SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสาคัญ
ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland)
ในร่างกายคนเรามีต่อมไร้ท่อทั้งหมด 9 ต่อม
 ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
 ต่อมไธรอยด์ (Thyroid gland)
 ต่อมพาราไธรอยด์ (Parathyroid gland)
 ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
 ต่อมไพเนียล (Pineal gland)
 ตับอ่อน (Pancreas)
 ต่อมไทมัส (Thymus)
 รังไข่ (Ovary)
 อัณฑะ (Testes)
 รก
 กระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก
3
ไฮโพทาลามัสกับการสร้างและหลั่งฮอร์โมน
ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
 ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง GH (GH releasing hormone,GHRH)
 ฮอร์โมนยับยั้งการหลั่ง GH (GH inhibiting hormone,GHIH)
 ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งโพรแลกติน(prolactin releasing
hormone,PRH)
 ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งของต่อมไทรอยด์ (thyroid releasing
hormone,TRH)กระตุ้นการหลั่ง TSH
 ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง Gn (gonadotrophin releasing
hormone,GnRH)กระตุ้นการหลั่ง FSH
และ LH
ไฮโพทาลามัสกับการสร้างและหลั่งฮอร์โมน
ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
ต่อมใต้สมอง ( Pituitary gland หรือ Hypophysis) อยู่บริเวณตรง
กลางสมอง แบ่งได้ เป็น 3 ส่วน คือ
1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (Intermidiate lobe)
3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ควบคุมการหลั่งฮอร์โมน
โดยไฮโปทาลามัส โดยหลั่ง
releasing / inhibiting
ผ่านทางเส้นเลือด portal
vessel
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
Growth hormone (GH)
เป็นโปรตีนฮอร์โมน
ทาหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตทั่วๆไปของร่างกาย ช่วยเพิ่มระดับ
น้าตาลในเลือด
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โซมาโตทรอฟิน (Somatotrophin) หรือ โซมาโต
ทรอฟิกฮอร์โมน (Somatotrophic hormone) ย่อว่า STH
Growth hormone (GH)
เป็ นฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายโดยการเพิ่มการ
สังเคราะห์โปรตีนของเซลล์ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะเซลล์
กระดูกและกล้ามเนื้อ
GH ออกฤทธิ์ที่ epiphyseal cartilage ของกระดูกยาว ทาให้กระดูก
ยาวขยายออก เกี่ยวข้องกับเพิ่มเนื้อกระดูก (matrix) และเพิ่มจานวน
เส้นใย (collagenous fiber) ที่ส่วนปลายกระดูกยาว
Growth hormone (GH)
ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะทาให้มีลักษณะเตี้ยแคระ
(Dwarfism) เนื่องจากการเจริญเติบโตของ
กระดูกถูกยับยั้ง ระบบสืบพันธุ์ไม่เจริญ
ถ้ามีมากเกินไปจะทาให้ร่างกายสูงใหญ่
ผิดปกติ เรียกภาวะนี้ว่า Gigantism
ในเด็ก
Growth hormone (GH)
ถ้ามีมากเกินไปร่างกายไม่สูงแล้ว เนื่องจากกระดูกทางด้านยาวปิดไปแล้ว ยาวอีก
ไม่ได้ แต่จะมีผลต่อการกระตุ้นการเจริญของกระดูกในด้านกว้าง ทาให้กระดูกตาม
บริเวณใบหน้า นิ้วมือ นิ้วเท้า ขยายขนาดกว้างขึ้น ฟันห่าง ผิวหนังหนาและหยาบ
เรียกอาการนี้ว่า อะโครเมกลี (Acromegaly)
ในผู้ใหญ่
Growth hormone (GH)
ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะทาระดับน้าตาลในเลือด
ต่า อารมณ์เครียด หงุดหงิดง่ายและมักจะ
เป็ นลมหน้ามืดง่าย อาจเป็ นโรคผอมแห้ง
เรียกว่า Simmon’s disease
ในผู้ใหญ่
Prolactin (PRL)
เป็นโปรตีนฮอร์โมน
กระตุ้นการเจริญของท่อของการผลิต
น้านมกระตุ้นการสร้างและผลิตน้านม
มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างน้านม
และการเจริญเติบโตของเซลล์เต้านม
โดยทางานร่วมกับ GH อีกทั้งยังมีผล
ต่อพฤติกรรมของความเป็นแม่
Prolactin (PRL)
ในขณะตั้งครรภ์และตอนคลอดจะมี โพรแลกตินสูง
ในสัตว์เพศเมียที่ไม่ตั้งท้อง หรือผสมไม่ติด ไฮโปธาลามัสจะหลั่งโดปามีน
(dopamine) มาที่ต่อมใต้สมองส่วนหน้าเพื่อยับยั้งการหลั่งโปรแลคติน
ในเพศชายไม่ทราบหน้าที่แน่ชัด แต่มีผู้รายงานว่าทาหน้าที่ร่วมกับ
ฮอร์โมนเพศชายในการกระตุ้นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ เช่น
ต่อมลูกหมาก ท่อนาอสุจิ และต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ
Gonadotropin (Gn)
ประกอบด้วย
- FSH (Folicle stimulating hormone) เป็นไกลโคโปรตีนฮอร์โมน
- LH (Luteinizing hormone) เป็นไกลโคโปรตีนฮอร์โมน
FSH กระตุ้นการเจริญเติบโตของหลอดสร้างอสุจิ (Siminiferous
tubule) ในอัณฑะและกระตุ้นการสร้างอสุจิ (Spermatogenesis)
LH จะกระตุ้นกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล (Interstitial cell) หรือ
เลดิกส์เซลล์ (Leydig cell) ของอัณฑะให้สร้างและหลั่งฮอร์โมนเพศ
ชาย คือ ฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน (testosterone)
ในเพศชาย
Gonadotropin (Gn)
FSH จะกระตุ้นฟอลลิเคิล (Follicle) ในรังไข่ให้เจริญและสร้าง
ฮอร์โมนคือ เอสโตรเจน (Estrogen)
ในเพศหญิง
Gonadotropin (Gn)
LH กระตุ้นให้ไข่สุกและการตกไข่ และหลังการตกไข่แล้วจะช่วย
กระตุ้นให้เซลล์ที่เหลือในฟอลลิเคิลให้กลายเป็ นคอร์ปัสลูเทียม
(corpus luteum) เพื่อสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน
(progesterone) ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก เพื่อ
รองรับการฝังตัวของเอ็มบริโอ
ในเพศหญิง
Gonadotropin (Gn)
Hypothalamus
Pituitary gland
Ovary
Estrogen
Progesterone
Gonadotropin (Gn)
Adrenocorticotrophic hormone (ACTH)
เป็นโปรตีนฮอร์โมน
ทาหน้าที่กระตุ้นการเติบโตและการสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไต
ส่วนนอก และกระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอกให้หลั่งฮอร์โมนเป็นปกติ
Adrenocorticotrophic hormone (ACTH)
กระตุ้นการปลดปล่อยกรดไขมันออกจากเนื้อเยื่อ
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน
กระตุ้นการหลั่ง GH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ACTH ยังมีลักษณะบางอย่างเหมือนฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
ส่วนกลาง (MSH) จึงกระตุ้นเมลานินภายในสัตว์เลือดเย็น เช่น กบ
ทาให้มีสีเข้มขึ้น
Adrenocorticotrophic hormone (ACTH)
Thyroid stimulating hormone (TSH)
เป็นฮอร์โมนประเภทไกลโคโปรตีน
มีหน้าที่หลัก คือ กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนเป็นปกติ
Thyroid stimulating hormone (TSH)
Endorphins
เป็นสารที่ออกฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ทาหน้าที่ระงับความเจ็บปวด
กระตุ้นให้มีความคิดสร้างสรรค์ ช่วยเพิ่มความตื่นตัวมีชีวิตชีวา
มีความสุข
หลั่งขณะออกกาลังกาย มีอารมณ์แจ่มใส
ต่อมใต้สมองส่วนกลาง
ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเมลาโนไซต์ (Melanocyte stimulating
hormone) หรือ MSH
MSH ทาหน้าที่ทาให้รงควัตถุภายในเซลล์ผิวหนังกระจายไปทั่วเซลล์
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ต่อมใต้สมองส่วนหลังหรือ
นิวโรไฮโพไฟซีส ไม่ได้สร้างฮอร์โมนเอง
แต่ฮอร์โมนถูกสร้างมาจาก นิวโรซีครีทอรี
เซลล์ของไฮโพทาลามัสโดยกลุ่มเซลล์
เหล่านี้จะมีแอกซอนมาสิ้นสุดอยู่ภายใน
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง และเข้าสู่กระแส
เลือด
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
Oxytocin
- ทาหน้าที่กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบรอบ ๆ
ต่อมน้านมให้ขับน้านม
- ฮอร์โมนนี้จะหลั่งออกมามากตอนคลอด
เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อมดลูกบีบตัวขณะคลอด
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
Antidiuretic hormone (ADH) หรือ vasopressin
- มีผลให้มีการดูดน้ากลับที่ท่อหน่วยไต กระตุ้นให้หลอดเลือดบีบตัว
- ฮอร์โมนนี้จะมีการหลั่งออกมาเมื่อกระหายน้า และขาดน้า
- ถ้ามี ADH น้อยมากๆ จะทาให้เกิดโรคเบาจืด (Diabetes
insipidus) มีปัสสาวะออกมามากถึงวันละ 20 ลิตรต่อวัน
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ยาที่มีผลต่อการกระตุ้นประสาทส่วนกลาง ฝิ่น เฮโรอีนจะมีผลใน
การกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนด้วย
สภาพตึงเครียดและสารนิโคตินทาให้มีการหลั่ง ADH เพิ่มขึ้น ทา
ให้ปัสสาวะน้อยลง แต่แอลกอฮอล์ยับยั้งการหลั่ง ADH ทาให้
ปัสสาวะมากขึ้น
ต่อมไทรอยด์ ( Thyroid gland)
เป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ มี 2 lobe อยู่บริเวณลาคอ หน้า
หลอดลมใต้กล่องเสียงเล็กน้อย
ต่อมนี้สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ
- ไธรอกซิน (thyroxin) หรือ tetraiodothyronine (T4 )
และ triiodothyronine (T3)
- Calcitonin (thyrocalcitonin)
ไธรอกซิน (thyroxin)
เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากกรดอะมิโนไทโรซีนกับไอโอดีน
สร้างจากกลุ่มเซลล์ไทรอยด์ฟอลลิเคิล
มี 2 ชนิด คือ triiodothyronine (T3) ซึ่งมีไอโอดีน 3 อะตอมและ
tetraiodothyronine (T4 ) มีไอโอดีน 4 อะตอม
ฮอร์โมนที่หลั่งแกมาส่วนใหญ่ (90%) เป็น T4 ส่วน T3 มีปริมาณน้อยกว่า
ฮอร์โมนนี้จะถูกเก็บไว้ในต่อม และจะหลั่งออกมาเมื่อถูกกระตุ้นจากต่อมใต้
สมองส่วนหน้า ฮอร์โมนทั้ง 2 ชนิดให้ผลอย่างเดียวกันต่อเซลล์เป้ าหมาย
ไธรอกซิน (thyroxin)
ควบคุมกระบวนการเมตาบอลิซึมของโภชนะ โดยเร่งปฏิกิริยา oxidation ขั้น
ต่างๆของ Kreb’s cycle ภายใน mitochondria
ทางานร่วมกับ GH ในการควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายให้เป็นไปตามปกติ
ช่วยในการเจริญเติบโตของกระดูก สมอง และระบบประสาท
ควบคุมกระบวนการ metamorphosis ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
ฮอร์โมนไธรอกซินจะช่วยทาให้รู้สึกกระฉับกระเฉง
ไธรอกซิน (thyroxin)
ไธรอกซิน (thyroxin)
ต่อมไทรอยด์ ( Thyroid gland)
ถ้าขาดฮอร์โมนนี้ (Hypothyroidism)
- ในเด็ก ทาให้เกิดความผิดปกติของการ
เจริญเติบโตของกระดูกและสมอง ทาให้
ร่างกายไม่เจริญเติบโต มีอาการปัญญาอ่อน
อย่างมาก ตัวเตี้ย ใบหน้าหยาบ ลิ้นคับปาก
เรียกภาวะนี้ว่า Cretinism
ต่อมไทรอยด์ ( Thyroid gland)
ในผู้ใหญ่จะทาให้เกิดกลุ่มอาการเรียกว่า Myxedema
- ร่างกายจะมีเมตะบอลิซึมต่า ทาให้อุณหภูมิร่างกายลดลง ตัวเย็น
หัวใจเต้นช้า
- อ่อนเพลีย เฉื่อยชา สมองตื้อ การพูดและความคิดช้าลง
- น้าหนักตัวเพิ่ม
- ผิวหนังแห้งตกสะเก็ด และผมร่วง
ต่อมไทรอยด์ ( Thyroid gland)
Endemic goiter
- เกิดจากการขาดไอโอดีน ทาให้การสังเคราะห์ไธรอกซินลดลง
- มีการโตขึ้นของต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ ( Thyroid gland)
ถ้าฮอร์โมนนี้มากเกินไป (Hyperthyroidism)
Graves' disease
- อัตราเมตะบอลิซึมสูงขึ้นทาให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น ตัวร้อน เหงื่อจึง
ออกมากและน้าหนักตัวลดลง ตาโปน และถลน หัวใจจะเต้นเร็วขึ้นความดัน
เลือดก็สูงขึ้น และระบบประสาทไวต่อการกระตุ้น จึงหงุดหงิดง่าย
ต่อมไทรอยด์ ( Thyroid gland)
Calcitonin
- สังเคราะห์จากต่อมไธรอยด์ โดยกลุ่มเซลล์ Parafollicular cell
(C-cell)
- มีหน้าที่ควบคุมสมดุลของระดับแคลเซียมในเลือด โดยมีผลลดระดับ
แคลเซียมในเลือด (รวมทั้งฟอสเฟต)
ต่อมไทรอยด์ ( Thyroid gland)
เพิ่มการสะสมแคลเซียมที่กระดูก
ลดการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไต (ขับแคลเซียมทิ้งทางปัสสาวะ)
ลดการดูดแคลเซียมที่ลาไส้เล็ก (เพื่อไม่ให้แคลเซียมถูกดูดเข้าสู่กระแสเลือด)
ต่อมไทรอยด์ ( Thyroid gland)
ต่อมพาราไทรอยด์ ( Parathyroid gland )
Parathormone (PTH)
- มีหน้าที่เพิ่มระดับ Ca2+ และ ฟอสฟอรัสในกระแสเลือด โดยกระตุ้น
ให้มีการสลายแคลเซียมจากกระดูกออกมามากขึ้น และทาให้มีการดูด
ซึมแคลเซียมที่ลาไส้และท่อหน่วยไตมากขึ้น
ต่อมพาราไทรอยด์ ( Parathyroid gland )
- ถ้าหากมีฮอร์โมนนี้มากเกินไป
- เกิดการสะสมของแคลเซียมที่ไต เส้นเลือด
- กระดูกเสียแคลเซียมมากเกินไป จึงเปราะบาง และหักง่ายเป็นโรคกระดูกพรุน
- ถ้าหากมีฮอร์โมนนี้น้อยเกินไป
- แคลเซียมในเลือดลดลง
- แคลเซียมต่ามาก ๆ จะมีอาการชักกระตุกและเกร็ง
ต่อมพาราไทรอยด์ ( Parathyroid gland )
ต่อมพาราไทรอยด์ ( Parathyroid gland )
ต่อมหมวกไต (Adrenal glands)
ต่อมหมวกไตแบ่งออกเป็น 2 ส่วน
- ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
- ต่อมหมวกไตชั้นใน (Adrenal medulla)
Cortex แบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ
 zona glomerulosa ผลิตและหลั่ง
ฮอร์โมน Mineralocorticoid
 zona fasiculata ผลิตและหลั่ง
ฮอร์โมน Glucocorticoid
 zona reticularis ผลิตและหลั่ง
ฮอร์โมนเพศ
ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
ถูกควบคุมโดย ACTH แบ่งเป็น 3 ชั้นคือ
 Zona glomerulosa ผลิตและหลั่งฮอร์โมนกลุ่ม mineralocorticoid คือ
- อัลโดสเตอโรน (aldosterone)เป็นสเตอรอยด์ฮอร์โมนทาหน้าที่ควบคุม
การดูดกลับของ Na+ ที่หลอดไต
- การหลั่งฮอร์โมน aldosterone เกิดจากสภาวะที่เลือดมีความดันต่า
เนื่องจากการขาดน้า หรือการมี Na+ ลดลงในเลือด
ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
 Zona fasciculata สังเคราะห์ฮอร์โมนกลุ่มกลูโคคอร์ติคอยด์คือ
- cortisol, cortisone และ corticosterone
- มีหน้าที่ลดการใช้กลูโคสภายในเซลล์ เพิ่มปริมาณกลูโคสในเลือดให้สูงขึ้น
- กระตุ้นการสลายไขมัน และเพิ่มการสลายตัวของโปรตีนในเซลล์ เพื่อทา
ให้ร่างกายเตรียมพร้อมต่อการปรับตัวเมื่อเกิดสภาวะเครียด
- ถ้ามีฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ มากเกินไป จะทาให้เป็นโรคคูชชิง
(Cushing’ s syndome)
ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
 Zona reticularis สร้างพวกฮอร์โมนเพศ
- ส่วนใหญ่เป็นฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone) ฮอร์โมนเพศหญิง
(Estrogen)มีน้อยมาก
- แต่ฮอร์โมนที่สร้างได้น้อยกว่าเมื่อเทียบกับที่สร้างจากรังไข่หรืออัณฑะ
ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
อาจเรียกว่า Hypercorticism
เป็นกลุ่มอาการ ที่เป็นผลมาจากมีระดับของสาร Cortisol ในกระแสเลือด
สูงเกินกว่าปกติมาเป็นเวลาอันยาวนาน
เกิดจากการได้รับยาสเตียรอยด์หรือจากเนื้องอกที่ต่อมใต้สมองหรือ
ต่อมหมวกไต
Cushing's syndrome
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณ
แขนขา
อ้วน มีไขมันสะสมแกนกลางลาตัว ใบหน้ากลมคล้ายดวงจันทร์ หน้า
ท้องแตก ลาย บริเวณต้นคอมีหนอกยื่นออกมา
Cushing's syndrome
Cushing's syndrome
Adrenal insufficiency
ความบกพร่องในการทางานของต่อมหมวกไต
เกิดจากต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนสเตอรอยด์ได้น้อยกว่าปกติ
อาจเกิดจากต่อมหมวกไตชั้นนอกถูกทาลายหรือฝ่อเนื่องมาจากปฏิกิริยา
ภูมิแพ้ต่อตนเอง (Autoimmune) การติดเชื้อ มะเร็ง
Addison's disease
อาการ ผู้ที่เป็นโรคนี้ร่างกายจะซูบผอม
ผิวหนังตกกระ จะมีผิวสีเข้มตามที่ต่างๆ
ของลาตัว เส้นลายมือมีสีเข้มขึ้น เหงือกดา
ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุ
ได้ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
Addison's disease
การทางานของต่อมหมวกไตชั้นในมีความสัมพันธ์กับระบบประสาทอัตโนมัติ
(sympathetic)
การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนี้จะอยู่ภายใต้การควบคุมของ
ไฮโพทาลามัส
ต่อมหมวกไตชั้นในสร้างฮอร์โมนกลุ่มที่เรียกว่า cathecholamine คือ
Epinephrine (adrenaline) ~ 80 % และ Norepinephrine
(noradrenaline)
ต่อมหมวกไตชั้นใน (Adrenal medulla)
1. อะดรีนาลิน (adrenalin)
- มีหน้าที่กระตุ้นให้ไกลโคเจนในตับสลายตัวเป็นกลูโคส ทาให้ระดับ
กลูโคสในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
- กระตุ้นหัวใจให้เต้นเร็วขึ้น ความดันเลือดสูงขึ้น ทาให้เมทาบอลิซึม
เพิ่มขึ้นมาก
- เป็นฮอร์โมนทีหลั่งออกมาเมื่อร่างกายอยู่ในสภาวะฉุกเฉิน ดังนั้นจึง
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า fligth or fight hormone
ต่อมหมวกไตชั้นใน (Adrenal medulla)
2. นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin)
- ทาหน้าที่หลั่งจากเส้นประสาทซิมพาเทติก
- ทาให้ความดันเลือดสูงขึ้น
- ทาให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ บีบตัว
ต่อมหมวกไตชั้นใน (Adrenal medulla)
ต่อมไพเนียล (Pineal gland)
อยู่บริเวณกึ่งกลางของสมองส่วน cerebrum
สร้างฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin)
- ทาหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์
- ระงับการหลั่งของฮอร์โมนกลุ่ม gonadotropin ให้น้อยลง
- หากขาดฮอร์โมน melatonin จะทาให้หนุ่มเร็วกว่าปกติ แต่ถ้าสร้างมากเกินไป
จะทาให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้ากว่าปกติ
- ทาหน้าที่เป็นนาฬิกาชีวิต (clock of life) ควบคุมการหลับการตื่น
ตับอ่อน (Pancrease)
ฮอร์โมนผลิตที่เนื้อเยื่อส่วน Islets of langerhans ของตับอ่อน
Beta cells เป็นเซลล์ที่พบมากที่สุด ผลิตฮอร์โมน Insulin ทาหน้าที่ลด
ระดับกลูโคสในกระแสเลือดที่สูงเกินกว่าปกติ
Alpha cells ผลิตฮอร์โมน Glucagon ทาหน้าที่เพิ่มระดับของน้าตาล
ในเลือด
Delta cells ผลิตฮอร์โมน Somatostatin ยับยั้งการหลั่งฮอร์โมน
อินซูลินและกลูคากอน
Insulin
สร้างจากกลุ่มเบตาเซลล์ (β- cell) ของ Islet of Langerhans
ทาหน้าที่ลดระดับกลูโคสในกระแสเลือดที่สูงเกินกว่าปกติ
โดยนาไปเก็บสะสมไว้ในรูปไกลโคเจนที่ตับและกล้ามเนื้อ
ซึ่งถ้าหากกลูโคสมีมากเกินที่จะเก็บในรูปไกลโคเจนก็จะนาไปสังเคราะห์
เป็นไขมันและเก็บที่เนื้อเยื่อไขมัน (adipose tissue)
และยับยั้งการสลายตัวของไกลโคเจน
Glucagon
เป็นโปรตีนฮอร์โมน สร้างจากแอลฟาเซลล์ (α-cell)
ทาหน้าที่เพิ่มระดับของน้าตาลในเลือด
กระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจนที่ตับและกล้ามเนื้อ
หรือกระตุ้นให้เกิดขบวนการสร้างกลูโคสจากสารอื่น
(gluconeogenesis) ที่เซลล์ตับ
ตับอ่อน (Pancrease)
เกิดจากความผิดปกติในการสร้างฮอร์โมนของไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
โรคเบาหวานมี 2 แบบ
- แบบที่ 1 เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้
- แบบที่ 2 เกิดจากตับอ่อนสร้างอินซูลินได้ปกติ แต่ตัวรับอินซูลินผิดปกติ
อินซูลินทางานไม่ได้
เบาหวาน (Diabetes mellitus)
เบาหวาน (Diabetes mellitus)
ต่อมไทมัส (Thymus gland)
มี 2 พูอยู่ด้านหน้าของทรวงอกวางตัวแทรกระหว่างกระดูกอกและหัวใจ
ต่อมนี้เจริญในวัยเด็กและฝ่อไปเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
สร้างฮอร์โมน thymosin ซึ่งช่วยในการเจริญของ T-lymphocyte เป็นการ
สร้างภูมิต้านทานโรค (Antibody) ให้แก่ร่างกาย
ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมเพศ (Gonad)
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศชาย (Testes)
และฮอร์โมนจากอวัยวะเพศหญิง (ovary)
อัณฑะมีกลุ่มเซลล์ที่ทาหน้าที่ในการสร้างฮอร์โมนคือ Interstitial
cell ซึ่งอยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจิ (Seminiferous tubule)
เมื่อเริ่มวัยหนุ่มอินเตอร์สติเชียลเซลล์จะถูกกระตุ้นจากฮอร์โมน LH
หรือ ICSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้สร้างฮอร์โมนเพศชายที่
เรียกว่า แอนโดเจน (Androgen) ประกอบด้วยฮอร์โมนหลายชนิด
ที่สาคัญที่สุด คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone)
อัณฑะ (Testes)
เทสโทสเทอโรนมีหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะ
สืบพันธุ์เพศชาย และควบคุมลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย (Male
secondary characteristic) คือ เสียงแตก นมขึ้นพาน
ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดเครา มีขนขึ้นบริเวณหน้าแข้ง รักแร้
และ อวัยวะสืบพันธุ์ กระดูกหัวไหล่กว้างและกล้ามเนื้อตามแขนขา
เติบโตแข็งแรงมากกว่าเพศหญิง
อัณฑะ (Testes)
ผลิตเซลล์ไข่
สร้างฮอร์โมนเพศ
มีแหล่งสร้างฮอร์โมน 2 แห่ง คือ ฟอลลิเคิล และ คอร์ปัลลูเทียม
รังไข่ (Ovary)
Estrogens
เป็นฮอร์โมนประเภทสเตียรอยด์
ซึ่งพบว่า ในระหว่างการพัฒนาของ follicles เซลล์ที่อยู่ใน
graafian follicles คือ granulose cells และ theca cells
ฮอร์โมนที่สร้างคือ estrogens ได้แก่ β-estradiol, estriol และ
estrone ซึ่ง β-estradiol มีฤทธิ์แรงที่สุดในกลุ่ม
Estrogens
ฮอร์โมน estrogens มีผลต่อการพัฒนาของเพศเมีย และกระตุ้น
การพัฒนาของต่อมน้านม
estrogens จะสูงมากในช่วงวัยสาวหรือช่วงเป็นสัด (heat)
Progesterone
เป็นฮอร์โมนประเภทสเตียรอยด์ ผลิตโดย คอร์ปัสลูเทียม (corpus luteum)
กระตุ้นการคัดหลั่งของสารที่ผนังมดลูก (endometrium) เพื่อเตรียมพร้อม
ในการฝังตัวของไข่
กระตุ้นการเจริญของต่อมน้านม
รักษาสภาพการตั้งท้อง
corpus luteum ถูกสลายโดยฮอร์โมน PGF2α
Relaxin เป็นโปรตีนฮอร์โมนสร้างมาจากรังไข่ขณะที่ตั้งท้อง มีหน้าที่กระตุ้น
การคลายตัวของเอ็นที่ยึดกระดูกเชิงกราน เพื่อให้คลอดลูกได้ง่ายขึ้น
PGF2α เป็นอนุพันธ์ของกรดไขมัน สามารถสร้างได้จาก granular cell
หลายแห่ง มีหน้าที่ทาให้ follicle แตกปริในช่วงตกไข่ และเกี่ยวข้องกับการ
สลายตัวของ corpus luteum (luteolysis)
รังไข่ (Ovary)
มดลูกสร้างฮอร์โมนที่สาคัญคือ prostaglandins
พบครั้งแรกใน accessory gland โดยเฉพาะ prostate gland ต่อมา
พบทั่วร่างกาย มีอายุสั้นถูกทาลายเมื่อผ่านตับและไต
มีหน้าที่เกี่ยวกับการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบในระบบสืบพันธุ์และระบบ
ทางเดินอาหาร การหลั่งน้าอสุจิ การสลาย corpus luteum (luteolysis)
ฮอร์โมนจากมดลูก (Uterus)
รกสร้างฮอร์โมน Human Chorionic Gonadotropin (HCG)
เป็นไกลโคโปรตีนฮอร์โมนผลิตโดย syncytiotrophoblastic cells
ของรกในสัตว์กลุ่ม primate
พบทั้งในเลือดและปัสสาวะ
ตรวจพบได้นับจากวันที่ 8 หลังจากการผสมติด
มีฤทธิ์คล้าย LH ใช้ในการเหนี่ยวนาการเป็นสัดและกระตุ้นการตกไข่
ฮอร์โมนจากรก (placental hormone)
Gastrin
Secretin
Cholecystokinin;CCK หรือ pancreozymin
Enterogastron
ฮอร์โมนจากระบบทางเดินอาหาร
สร้างจากเนื้อเยื่อชั้นในของกระเพาะอาหาร
มีหน้าที่กระตุ้นให้ parietal cell หลั่งกรดไฮโดรคลอริก
มีหน้าที่กระตุ้นให้ chief cell หลั่งเอนไซม์ pepsinogen
Gastrin
สร้างมาจากเนื้อเยื่อชั้นในของลาไส้เล็กบริเวณดูโอดีนัม
ทาหน้าที่กระตุ้นให้ตับอ่อนหลั่งสารไบคาร์บอเนต
สนับสนุนการทางานของเอนไซม์ CCK
Secretin
สร้างมาจากลาไส้เล็ก
มีหน้าที่กระตุ้นการสร้างและหลั่งน้าย่อยจากตับอ่อน
และกระตุ้นการหดตัวของถุงน้าดี
Cholecystokinin;CCK
สร้างมาจากลาไส้เล็ก
ทาหน้าที่ลดการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร
ทาให้อาหารผ่านลาไส้เล็กช้าลง โดยเฉพาะอาหารพวกไขมัน
ยังยับยั้งการขับน้าย่อยของกระเพาะอาหาร
Enterogastron
ระบบต่อมไร้ท่อ
(Endocrine system)

More Related Content

What's hot

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
พัน พัน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
supreechafkk
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 

Similar to ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ

ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Wichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Wan Ngamwongwan
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
Oui Nuchanart
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
Kobchai Khamboonruang
 
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine systemระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
Tiwapon Wiset
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
CUPress
 

Similar to ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ (17)

ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine systemระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2เนื้อหาเล่ม 2
เนื้อหาเล่ม 2
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 

More from sukanya petin

แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
sukanya petin
 
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
sukanya petin
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
sukanya petin
 

More from sukanya petin (14)

Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and function
 
Root structure and function
Root structure and functionRoot structure and function
Root structure and function
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรม
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
็Hormone
็Hormone็Hormone
็Hormone
 
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
แบบฝึกท้ายบทบท 8 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 2
 
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 11แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
1แบบฝึกท้ายบทบทที่ 8 ชุดที่ 1
 

ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ