตามธรรมชาติ 2. ตัวอยางของสิ่งมีชีวิตในการคัดเลือกตามธรรมชาติ
  • 9. 9 4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 7E ครู นักเรียน 1. เราความสนใจ(engage) 1. นําเสนอภาพสิ่งมีชีวิตตางๆ 1. ศึกษาภาพที่ครูนําเสนอ จากนั้นนําเสนอภาพนก ที่มี 2. แสดงความคิดเห็น ลักษณะปากแตกตางกัน ตั้ง คําถามวา เหตุใดนกแตละชนิดจึง มีลักษณะปากที่แตกตางกัน(ไม เฉลยคําตอบ) 2. สํารวจคนหา(explore) 1.จัดเตรียมปากคีบที่หลากหลาย 1. ฟงคําอธิบาย ลักษณะ เชน 2. แบงกลุมเทาๆกันใหได 5 กลุม 3. ลงมือปฏิบัติกิจกรรม 3) เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว ชวยกันเขียนรายงานการปฏิบัติ กิจกรรม 2. ธัญพืช 4 ชนิด เมล็ดฟกทอง เมล็ดแมงลัก ผลพุทรา และถั่ว 3. แผนที่เปนหมูเกาะ 4 หมูเกาะ 4. วางธัญพืชแตละชนิดในแตละ เกาะ 5. ใหนักเรียนแบงกลุม 6.อธิบายใหนักเรียนเลือกใชปาก คีบที่เหมาะสมกับธัญพืชของแต ละเกาะ 3. อธิบาย (explain) 1) ถามกลุมที่ 1 2 3 4 วาเลือกใช 1) นักเรียนแตละกลุมชวยกัน ปากคีบอันไหนกับธัญพืชกลุม ตอบคําถามแสดงความคิดเห็น ละชนิด เพราะอะไร ถาใชอันอื่น ไดไหม ได/ไมได เพราะ
  • 10. 10 7E ครู นักเรียน 2) ถามกลุมที5 มีความแตกตาง ่ หรือคลายคลึงในการเลือกของ กลุมไหนบาง คิดวาเพราะอะไร 4. ขยายความรู(elaborate)  1) แจกใบความรูเรื่องเกาะกาลา 1) ศึกษาใบความรู ปากอสใหแตละกลุม ชวยกัน 2) ตอบคําถามในใบงาน ศึกษาและหาคําตอบ 3) สรุปความรูดวยวิธีตางๆ เชน 2) ใหเชื่อมโยงกิจกรรมที่ปฏิบัติ มโนทัศน, Mapping, แผนพับ, กับใบงานที่อาน หนังสือเลมเล็ก 3) ใหแตละกลุมเสนอวิธีที่จะ 4) ทําแบบทดสอบ สรุปเรื่องที่เรียน เพื่อนําไปจัดทํา ใหเรียบรอยและสงครู 4) แจกแบบทดสอบ 5. สื่อและแหลงการเรียนรู สื่อการเรียนรู 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เลม 5 2. เอกสารเรื่องปรับตัว เพื่อรอดตาย 3. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องปากคีบกับธัญพืช 4. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องNatural Selection แหลงเรียนรู 1. หองสืบคนขอมูลออนไลน เว็บไซต http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-darwin/Less5_2.html# http://www.ipecp.ac.th/cgi-binn/BP1/Program/chapter2/p2.html http://www.i-creativeweb.com/demo/biology/index.php?option= com_content&view=category&layout=blog&id=45&Itemid=112&limitstart=10 http://users.rcn.com/jkimball.ma.ultranet/BiologyPages/S/Speciation.html
  • 11. 11 http://www.truthnet.org/Christianity/Apologetics/Evolutiontrue4/ และ http://mindfultourist.com/2009/10/13/galapagos-people-or-eco-system-and-do-we-have- to-choose/ http://www.huntzinger.com/galapagos.html http://www.houstonzooblogs.org/zoo/tag/galapagos-islands/ 6. การวัดและการประเมินผล สิ่งที่ตอง ประเด็นการประเมิน หลักฐาน/วิธีการ/เครื่องมือ เกณฑการผาน ผูประเมิน ประเมิน ดานความรู 1. อธิบายกระบวนการ แบบประเมินพฤติกรรมการ 1. นักเรียนมีผลการ ครู คัดเลือกตามธรรมชาติ ปฏิบัติกิจกรรม ประเมินระดับพอใช และผลของการคัดเลือก ขึ้นไป ตามธรรมชาติตอความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิต (K) ดานทักษะ 2. ทักษะการสังเกต การตรวจใบงานที่ 1 1. นักเรียนทําใบ ครู/ ทักษะการใชเหตุผล (P) งานไดถูกตองอยาง นักเรียน นอยรอยละ 80 ดานเจตคติ 3. มีความกระตือรือรนที่ แบบประเมินพฤติกรรมการ 1. นักเรียนมีผลการ ครู (เงื่อนไข จะคนควาหาความรู (A) เรียน ประเมินระดับพอใช คุณธรรม) ขึ้นไป
  • 12. 12 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม ชื่อกลุม ………………………… ที่ รายงานประเมิน ระดับคุณภาพ หมายเหตุ 1 ปฏิบัติงานถูกตามขั้นตอน 3 2 1 2 การแสดงความคิดเห็นและสรุปความคิดเห็น ภายในกลุม 3 การแกปญหาระหวางการทํางาน 4 ตั้งใจและมีสวนรวมในการทํางาน 5 ทํางานเสร็จตรงเวลาที่กําหนด รวม คะแนนเฉลี่ย เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ควรปรับปรุง ลงชื่อ ………………………………. ผูประเมิน (…………………..…………………. ) วันที……… เดือน ……………………พ.ศ. ………. ่
  • 13. 13 แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน รายการประเมิน การศึกษาเรียนรู และทํางานเสร็จ มีความพยายาม กระตือรือรนใน เรียนรูเพิ่มเติม ซักถามเพื่อหา ตามกําหนด สนใจศึกษา เหตุผลและ เลขที-ชื่อ ่ การแสงหา รวมคะแนน ของเพื่อน ชวยเหลือ คําตอบ มีความ ความรู 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. เกณฑการประเมิน ประเมินพฤติกรรมการทํางาน องคประกอบที่ 1 มีความกระตือรือรนในการแสวงหาความรู 4 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดีมาก มีสวนรวมในกิจกรรม การเรียนรูอยางขมีขมันทุกขั้นตอน 3 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดี มีสวนรวมในกิจกรรม การเรียนรูดวยความตั้งใจทุกขั้นตอน 2 หมายถึง สนใจ ใฝรู รวมกิจกรรมการเรียนรูดีพอสมควร มีสวนรวมในกิจกรรม เกือบทุกขั้นตอน 1 หมายถึง สนใจและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูนอย
  • 14. 14 องคประกอบที่ 2 ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบ 4 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดง ความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดดีมาก 3 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดง ความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดดี 2 หมายถึง ซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบดวยความสนใจ ใชคําถามที่แสดง ความสามารถในการคิดวิเคราะหหาเหตุผลไดพอใช 1 หมายถึง มีการซักถามเพื่อหาเหตุผลและคําตอบนอยมาก องคประกอบที่ 3 สนใจหาความรูเพิ่มเติม 4 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิมเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆ ที่เกี่ยวของกับ ่ เรื่องที่ศึกษาอยางตอเนื่อง 3 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆที่เกี่ยวของกับ เรื่องที่ศึกษาหลายครั้ง 2 หมายถึง ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและหาขอมูล ขอเท็จจริงตางๆที่เกี่ยวของกับ เรื่องที่ศึกษาเปนบางครั้ง 1 หมายถึง ไมสนใจศึกษาหาความรูเพิ่มเติม องคประกอบที่ 4 มีความพยายามและทํางานสําเร็จตามกําหนด 4 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด 3 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด โดยเพิ่มเวลาให อีกเล็กนอย 2 หมายถึง ตั้งใจพยายามทํางานและทํางานไดเสร็จทันเวลาที่กําหนด ตองเพิ่มเวลา ใหอีกมากกวา 1 ครั้ง 1 หมายถึง ไมตั้งใจทํางานใหเสร็จตามที่กําหนด
  • 15. 15 องคประกอบที่ 5 ชวยเหลือการศึกษาเรียนรูของเพื่อน 4 หมายถึง ชวยเหลือเพื่อนดวยการสอน แนะนํา เสนอแนะวิธีการปฏิบัติเพื่อใหเพื่อนได เรียนรูไปพรอมๆ กับตนดวยความเต็มใจ 3 หมายถึง ชวยเหลือเพื่อนมาก แตชวยในลักษณะแบบบอกความรู หรือทําใหเพื่อน มากกวาชวยใหเพื่อนไดเรียนรู 2 หมายถึง ใหความชวยเหลือเพื่อนบางเล็กนอย และชวยในลักษณะบอกความรู หรือทํา ใหเพื่อนมากกวาชวยใหเพื่อนไดเรียนรู 1 หมายถึง ไมใหมีความชวยเหลือการศึกษาเรียนรูของเพื่อน หรือใหความชวยเหลือ นอยมาก เกณฑการตัดสินผลการเรียน คะแนน ผลการประเมิน 0-4 คะแนน ปรับปรุง 5-10 ผานเกณฑ 11-15 พอใช 16-20 ดี
  • 16. 16 เอกสารประกอบการเรียนรูเรื่อง ปรับตัว เพื่อรอดตาย 1. วิวัฒนาการและความหลากหลายทางชีวภาพ วิวัฒนาการถือเปนหัวใจที่สําคัญของชีววิทยา ทั้งนี้เนื่องจากปรากฏการณตางๆที่เกิดขึ้นในทาง ชีววิทยาสามารถที่จะอธิบายไดโดยอาศัยหลักวิวัฒนาการ กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือปรากฏการณทางชีววิทยา ทั้งหลายลวนแลวแตมีมูลเหตุมาจากการวิวัฒนาการ วิชาวิวัฒนาการ (Evolutionary biology) มีจุดกําเนิด มาจากแนวคิดของนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษชื่อ ชารล ดารวิน (Charles Darwin) (ภาพที่ 1ก) ซึ่งได ตีพิมพแนวคิดผานทางหนังสือชื่อ On the origin of species by means of natural selection ในป ค.ศ. 1859 (ก) (ข) ภาพที่ 1 (ก) ชารล ดารวิน (1809 - 1882) (ข) หนังสือที่ตีพิมพแนวคิดวิวัฒนาการของดารวิน (ที่มา Cambell and Reece, 2002) โดยผลงานของดารวินเกิดจากการเก็บรวบรวมขอมูล การทําการทดลอง และการศึกษาคนควา เอกสารตําราตางๆมากมาย โดยชวงเวลาที่สําคัญที่สุดชวงหนึ่งคือการเดินทางออกสํารวจกับเรือหลวง Beagle จากการเดินทางสํารวจทําใหดารวินสังเกตเห็นความแตกตางแปรผันของสิ่งมีชีวิตในแตละ ภูมิภาค สถานที่หนึ่งที่สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เดนชัดคือนกฟนสจากหมูเกาะกาลาปากอส (Galapagos) ซึ่งอยูทางทิศตะวันตกของชายฝงอเมริกาใต โดยดารวินไดสังเกตเห็นความแตกตางของ นกที่มาจากเกาะตางๆซึ่งแมจะมีความคลายคลึงกันซึ่งแสดงใหเห็นวามีความสัมพันธกันแตนกเหลานี้ ก็มีความแตกตางกันมากจนถือเปนคนละสปซีส
  • 17. 17 ดารวินพยายามหาคําอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นและไดแนวคิดวาสิ่งมีชีวิตเหลานี้นาจะเกิดจาก การปรับตัว (adaptation) เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยที่แตกตางกันออกไปในแตละ พื้นที่ เชน ขนาดปากของนกฟนสดูเหมือนจะมีความสัมพันธกับอาหารที่นกกินในแตละหมูเกาะที่นก อาศัยอยู โดยสิ่งแวดลอมเหลานี้ (เชน อาหาร) จะเปนตัวคัดเลือกลักษณะที่มีความเหมาะสมตอ สภาพแวดลอมนั้นๆ (ที่มา : http://cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/cyberclass- uploads/libs/html/44079/u106.html) กาลาปากอส มาจากคําวา galapago ซึ่งเปนภาษาสเปนหมายถึง เตาบก (tortoise) ซึ่งก็คือสัตวที่ พบห็นไดมากบนเกาะนี้ เกาะกาลาปากอสนั้นมีสภาพโดยทั่วไปแหงแลงและกันดาร เปนที่ที่กระแสน้ํา เย็นไหลมาพบกับกระแสน้ําอุน จึงทําใหสามารถพบสิ่งมีชีวิตไดทั้งประเภทที่ชอบน้ําเย็น เชน สิงโตทะเล และเพ็นกวิน รวมทั้งสัตวที่ชอบน้ําอุนก็หาไดบนเกาะนี้อีกเชนกัน ที่นี่จึงเปนแหลงรวมพันธุพืชและสัตว จํานวนมากหลากหลายสปชีส มีสายพันธุสิ่งมีชีวิตแปลกๆ แทบจะไมสามารถพบไดที่ไหนในโลก ทั้งแบบ ที่เชื่องนารัก และมองดูดรายนากลัว อาทิ เตากระดอง (Galapagos Tortoise) ที่มีน้ําหนักมากถึง 200-500 ปอนด กิ่งกา (iguana) สิงโตทะเล (Galapagos Sea-lion)นกนานาชนิด โดยเฉพาะนกฟนซ ภาพที่ 2 Giant Galapagos tortoises ที่มา progresoverde.org
  • 18. 18 ภาพที่ 3 Galapagos Marine Iguana ที่มา worldtimezone.com ความ “พิเศษ” ของสิ่งมีชีวิตที่กาลาปากลอสทําให ดารวินรูสึกตื่นเตนมากที่ไดเห็น ดารวินพบวามี นกสปชีสเ ดียวกันแมวามันจะมีตนกําเนิดจากแหลงเดียวกันก็ตาม แตมันกลับมีลักษณะที่แตกตางกันไป เล็กนอย นกฟนช(finch) ชนิดหนึ่งบนกาลาปากอส ที่ดารวินเคยสนใจศึกษาเปนพิเศษ เขาไดแบงวาเจานก ชนิดนี้มีความแตกตางกันไปในแตละเกาะถึง 13 แบบ ซึ่งสิ่งที่ทําใหพวกมันแตกตางกันนั้น ก็ผันแปรไป ตามสิ่งแวดลอมบริเวณที่นกพวกนั้นอาศัยอยู อยางรูปทรงของจงอยปากที่แตกตางกันในนกสปชีส เดียวกัน ที่เปนผลมาจากเมล็ดพืช ที่เปนอาหารของนกที่อยูบนแตละเกาะ ภาพที่ 4 Finches from the Galapagos ที่มา www.dls.ym.edu.tw
  • 19. 19 ดารวินจึงไดขอสรุปซึ่งนับเปนการนําไปสูการอธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการ วา ในอดีตกาลเมื่อบรรพ บุรุษของนกไดมาจากทวีปอเมริกาใต แลวมาแพรพันธยังเกาะตางๆของหมูเกาะกาลาปากอส ซึ่งมี สภาพแวดลอมแตกตางกัน นกชนิดใดที่สามารถปรับตัวใหอยูรอดในสภาพแวดลอมได มันก็จะอยูรอด สามารถแพรพันธุตอไปได มันจะคอยเกิดกลายกลายพันธุจากรุนสูรุนอยางชาๆ แบบที่เรียกวา “กลายพันธุ” และเมื่อการกลายพันธุที่วานี้เกิดขึ้นอยางตอเนื่องยั่งยืนมันก็จะกลายเปนวิวัฒนาการที่  เรียกวา “การปรับตัวสืบทอด (descent with modification)” สวนตัวใดที่ไมสามารถปรับตัวได มันก็จะ คอยๆหายไป และสูญพันธุลงในที่สุด ซึ่งกลไกที่คอยคัดสรรวาสัตวใดจะอยู สัตวใดจะไป นั้นก็คือสิ่งที่ ดารวินเรียกวา “การคัดเลือกตามธรรมชาติ (natural selection)” นั่นเอง ความแตกตางไดแฝงตัวอยูในสิ่งมีชีวิต ทําใหพวกมันสามารถปรับตัวและแพรพันธุสืบทอดสูรุน ตอๆไป ซึ่งกุญแจสําคัญที่ทําใหสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีความแตกตางกันก็คือ สภาพแวดลอมที่ตางกัน นั่นเอง หรือที่จะกลาววา "สภาพแวดลอมไมใชสิ่งที่ทําใหเกิดการผันแปรของสิ่งมีชีวิต หากแตความผัน แปรเหลานั้นมีอยูในทุกชีวิตอยูแลว ธรรมชาติจึงทําหนาที่เปนเพียงผูคัดสรร" (ที่มา : http://www.vcharkarn.com/varticle/39371) วิวัฒนาการและการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทฤษฎีวิวัฒนาการของชารล ดารวิน อธิบายถึงกลไกของการวิวัฒนาการวาเปนผลมาจากการคัดเลือก โดยธรรมชาติทําใหเกิดการปรับเปลี่ยนของลูกหลานที่เกิดขึ้นมาใหม (descent with modification) ดารวินอธิบายวาสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกลวนสืบเผาพันธุมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน โดยการเปลี่ยนแปลง วิวัฒนาการเปนกลไกที่ทําใหเกิดความแตกตางแปรผันของสิ่งมีชีวิตตางๆดังที่เราเห็นในปจจุบันนี้ กระบวนการที่ทําใหเกิดความแตกตางแปรผันก็คือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) ซึ่งทําให เกิดการปรับตัว (adaptation) ของสิ่งมีชีวิตจนกระทั่งเปลี่ยนแปลงเปนสิ่งมีชีวิตชนิดใหมขึ้นมาโดยอาศัย กลไกดังกลาวรวมกับระยะเวลาที่ยาวนานนับตั้งแตสิ่งมีชีวิตชนิดแรกกําเนิดบนโลกเมื่อ 3.5 ถึง 3.8 พันลานปที่ผานมา จึงทําใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพดังที่ปรากฏบนโลกในปจจุบันนี้ ดารวินกลาว เปรียบเทียบการวิวัฒนาการวาเปรียบเสมือนตนไมที่มีการแตกกิ่งกานสาขาออกจากลําตนซึ่ง เปรียบเสมือนการเกิดสปซีสใหมที่มีตนกําเนิดมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน ปจจัยที่ทําใหเกิดกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติและการปรับตัวมีดังตอไปนี้ สิ่งมีชีวิตทั่วไปมี ศักยภาพในการสืบพันธุสูง กลาวคือสิ่งมีชีวิตสวนใหญใหกําเนิดลูกมากเกินกวาที่ทรัพยากรจะรองรับได เนื่องจากทรัพยากร เชน อาหาร ที่อยูอาศัย มีอยูอยางจํากัด จึงนําไปสูการแกงแยงเพื่อการอยูรอด หรือคํา
  • 20. 20 ของดารวินก็คือ “struggle for existence” ซึ่งจะมีเพียงบางสวนของประชากรเทานั้นที่สามารถดํารงอยูได โดยทั่วไปในประชากรของสิ่งมีชีวิตจะมีความแปรผันและลักษณะที่แปรผันบางลักษณะในประชากรมี ความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมมากกวาจึงทําใหการแกงแยงเพื่อการอยูรอดนั้นดีกวาลักษณะอื่นๆ กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือประชากรที่ปรับตัวไดดีกวาจะมีโอกาสในการอยูรอดและการสืบพันธุที่ดีกวา (คําศัพทที่อธิบายถึงโอกาสในการอยูรอดและการสืบพันธุคือ ฟตเนส (fitness)) เมื่อเวลาผานไปลักษณะที่ เปนลักษณะที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมดังกลาวก็จะเพิ่มขึ้นในประชากรและเมื่อลักษณะที่ถูกคัดเลือก โดยธรรมชาติสะสมมากขึ้นเรื่อยๆในประชากรเมือเวลาผานไปก็จะนําไปสูการเกิดสปซีสใหม ่ (speciation) ในที่สุด 2. ตัวอยางการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ความสามารถในการสืบพันธุจะเพิ่มจํานวนไดสูงมาก หากไมมีปจจัยที่จํากัด การ เพิ่มจํานวนแลวสิ่งมีชีวิตทั้งหลายคงจะลนโลก แตตามที่เปนจริงจํานวนของสิ่งมีชีวิตคอนขางจะคงที่ เนื่องจากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (naturalselection)ซึ่งอาศัยหลักเกณฑพื้นฐานวา จะไมมี ลักษณะทางกรรมพันธุชุดเดียวที่เหมาะสมตอสภาพความเปนอยูของ สิ่งมีชีวิตในแตละแหลงที่อยูอาศัย ฉะนั้นการคัดเลือกโดยธรรมชาติ จึงตองมีปจจัยสําคัญ คือ ความสามารถในการสืบพันธุ ของสิ่งมีชีวิต เพื่อ การถายทอดลักษณะแตกตางที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตนั้นตองอยูใตอิทธิพลของสิ่งแวดลอม ผลของการคัดเลือกโดยธรรมชาติจะไดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะ สปชีสเดียวกัน ทีมีความแตกตางกัน อยางเห็น ่ ไดชัดทางกรรมพันธุ ซึ่งเรียกวาโพลีมอรฟซึม(polymorphism)
  • 21. 21 ตัวอยางเชน สีและลวดลายบนเปลือกหอย : หอยชนิด Cepaea nemoralis เปลือกมีสีเหลือง นํ้าตาลชมพู สมแดง และ ยังมีชนิดที่มีลวดลาย เปนเสนพาดไปตามเปลือกจากการศึกษาพบวาในแหลงที่อยูที่มีลักษณะเรียบๆ เชน บริเวณโคลนตมหรือทรายจะพบหอย ที่มีลักษณะเปลือกเปนสีเรียบๆมากกวาลักษณะอื่นๆ สวนในปา หญาจะพบวามีหอยที่เปลือกลายมากกวาลักษณะอื่น แตในที่บางแหงก็พบหอย ทั้งเปลือก มีลายและหอย เปลือกสีเรียบอยูในที่เดียวกันซึ่งพบวาหอยเปลือกสีเรียบมีความทนทาน ตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได ดีกวาหอยเปลือกลายดังนั้นนอกจากความสัมพันธของเหยื่อและผูลาแลว ยังนาจะเกี่ยวของกับการ ปรับตัวทางสรีระอีกดวย ภาพที่ 5 หอย Cepaea nemoralis ที่มีลายเปลือกตางกัน ที่มา : http://www.sbp.univ-rennes1.fr และ http://www.tiscali.co.uk
  • 22. 22 ภาพที่ 6 ลายเปลือกของหอยที่ไมเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมอาจจะไมจะพนอันตรายจากผูลา ที่มา www.il.mahidol.ac.th/course/ap_biology2/chapter6/index.html ภาพที่ 7 สีของแมลงที่ไมเหมาะสมกับสิ่งแวดลอม จึงถูกนกจับกินเปนอาหาร ที่มา http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charles-darwin/Less5_2.html#
  • 23. 23 สีของผีเสื้อกลางคืน ผีเสื้อกลางคืนชนิด Bristom betularia ซึ่งมีอยูมากในประเทศอังกฤษ อาศัยอยูตามตนไมที่มีไลเคนส เกาะอยูเต็ม สีตัวของมันจึงเปนสีออนจางซึ่งชวยใหมันอําพรางตัว ไดดี จนกระทั่งประมาณป 1845 ซึ่งเปนชวงปที่มี การปฏิวัติ อุตสาหกรรมในเขตเมือง จะมีเขมา ควัน จากปลองควันของโรงงานอุตสาหกรรมฟุงกระจายไปทั่วในอากาศ เริ่มมีผูพบผีเสื้อ กลางคืนสปชีส เดียวกันนี้แตมีสีดําเขมขึ้นกวาเดิมปรากฏขึ้นในเขตเมืองแมนเชสเตอร ซึ่งเปนเขต ที่มีการอุตสาหกรรมใหญ และมีกลุมควันจากโรงงาน อุตสาหกรรม ทําลายพวกไลเคนสตาม เปลือกไม และทําใหตนไมมีสีดําเต็มไปหมดตอมาในชวงเวลาไมถึงรอยปพบผีเสื้อกลางคืนที่มีสี ดําเพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว จนเกือบทั้งหมด เปนผีเสื้อสีดํา A สีออนจาง B สีดํา ภาพที่ 8 การปรับตัวของผีเสื้อ อางอิงจาก : http://en.wikipedia.org/wiki/Peppered_moth
  • 24. 24 นอกจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติแลวกลไกของวิวัฒนาการที่สําคัญยังประกอบไปดวย 1. การผาเหลาทางพันธุกรรม การผาเหลา (mutation) เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตการผาเหลาหรือมิว เทชัน มีทั้งที่เกิดกับเซลลรางกาย ซึ่งเรียกวา โซมาติคมิวเทชัน (somatic mutation) และที่เกิดกับเซลล สืบพันธุ เรียกวา แกมีติคมิวเทชัน (gameticmutation) มิวเทชันที่มีผลตอขบวนการวิวัฒนาการมาก คือ มิว เทชันที่เกิดกับเซลลสืบพันธุ เนื่องจากสามารถถายทอดไปสูรุนตอๆไปได มิวเทชันทําใหเกิดการแปรผัน ทางพันธุกรรม นอกจากนั้นในกระบวนการ สืบพันธุแบบอาศัยเพศ จะมีการแบงเซลลดวยวิธีไมโอซิส เพื่อสรางเซลลสืบพันธุ ในกระบวนการไมโอซิสจะมีครอสซิงโอเวอร (crossing over) โดยมีการ แลกเปลี่ยนชิ้นสวนของโฮโมโลกัสโครโมโซมซึ่งมีผลทําใหอัลลีลของยีน เกิดการเปลี่ยนตําแหนงได รวมทั้งการรวมกลุมกันอยางอิสระ ของโครโมโซม ที่แยกตัวจากคูของมันแลวเปนผลใหยีนตางๆ ได รวมกลุมกันใหมในแตละรุน ดังนั้น การสืบพันธุแบบอาศัยเพศจึงชวยใหยีนตางๆ ทั้งเกาและใหม ไดมี โอกาส รวมกลุมกัน (gene recombination) ในรูปแบบตางๆ ทั้งขบวนการมิวเทชันและขบวนการ สืบพันธุแบบอาศัยเพศเปนสาเหตุที่ทําให สิ่งมีชีวิตเกิดความแปรผัน ทางพันธุกรรมอยางมากมาย 2. การอพยพของสมาชิกประชากร สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีการอพยพเขาหรือออกของสมาชิก สงผลให มีการหมุนเวียนพันธุกรรมหรือ ที่เรียกวา การไหลของยีน (gene flow) เกิดขึ้นระหวาง ประชากรยอยๆ ซึ่งการอพยพจะทําใหสัดสวน ของอัลลีลเปลี่ยนแปลงไป ในประชากรที่มีขนาดใหญมากๆ การอพยพเขาหรืออพยพออกของสมาชิก อาจจะเกือบไมมีผลตอสัดสวนของยีนในกลุมประชากรเลย แตถาประชากรมีขนาดเล็ก เมื่อมีสมาชิก อพยพออกไปทําใหกลุมประชากรสูญเสียยีนบางสวน ทําใหมีโอกาสในการถายทอดหรือแลกเปลี่ยนยีน กับกลุมยีนนั้นนอยลงไป หรือไมมีโอกาสเลยในทางกลับกัน การอพยพเขาของประชากร ในกลุม ประชากรขนาดเล็ก จะทําใหเกิดการเพิ่มพูนบางสวน หรือบางยีนใหมเขามาในประชากร มีผลทําใหเกิด ความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร 3. ขนาดของประชากร การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร มีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงความถี่ยีนและ โครงสรางของ ยีนพูล (gene pool) ซึ่งเกิดจากโอกาส หรือความบังเอิญ หรือจากภัยธรรมชาติ ประชากรที่ มี ขนาดใหญและมีการผสมพันธุแบบสุม จะไมพบวามีการเปลี่ยนแปลง ความถี่ของยีน มากมายอยาง มี
  • 25. 25 นัยสําคัญ แตถาเปนประชากรขนาดเล็กจะมีผลอยางมาก การเปลี่ยนแปลงผกผันทางพันธุกรรม อยาง ฉับพลันอยางไมมีทิศทางแนนอน หรือการเปลี่ยนแปลงความถี่ของยีนอยางฉับพลันโดยเหตุบังเอิญ ตาม ธรรมชาติที่เกิดขึ้นแบบสุม ไมสามารถคาดการณทิศทางการเปลี่ยนแปลงความถี่ ของยีนไดแนนอน เชนนี้ เรียกวา เจเนติก ดริฟต (genetic drift) เปนกลไกที่สําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหความถี่ของยีน มีการเบี่ยงเบน จนเกิดการเปลี่ยนแปลง ความถี่ของยีน ตัวอยางของปรากฏการณนี้ไดแก วิวัฒนาการ ของสัตวชนิดใหมที่ เกิดขึ้นตามหมูเกาะตางๆ ในมหาสมุทรแปซิฟก ดังตัวอยางของแมลงหวี่ชนิดตางๆ ที่เกิดบนหมูเกาะ ฮาวาย หมายเหต ุ : gene pool หมายถึง ยีนโดยรวมซึ่งแลกเปลี่ยนกันระหวางสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะ ในเผาพันธุ เดียวกัน เปรียบเหมือนมีบอของยีน ซึ่งสิ่งมีชีวิตนํามาฝากและนําไปใช รูปที่ 2.18 ภาพแสดงปรากฏการณ เจเนติกดริฟต ของแมลงหวี่ ที่มา : http://evolution/Berkeley/edu
  • 26. 26 ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องปากคีบกับธัญพืช วันที่...........เดือน............................พ.ศ.................... สมาชิกกลุมที.่ ......ไดแก 1. ………………………………………………… เลขที…… ่ 2............................................................................. เลขที.่ ....... 3............................................................................ เลขที.่ ...... 4............................................................................ เลขที.่ ...... วัสดุและอุปกรณ 1. 2. 3. 4. วิธีการทดลอง 1. 2. 3. บันทึกผลการทดลอง เกาะ ธัญพืช คีมที่ใช
  • 28. 28 ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง Natural Selection 1. ใหนักเรียนวิเคราะหแนวโนมของประชากรตะบองเพชร จากภาพดังกลาว พรอมอธิบายเหตุผล ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 2. ในภาพคือนกในอดีตและนกปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางรูปราง ใหนักเรียนชวยกันเติม ลักษณะสิ่งแวดลอมที่ทําใหนกมีลักษณะแบบนกปจจุบัน นกในอดีต นกในปจจุบัน 1. อาศัยอยูใกลแมน้ํา 2. กินพืชน้ํา 3. มีผูลาที่อาศัยบนบก 4. อพยพเปนระยะทางที่ไกล มากในแตละป ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 29. 29 แนวทางการตรวจคําตอบใบกิจกรรมที่ 1 1. นักเรียนบันทึกขอมูลครบถวนและสามารถสรุปไดวาการเลือกปากคีบขึ้นอยูกับลักษณะของธัญพืช (ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูตรวจ) แนวทางการตรวจคําตอบใบกิจกรรมที่ 2 1. แนวโนมลักษณะตะบองเพชรจะมีหนาม เพื่อปองกันสัตวกัดกิน 2. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะตางๆไดอยางสอดคลอง ลักษณะละ 1 คะแนน เหตุผลสนับสนุน ขอละ 1 คะแนน เชน ปกมีขนาดสั้นและบางลง เนื่องจาก ไมตองอพยพเปนระยะทางไกลเทาเดิม (1 คะแนน) (1 คะแนน) เนนใหนักเรียนอธิบายลักษณะกับสภาพแวดลอมอยางสมเหตุสมผล
  • 30. 30 แบบทดสอบทายบท 1. ขอความที่สอดคลองกับวิวัฒนาการมากที่สุดคือขอใด? 1. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตจากแบบงายๆไปซับซอนขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตมักมีโครงสรางใหมเกิดขึ้นเสมอ 3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตมีทิศทางที่ไมแนนอน 4. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงอยางคอยเปนคอยไป สืบเนื่องกันตลอดเวลา 2. การเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตนอกจากเกิดจากการคัดเลือกตามธรรมชาติแลว ยังอาจเกิดจาก กลไกตางๆ ยกเวนขอใด? 1. การลอยหางจากกันทางพันธุกรรม (genetic drift) 2. การถายเทเคลื่อนยายยีน (gene flow) 3. การใชและไมใช (use and disuse) 4. การผาเหลา (mutation) 3. กรณีใดตอไปนี้เปนตัวอยางที่สนับสนุนทฤษฎี Natural selection ? 1. เชื้อเอดสแพรระบาดอยางรวดเร็ว เนื่องจากพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมของมนุษย 2. มีพลาสโมเดียมสายพันธุที่ตานยารักษาโรคมาลาเรียเพิ่มขึ้น 3. นกกะทาวางไขจํานวนมากขึ้นเมื่อชวงกลางวันยาวนานขึ้น 4. จิ้งจกเปลี่ยนสีตามสภาพแวดลอมที่อยูอาศัย 4. วิวัฒนาการตามแนวคิดของดารวินยึดหลักตางๆยกเวนหลักเกี่ยวกับขอใด? 1. หลักการเกี่ยวกับการแปรผันของสิ่งมีชีวิต 2. หลักการเกี่ยวกับการคัดเลือกโดยธรรมชาติ 3. หลักการเกี่ยวกับการอพยพยายถิ่นของสิ่งมีชีวิต 4. หลักการเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะจากบรรพบุรุษไปลูกหลาน
  • 31. 31 5. จากการสังเกตพบวาผีเสื้อที่มีสีสันกลมกลืนกับสีของเปลือกไมจะมีจํานวนมากกวาผีเสื้อชนิดอื่นๆ ขอสังเกตนี้จะใชขอมูลใดมาอธิบายสนับสนุนไดเหมาะสมที่สุด? 1. ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดารวิน 2. สัญชาตญาณในการหลบหนีศัตรูของสิ่งมีชีวิต 3. การถายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นใหมของลามารก 4. การผาเหลาอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม 6. ปจจัยใดสําคัญที่สุดในการเกิดวิวัฒนาการของนกฟนชในหมูเกาะกาลาปากอส ซึ่งมีหลายสปชีสตางๆกัน? 1. การเกิดภัยธรรมชาติ 2. การอพยพยายถิ่นตามฤดูกาล 3. กลไกการแยกทางการสืบพันธุ 4. การแยกกันทางสภาพภูมิศาสตร 7. สิ่งที่ยืนยันถึงหลักการคัดเลือกโดยธรรมชาติคือขอใด ? 1. สิ่งมีชีวิตที่แข็งแรงกวาคือผูชนะ 2. สิ่งมีชีวิตที่จะอยูรอดตองเหมาะสมกับสิ่งแวดลอม 3. สิ่งมีชีวิตที่จะอยูรอดตองมีขนาดใหญและมีลูกไดเปนจํานวนมาก 4. ถูกทุกขอ 8.ทฤษฎีวิวัฒนาการของดารวิน มีหลักการที่สําคัญเรื่องใด 1. หลักการใชและไมใชอวัยวะ 2. หลักการคัดเลือกโดยธรรมชาติ 3. หลักการผันแปรของกรรมพันธุ 4. การถายทอดลักษณะที่ไดจากการฝกฝน
  • 32. 32 9.แมสุนัขตัวหนึ่งคลอดลูกออกมา 7 ตัว ตามแนวความคิดของ ชารล ดารวิน ลูกสุนัขทั้ง 7 ตัว จะมีสี ขนเหมือนกันหรือตางกันอยางไร 1. มีสีขนตางกันทุกตัว 2. มีสีขนเหมือนกันทุกตัว 3. มีสีขนเหมือนแมทุกตัว 4. บางตัวสีขนเหมือนกันบางตัวตางกัน 10. การคัดเลือกในธรรมชาติ (natural selection) จะเกิดขึ้นตอเมื่อลักษณะนั้น 1. เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดลอม 2. ถายทอดไปยังรุนตอๆไปได 3. ควบคุมโดยจีนที่เกิด mutationไดยาก 4. มีความแตกตางกัน ในหมูประชากรนั้น