SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
อาณาจักรสัตว์และพืช
1.เพื่อศึกษาความหลากหลายของสัตว์และพืช
2.เพื่อศึกษาการพัฒนาของสัตว์และพืช
3.เพื่อศึกษาการจาแนกประเภทของสัตว์และพืช
จุดประสงค์
หลักการและทฤษฎี
• สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจานวนนี้เป็นแมลงประมาณ 6
แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสาคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผล
ทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยังผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทาให้เกิด
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และ
ก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติ
• สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง และ
มีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้
วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน
• 1. กาหนดหัวข้อการทาโครงงาน
• 2. กาหนดขอบเขตการทาโครงงาน
• 3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
• 4. จัดทาโครงงาน
• 5. จัดทาเอกสารรายงาน
• 6. นาเสนอโครงงาน ผ่านโปรแกรม Power Point
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
• 1. โปรแกรม Microsoft Word 2010
• 2. โปรแกรม Power Point 2010
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
• 1 . ได้ทราบเกี่ยวกับระบบนิเวศต่าง ๆ
• 2 .ได้ทราบระบบนิเวศในประเทศไทย
• 3. ได้ทราบถึงปัจจัยแวดล้อมของสังคมป่ าในประเทศไทย
• 4. ได้ทราบถึงลักษณะป่ าชนิดต่างๆของประเทศไทยและสามารถทาการจาแนกได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
• 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
• 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจานวนนี้
เป็นแมลงประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสาคัญต่อ
ระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยัง
ผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทาให้เกิดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
และก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติ
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสร้าง
อาหารได้เอง และมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์
แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้
อาณาจักรสัตว์ KINGDOM ANIMALIA
1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA)
• ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera
• - เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่าสุด และ ไม่มีเนื้ อเยื่อแท้จริง (Parazoa)
• - ตัวเต็มวัยเกาะกับที่ จึงไม่มี nervous system และ sense organ
• - มีทั้งอาศัยในน้าจืดและน้าเค็ม
• - มีสีสดใส (แดง ส้ม เหลือง ม่วง) เกิดจากรงควัตถุที่อยู่ในเซลล์ผิว
• - ฟองน้าที่มีรูปร่างซับซ้อนน้อยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้าส่วนใหญ่ไม่มี
สมมาตร
• - จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม
• - มีโครงร่างแข็งค้าจุน (Spicule ที่เป็นหินหรือแก้ว , Spongin ที่เป็นเส้นใย
โปรตีน)
2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา
(PHYLUM COELENTERATA)
• ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata
• - ร่างกายประกอบด้วย เนื้ อเยื่อ 2 ชั้นคือ Epidermis เเละ Gastrodermis
• - ระหว่างชั้นเนื้ อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่า Mesoglea เเทรกอยู่
• - ลาตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity ทา
หน้าที่เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้าเเละกากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน
• - มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle )ใช้สาหรับจับเหยื่อ
• - ที่หนวดมีเซลล์สาหรับต่อยเรียกว่า cnidocyte เเละมีเข็มสาหรับต่อยเรียกว่า
nematocyst
• - มีวงจรชีพสลับ
• - สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ
• - มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM
PLATYHELMINTHES)
• ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes
• - มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry)
• - ไม่มีช่องว่างในลาตัว (Acoelomate animal) เนื่องจากเนื้ อเยื่อชั้นกลางมีเนื้ อเยื่อ
หยุ่นๆบรรจุอยู่เต็มไปหมด
• - ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีหัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการ
แพร่จากทางเดินอาหารเข้าสู่เซลล์โดยตรง
• - มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก และในพวกพยาธิ
ตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร
• - มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลาตัว
• - มีทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ภายในตัวเอง (Self fertilization)
และผสมพันธุ์ข้ามตัว (Cross fretilization)
4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD)
• ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda
• - ลาตัวกลมยาวหัวท้ายเเหลม ไม่มีรยางค์
• - มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม
• - สมมาตรครึ่งซีก
• - มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนัก
• - ร่างกายมีเนื้ อเยื่อ 3 ชั้น
• - มีช่องลาตัวเทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซึ่งมีของเหลวบรรจุ
อยู่เต็ม
• - ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาทที่ยาวตลอดลาตัว
• - ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ
• - การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มีสารไคตินหุ้มจึงทนทานต่อสภาพเเว
ดล้อมได้ดี
5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA)
• ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida
• - มีลาตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเนื้ อเยื่อกั้น
ระหว่างปล้องเรียกว่า เซปตา ( septa )
• - เเต่ละปล้องมีอวัยวะ คือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวัยวะขับถ่าย )1 คู่
เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดินอาหารเเละช่องลาตัวส่วนหนึ่ง ยกเว้นปล้อง
• - ที่มีหัวที่ซึ่งมีอวัยวะสาคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ )
• - ร่างกายมีสมมาตรครึ่งซีก
• - มีเนื้ อเยื่อ 3 ชั้น
• - มีช่องลาตัวเเท้จริง ( coelom ) ซึ่งเป็นช่องลาตัวในเนื้ อเยื่อมีโซเดิร์ม
• - ระบบประสาทประกอบด้วย ปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ด้านท้อง
6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA)
• ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda
• - มีลาตัวเป็นปล้องและมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน (jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปล้องของลาตัว
• - มีจานวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ ประมาณว่ามีถึงกว่า 9 แสนชนิดที่มนุษย์เราได้ค้นพบ
• - สามารถอาศัยอยู่ได้ในแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลก นับว่าประสบความสาเร็จในการดารงชีวิตบนโลกเป็นอย่าง
มาก เห็นได้จากการที่เราพบสัตว์เหล่านี้ ได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาล และพบเป็นจานวนมาก
• - มีโครงสร้างของร่างกายที่แข็งแรง
• - มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิด
• - มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นข้อปล้องชัดเจน 3ส่วน คือ หัว(Head) , อก(Thorax) และ ท้อง
(Abdomen)
• - ระบบหมุนเวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปด้วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด (Hemocoel)
7. ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA)
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca
• - ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่
• 1. head and foot
• 2. visceral mass
• 3. mantle, palium เกิด mantle cavity มีเหงือกภายใน
• - สัตว์ในไฟลัมนี้ มีลาตัวอ่อนนุ่ม บางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุ้มลาตัวเป็น CaCO3
• - แยกเพศผู้-เมีย
• - ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเล มีอาศัยอยู่บนบกบ้าง
• - อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สประกอบด้วย
• 1. เหงือก (gill) อยู่ภายในช่องแมนเติล พบในมอลลัสทั่วไป
• 2. ผิวตัว ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตัวจะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยู่บนลาตัว เรียกว่า เซอรา
ตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยู่รอบทวารหนัก (anal gill)
• 3. ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ขึ้นมาอยู่บนบกจะมีช่องแมนเติลที่มีผนังยื่นลงมากั้นเป็นห้อง มีของเหลว
หล่อเลี้ยงในช่องนี้ ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้
8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA)
• ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm
• - สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตรเเบบรัศมี
• - ลาตัวเเบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากเเผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง
• - มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้ อหรือผิวหนังที่ปกคลุมอยู่บาง
ชนิด
• - มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน
• - การเคลื่อนไหวใช้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย
• - การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศบางชนิด
เช่น การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไปเป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง
9. ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA)
• คุณสมบัติเฉพำะของ Phylum Chordata
• - มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้าจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต
หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด
• - มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือ
ทางเดินอาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้านท้อง
(Ventral nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตัน
• - มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพวหสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ชั้นสูง เช่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะมีช่องเหงือกตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น เมื่อโตขึ้นช่องเหงือก
จะปิดส่วนปลามีช่องเหงือกตลอดชีวิต
• - มีหางเป็นกล้ามเนื้ อ (Muscular post anal tail)
• พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกาเนิดขึ้นมาแล้วไม่ต่ากว่า 400ล้านปี มี
หลักฐานหลายอย่าง ที่ทาให้เชื่อว่า พืชมีวิวัฒนาการมาจาก
สาหร่ายสีเขียว กลุ่ม Charophytes โดยมีการปรับตัวจาก
สภาพที่เคยอยู่ในน้า ขึ้นมาอยู่บนบก ด้วยการสร้างคุณสมบัติ
ต่างๆ ที่เหมาะสมขึ้นมา เช่น มีการสร้างคิวติน(cutin) ขึ้นมา
ปกคลุมผิว ของลาต้นและใบเรียกว่า คิวทิเคิล (cuticle) เพื่อ
ป้ องกันการสูญเสียน้า และการเกิด สโทมาตา (stomata) เพื่อ
ทาหน้าที่ระบายน้า และแลกเปลี่ยนก๊าซ เป็นต้น
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช
• พืชมีโครงสร้างที่ประกอบขึ้นด้วยหลายเซลล์ที่มารวมกลุ่มกันเป็นเนื้ อเยื่อ
ที่ทาหน้าที่เฉพาะ อย่างเซลล์ของพืชมีผนังเซลล์ที่มีสารประกอบ เซลลูโลส
(cellulose) เป็นองค์ประกอบ ที่พบเป็นส่วนใหญ่ พืชทุกชนิดที่
คุณสมบัติที่สามารถสร้างอาหารได้เอง จากกระบวนการ สังเคราะห์ด้วย
เสง โดยบทบาทของรงควัตถุ คลอโรฟิลล ์์(chlorophylla & b) ที่อยู่
ในคลอโรพลาสต์เป็นสาคัญ รงควัตถุหลักที่พบได้ในเซลล์พืช จะเหมือนกับ
ที่พบในเซลล์ ของสาหร่ายสีเขียว ได้แก่ คลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี และ
แคโรทีนอยด์ นอกจากนี้ พืชยังสะสมอาหารในรูปของแป้ ง (starch)
วงชีวิต (LIFE CYCLE) ของพืช
• วงชีวิต (life cycle) ของพืชเป็นวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation)
คือ ประกอบด้วย ช่วงชีวิตที่เป็นสปอโรไฟต์ (sporophyte generation) ทาหน้าที่
สร้างสปอร์ (spore) สลับกับช่วงชีวิตที่เป็นแกมีโทไฟต์ (gametophyte
generation) ทาหน้าที่สร้างแกมีต (gamete) ได้แก่ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรือ
สเปิร์ม (sperm) และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ (egg) ซึ่งจะมารวมกันเพื่อให้ได้
เป็นเซลล์ใหม่คือ ไซโกต (zygote)
• อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชประกอบขึ้นด้วยหลายเซลล์โดยมีเซลล์โดยมีเซลล์ที่
เป็นหมัน (sterile cell) ห่อหุ้มอยู่รอบนอก การเจริญของพืชจากไซโกตไปเป็นสปอ
โรไฟต์จะต้องผ่านจะต้องผ่านระยะที่เป็นเอ็มบริโอ (embryo) ก่อน คุณสมบัติทั้ง 2
ประการ ดังกล่าวนี้ จะไม่พบในพวกสาหร่าย (algae)
วงชีวิตแบบสลับ
• พืชส่วนใหญ่จะมีสปอโรไฟต์เด่น คือมีขนาดที่มองเห็นได้ชัดเจนทั่วไป ในขณะที่แกมีโทไฟต์ มีขนาดเล็กแทบมองไม่เห็น
ด้วยตาเปล่าในพืชบางกลุ่ม แกมีโทไฟต์ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ที่เป็นโมโนพลอยด์ (n) จานวนมากทาหน้าที่สร้างแกมีต
• สปอโรไฟต์ของพืชประกอบขึ้นด้วยเซลล์ที่เป็นดิพลอยด์(2n)ทาหน้าที่ สร้างสปอร์ จากการแบ่งเซลล์ แบบไมโอ
ซิสของสปอร์มาเทอร์เซลล์ (spore mother cell) ที่อยู่ภายในอับสปอร์ (sporangium) สปอร์ซึ่งเป็นเซลล์ที่เป็นเฮ
พลอยด์ (n) จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ (n) ที่ทาหน้าที่สร้างแกมีตคือ สเปิร์ม และไข่
• การปฏิสนธิ (fertilization) คือการรวมตัวกันของสเปิร์ม (n) และไข่ (n) จะทาให้ได้เซลล์ใหม่ที่เป็นดิ
พลอยด์ (2n) คือ ไซโกตเกิดขึ้นมา และต่อจากนั้นไซโกตจะแบ่งเซลล์ ได้เป็นเอ็มบริโอ ก่อนที่จะเจริญต่อไป เป็น สปอร์
โรไฟต์ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ไซโกตคือ เซลล์เริ่มต้นของช่วงสปอโรไฟต์ และสปอร์คือเซลล์เริ่มต้น ของช่วงแกมีโทไฟต์ ใน
พืชกลุ่มที่ไม่สร้างเมล็ด ส่วนใหญ่จะมีการสร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว(homospore)ซึ่ง สปอร์ดังกล่าวจะแบ่งตัว และ
เจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ที่ทาหน้าที่สร้างทั้งสเปิร์มและไข่ บนต้นเดียวกัน แต่สาหรับพืชที่มีการสร้าง เมล็ดแล้วทุกชนิด
จะสร้างสปอร์เป็น2ชนิด (heterospore) ได้แก่ ไมโครสปอร์ (microspore) และ เมกะสปอร์ (megaspore) ไม
โครสปอร์จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็น ไมโครแกมีโทไฟต์ (microgametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (male
gametophyte) ทาหน้าที่สร้างสเปิร์ม และเมกะสปอร์ จะแบ่งตัวเจริญต่อไป เป็นเมกะแกมีโทไฟต์
(megagametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte) ทาหน้าที่สร้างไข่ ต่อไป
• เรียกโดยทั่วไปว่า ไบรโอไฟต์ (bryophyte) มีทั้งสิ้นประมาณ16,000 ชนิด พืชในดิวิชันนี้ มี
ขนาดเล็ก มีโครงสร้างง่ายๆ ยังไม่มีราก ลาต้นและใบที่แท้จริง ชอบอาศัยอยู่ตามที่ชุ่มชื้น
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศยังต้องอาศัยน้าสาหรับให้สเปิร์มที่มีแฟลกเจลลา (flagella) ว่าย
ไปผสมกับไข่ ต้นที่พบเห็นโดยทั่วไปคือแกมีโทไฟต์ (มีแกมีโทไฟต์เด่น) รูปร่างลักษณะ มีทั้งที่
เป็นแผ่นหรือแทลลัส (thallus) และคล้ายลาต้นและใบของพืชชั้นสูง (leafy form) มีไร
ซอยด์ (rhizoid) สาหรับยึดต้นให้ติดกับดิน และช่วยดูดน้าและแร่ธาตุ มีส่วนคล้ายใบเรียก
phylloid และส่วนคล้ายลาต้นเรียกว่าcauloid แกมีโทไฟต์ของไบรโอไฟต์มีสีเขียว
เพราะมีคลอโรฟิลล์สามารถสร้างอาหารได้เอง ทาให้อยู่ได้อย่างอิสระ เมื่อแกมีโทไฟต์เจริญ
เต็มที่จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์คือสเปิร์มและไข่ต่อไป ภายหลังการปฏิสนธิของสเปิร์มและไข่ จะ
ได้ไซโกตซึ่งแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นเอ็มบริโอ และสปอร์โรไฟต์ ตามลาดับ สปอโรไฟต์ของ ไบร
โอไฟต์ มีรูปร่างลักษณะง่ายๆ ไม่สามารถอยู่ได้อย่างอิสระ จะต้องอาศัยอยู่บนแกมีโทไฟต์
ตลอดชีวิต พืชในดิวิชันนี้ สร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว
• จาแนกพืชในดิวิชันไบรโอไฟตาได้เป็น 3คลาส (Class) ดังต่อไปนี้
• 1.คลาสเฮปาทิคอปซิดา (Class Hepaticopsida) เรียกโดยทั่วไปว่า ลิเวอร์
เวิร์ต (liverwort) มีอยู่ประมาณ 6,000ชนิด แกมีโทไฟต์มีทั้งที่เป็นแทลลัส
(thalloid liverwort) และที่คล้ายคลึงกับลาต้นและใบ (leafy liverwort) สปอโร
ไฟต์มีส่วนประกอบ เป็น 3ส่วน คือ ฟุต (foot) เป็นเนื้ อเยื่อที่ฝังตัวอยู่ในเนื้ อเยื่อแกมี
โทไฟต์ เพื่อทาหน้าที่ดูดอาหารมาใช้ ก้านชูอับสปอร์ (stalk หรือ seta) และอับ
สปอร์ (sporangium หรือ capsule) ที่ทาหน้าที่สร้างสปอร์ ตัวอย่างของลิเวอร์
เวิร์ตที่เป็นแทลลัส ได้แก่ Marchantia และที่มีลักษณะคล้ายลาต้นและใบ ได้แก่
Porella แกมีโทไฟต์ของ Marchantia มีขนาดเล็ก ลักษณะเป็นแผ่นแบนราบ ตอน
ปลายแตกแขนงเป็น 2 แฉก (dichotomous branching) ด้านล่างของเทลลัสมี
ไรซอยด์ ด้านบนมักพบโครงสร้างที่มีรูปร่างคล้ายถ้วย เรียกว่า เจมมา คัป (gemma
cup) ภายในเนื้ อเยื่อเจมมา(gemma)อยู่จานวนหนึ่ง ซึ่งเมื่อแต่ละเจมมา หลุดออก
จากเจมมาคัปแล้ว สามารถเจริญแกมีโทไฟต์ต้นใหม่ได้ นับเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศ แบบหนึ่งนอกเหนือไปจากการแยกออกเป็นส่วนๆ (fragmentation) เส
เปิร์มและไข่ถูกสร้างขึ้นในอวัยวะ ที่มารวมกลุ่มเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะ เป็นก้านชู ที่
เจริญอยู่บนแกมีโทไฟต์
LIVERWORT
• 2.คลาสแอนโทเซอรอปซิดา (Class Anthoceropsida) เรียก
โดยทั่วไปว่า ฮอร์นเวิร์ต (hornwort) ไบรโอไฟต์ในดิวิชันนี้ มีจานวนไม่กี่
ชนิด ตัวอย่างเช่น Anthoceros แกมีโทไฟต์มีลักษณะเป็นแทลลัสขนาด
เล็ก รูปร่างค่อนข้างกลมมน ที่ขอบมีรอยหยักเป็นลอน ด้านล่างมีไรซอยด์
สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแยกออกเป็นส่วนๆ เช่นเดียวกับพวกลิ
เวอร์เวิร์ต ต้นสปอไรไฟต์มีรูปร่างเรียวยาว ฝังตัวอยู่ด้านบน ของแกมีโท
ไฟต์ ประกอบไปด้วยฟุต และอัปสปอร์ขนาดยาว ซึ่งเมื่อเจริญเต็มที่ ปลาย
ของอับสปอร์จะค่อย ๆ แตกออกเป็น 2 แฉก ทาให้มองดูคล้ายเขาสัตว์ จึง
เรียกว่าฮอร์นเวิร์ต
HORNWORT
• 3.คลาสไบรออฟซิดา (Class Bryopsida)
เรียกโดยทั่วไปว่า มอส (moss) เป็น ไบรโอไฟต์
กลุ่มที่มีมากที่สุด คือประมาณ 9,500 ชนิด ต้นแกมี
โทไฟต์มีขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายลาต้นและใบ ส่วน
ที่คล้ายใบ เรียงตัวเป็นเกลียว โดยรอบส่วนที่คล้าย
ลาต้น มีไรซอยต์อยู่ในดิน สปอโรไฟต์มีลักษณะง่าย
ๆ เกิดบนปลายยอดหรือปลายกิ่ง มีส่วนประกอบคือ
ฟุต ก้านชูอับสปอร์ และอับสปอร์
MOSS
• พืชในดิวิชันนี้ ที่พบได้ในประเทศไทย ได้แก่ Psilotum รู้จักกันในชื่อไทยว่าหวายทะ
นอย สปอโรไฟต์ของพืชนี้ มีรูปร่างลักษณะง่ายๆ คือมีแต่ลาต้นยังไม่มีรากและใบ
ลาต้นมีลักษณะเป็นไม้เนื้ ออ่อนขนาดสูงประมาณ 20–30 เซนติเมตร ขึ้นอยู่ตาม
พื้นดิน (tcrrestrial) หรือเกาะติดกับต้นไม้อื่น (epiphyte) ลาต้นแบ่งออกเป็น2
ส่วนคือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน เป็นลาต้นชนิดไรโซม (rhizome) มีสีน้าตาล และมีไรซอยด์
ทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุ ลาต้นส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน(acrial stem)มีสีเขียว มี
ลักษณะเป็นเหลี่ยม ลาต้นส่วนนี้ ทาหน้าที่สังเคราะห์แสง ทั้งลาต้นใต้ดินและลาต้น
เหนือพื้นดิน แตกกิ่งเป็น 2แฉก (dichotomous branching) ที่ส่วนของลาต้น
เหนือพื้นดินมีระยางค์เล็กๆ (appcndage) ยื่นออกมาเห็นได้ทั่วไป สปอโรไฟต์ที่
เจริญต้นที่จะสร้างอับสปอร์ที่มีรูปร่างเป็น 3 พู ที่ซอกของระยางค์บนลาต้นเหนือ
พื้นดิน อับสปอร์สร้างสปอร์ชนิดเดียว แกมีโทไฟต์มีขนาดเล็ก สีน้าตาลไม่มี
คลอโรฟิลล์ รูปร่างเป็นแท่งทรงกระบอก แตกแขนงได้
ภาพแสดงลักษณะและวงชีวิตของ PSILOTUM
PSILOTUM
• สปอโรไฟต์ของพืชดิวิชันนี้ มีราก ลาต้น และใบครบทุกส่วน มีลักษณะเป็น
ไม้เนื้ ออ่อนที่มีขนาด ไม่ใหญ่มากนัก พวกที่เจริญอยู่บนพื้ นดิน อาจมีลาต้น
ตั้งตรง หรือทอดนอน บางชนิดอาศัยเกาะบนต้นไม้อื่น ลาต้นแตกกิ่งเป็น
2 แฉก ใบมีขนาดเล็ก เป็นใบแบบ ไมโครฟิลล์(microphyll)คือเป็นใบที่
มีเส้นใบเพียงเส้นเดียว สปอโรไฟต์ที่เจริญเต็มที่ แล้วจะสร้างอับสปอร์บน
ใบที่มักมีรูปร่างและขนาดแตกต่างไป จากใบที่พบทั่วไป เรียกใบชนิดนี้ ว่า
สปอโรฟิลล์ (sporophyll) ซึ่งจะมาเรียงซ้อนกันแน่นอยู่ที่ปลายกิ่งเป็น
โครงสร้างที่เรียกว่า สโตรบิลัส (strobilus) หรือโคน (cone) พืชในดิวิ
ชันนี้ มีทั้งที่สร้างสปอร์ชนิดเดียวและ 2 ชนิด ตัวอย่างที่รู้จักกันดีได้แก่
Lycopldium และ Selaginella
LYCOPODIUM
• Lycopodium รู้จักในชื่อไทยว่า ช้องนางคลี่ สร้อยสุกรม สาม
ร้อยยอด และหางสิงห์เป็นต้น ที่พบในปัจจุบันมีประมาณ 200
ชนิด ใบในขนาดเท่าๆ กัน เรียงตัวเป็นเกลียวโดยรอบลาต้นและ
กิ่ง เป็นพืชที่สร้างสปอร์ชนิดเดียว แกมีโทไฟต์มีขนาดเล็ก บาง
ชนิดมีคลอโรฟิลล์เจริญอยู่บนพื้นดิน บางชนิดไม่มีคลอโรฟิลล์
เจริญอยู่ใต้ดิน
LYCOPODIUM
• พืชที่มีท่อลาเลียงในดิวิชันนี้ มีเพียง วงศ์เดียว คือ
Equisetaceae แกมีโตไฟต์มีขนาดเล็ก เจริญอยู่ใต้ดิน สปอโร
ไฟต์มีขนาดใหญ่ อายุยืน มีซิลิกา ลาต้นเป็นข้อปล้องชัดเจน
ปล้องเป็นร่องและสั้น ข้อมีใบแบบ ไมโครฟิลล์อยู่รอบข้อ เรียง
แบบ whorl เป็น homosporous plant โดยสปอแรงเจียม
เจริญอยู่บนโครงสร้างที่เรียกว่า สปอแรงจิโอฟอร์
(sporangiophore)
EQUISETUM
• หญ้าถอดปล้องหรืออีควิเซตัม (ดิวิชันสฟีโน
ไฟตา) ต้นที่เห็นเด่นชัด คือสปอร์โรไฟต์มี
อวัยวะสร้างสปอร์คือ สโตรบิลัส ซึ่งเป็นกลุ่ม
ของสปอร์เเรงเจีย (อับสปอร์)
EQUISETUM
• พืชดิวิชันนี้ มีชื่อทั่วไปว่า เฟิร์น (fern) มีจานวนมากที่สุดในบรรดาพ
โรไฟต์ของเฟิร์นมีราก ลาต้นและใบเจริญดี เฟิร์นส่วนใหญ่มีลาต้นใต้ดิน
ใบของเฟิร์นเรียกว่า ฟรอนด์ (frond) เป็นส่วนที่เห็นเด่นชัด มีขนาดใหญ่
เป็นใบแบบเมกะฟิลล์ (megaphyll) มีรูปร่างลักษณะเป็นหลายแบบ มี
ทั้งที่เป็นใบเดี่ยว (simple leaf) และใบประกอบ (compound leaf)
ใบอ่อนของเฟิร์นมีลักษณะพิเศษคือ จะม้วนเป็นวง (circinate
venantion) สปอโรไฟต์ที่เจริญเต็มที่จะสร้างอับสปอร์ ซึ่งมารวมกลุ่มอยู่
ที่ด้านได้ใบ แต่ละกลุ่มของอับสปอร์เรียกว่า ซอรัส (sorus) เฟิร์นส่วน
ใหญ่สร้างสปอร์ชนิดเดียว ยกเว้นเฟิร์นบางชนิดที่อยู่ในน้า และที่ชื้นแฉะ
ได้แก่ จอกหูหนู แหนแดง และผักแว่นมีการสร้างสปอร์ 2 ชนิด
FERN
• แกมีโทไฟต์ของเฟิร์นที่สร้างสปอร์ชนิดเดียว มี
ลักษณะเป็นแผ่นแบนบางสีเขียว (มี
คลอโรฟิลล์) ด้านล่างมีไรซอยด์ ส่วนใหญ่มักมี
รูปร่างคล้ายรูปหัวใจ (prothallus)
FERN
• เป็นจิมโนสเปิร์มที่มีจานวนมากที่สุด มีหลายสกุลด้วยกัน
ที่รู้จักกันดีคือ Pinus ได้แก่ สนสองใบ และสนสามใบ
เป็นต้น สปอโรไฟต์ของ Pinus มีลักษณะเป็นไม้ยืนต้น
ขนาดค่อนข้างใหญ่ และแตกกิ่งก้านสาขาจานวนมาก ใบมี
ขนาดเล็ก รูปร่างคล้ายเข็ม อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม สปอโร
ไฟต์ที่เจริญเต็มที่จะสร้างโคนเพศผู้ที่มีขนาดเล็กและโคน
เพศเมียที่มีขนาดใหญ่บนต้นเดียวกัน
PINUS
• พืชดิวิชันนี้ มีอยู่ประมาณ 60 ชนิด ตัวอย่างที่รู้จักกัน
ดีคือ พวกปรง (Cycas) สปอโรไฟต์มีลาต้นอวบ
เตี้ย และมักไม่แตกแขนง มีใบเป็นใบประกอบแบบ
ขนนกขนาดใหญ่ เกิดเป็นกระจุกที่บริเวณยอดของ
ลาต้น ใบย่อยมีรูปร่างเรียวยาว และแข็ง สปอโรไฟต์
ที่เจริญเต็มที่ จะสร้างโคนเพศผู้ และโคนเพศเมีย
แยกตัวกัน
CYCAS
• ปัจจุบันมีเพียงชนิดเดียวคือ Ginkgo biloba หรือแปะก๊วย
เป็นพืชที่ขึ้นอยู่ในเขตอบอุ่น เช่น ในประเทศจีน สปอโรไฟต์มี
ลักษณะเป็นไม้ยืนต้นขนาดสูงใหญ่ แตกกิ่งก้านสาขาเป็ นจานวน
มาก ใบมีรูปร่างคล้ายพัด สปอโรไฟต์ที่เจริญเติบโตเต็มที่จะสร้าง
โคนเพศผู้และโคนเพศเมียแยกต้นกัน
GINKGO BILOBA
• แบ่งออกได้เป็น 2 คลาส คือ
• 1.คลาสไดคอทีเลโดเนส (Class Dicotyledones)
ได้แก่ พืชใบเลี้ยงคู่ทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 170,000 ชนิด
ลักษณะทั่วไปคือ มีใบเลี้ยง 2 ใบ เส้นใบเป็นร่างแห รากเป็น
ระบบรากแก้ว และส่วนประกอบของดอก (เช่น กลีบเลี้ยง กลีบ
ดอก) มีจานวนเป็น 4–5 หรือ ทวีคูณของ 4–5
DICOTYLEDONES
• 2.คลาสมอโนคอทีเลโดเนส (Class
Monocotyledones) ได้แก่ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ทั้งหมดมีอยู่ประมาณ 60,000 ชนิด ลักษณะทั่วไป
คือ มีใบเลี้ยงใบเดียว ใบมีเส้นใบเรียงตัวแบบขนาน
รากเป็นระบบรากฝอย ส่วนประกอบของดอกมี
จานวนเป็น 3 หรือทวีคูณของ 3
MONOCOTYLEDONES
แหล่งข้อมูล
Kingdomanimal.weebly.com
http://www.student.chula.ac.th/~53370955/ind
ex.html

More Related Content

What's hot

หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันIsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันFang Malinee
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมUnchaya Suwan
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kanghanlom
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนBlogAseanTraveler
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงTupPee Zhouyongfang
 

What's hot (20)

รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันIsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอม
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
 
การประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริงการประเมินตาสภาพจริง
การประเมินตาสภาพจริง
 

Similar to อาณาจักรสัตว์และพืช

อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 

Similar to อาณาจักรสัตว์และพืช (20)

Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
1
11
1
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 

More from Pandora Fern

เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candlePandora Fern
 
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2Pandora Fern
 
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน 2
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน 2ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน 2
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน 2Pandora Fern
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาPandora Fern
 
ใบงานที่ 6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 การทดลองทฤษฎีPandora Fern
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญPandora Fern
 
ขอบข่ายและประเภท
ขอบข่ายและประเภทขอบข่ายและประเภท
ขอบข่ายและประเภทPandora Fern
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือPandora Fern
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาPandora Fern
 
ขอบข่ายและประเภท
ขอบข่ายและประเภทขอบข่ายและประเภท
ขอบข่ายและประเภทPandora Fern
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญPandora Fern
 

More from Pandora Fern (11)

เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candleเทียนหอมแฟนซี Fancy candle
เทียนหอมแฟนซี Fancy candle
 
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
ใบงานที่ 8 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
 
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน 2
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน 2ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน 2
ใบงานที่ 7 การประยุกต์ใช้งาน 2
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
ใบงานที่ 6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่ 6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่ 6 การทดลองทฤษฎี
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
ขอบข่ายและประเภท
ขอบข่ายและประเภทขอบข่ายและประเภท
ขอบข่ายและประเภท
 
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 การพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
ขอบข่ายและประเภท
ขอบข่ายและประเภทขอบข่ายและประเภท
ขอบข่ายและประเภท
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 

อาณาจักรสัตว์และพืช

  • 3. หลักการและทฤษฎี • สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจานวนนี้เป็นแมลงประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสาคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผล ทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยังผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทาให้เกิด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และ ก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติ • สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง และ มีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้
  • 4. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน • 1. กาหนดหัวข้อการทาโครงงาน • 2. กาหนดขอบเขตการทาโครงงาน • 3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล • 4. จัดทาโครงงาน • 5. จัดทาเอกสารรายงาน • 6. นาเสนอโครงงาน ผ่านโปรแกรม Power Point เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ • 1. โปรแกรม Microsoft Word 2010 • 2. โปรแกรม Power Point 2010
  • 5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • 1 . ได้ทราบเกี่ยวกับระบบนิเวศต่าง ๆ • 2 .ได้ทราบระบบนิเวศในประเทศไทย • 3. ได้ทราบถึงปัจจัยแวดล้อมของสังคมป่ าในประเทศไทย • 4. ได้ทราบถึงลักษณะป่ าชนิดต่างๆของประเทศไทยและสามารถทาการจาแนกได้
  • 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง • 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) • 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
  • 8. สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจานวนนี้ เป็นแมลงประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสาคัญต่อ ระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยัง ผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทาให้เกิดแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติ สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสร้าง อาหารได้เอง และมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้ อาณาจักรสัตว์ KINGDOM ANIMALIA
  • 9. 1. ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA) • ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera • - เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่าสุด และ ไม่มีเนื้ อเยื่อแท้จริง (Parazoa) • - ตัวเต็มวัยเกาะกับที่ จึงไม่มี nervous system และ sense organ • - มีทั้งอาศัยในน้าจืดและน้าเค็ม • - มีสีสดใส (แดง ส้ม เหลือง ม่วง) เกิดจากรงควัตถุที่อยู่ในเซลล์ผิว • - ฟองน้าที่มีรูปร่างซับซ้อนน้อยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้าส่วนใหญ่ไม่มี สมมาตร • - จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม • - มีโครงร่างแข็งค้าจุน (Spicule ที่เป็นหินหรือแก้ว , Spongin ที่เป็นเส้นใย โปรตีน)
  • 10.
  • 11. 2. ไฟลัมซีเลนเทอราตา (PHYLUM COELENTERATA) • ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata • - ร่างกายประกอบด้วย เนื้ อเยื่อ 2 ชั้นคือ Epidermis เเละ Gastrodermis • - ระหว่างชั้นเนื้ อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่า Mesoglea เเทรกอยู่ • - ลาตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity ทา หน้าที่เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้าเเละกากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน • - มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle )ใช้สาหรับจับเหยื่อ • - ที่หนวดมีเซลล์สาหรับต่อยเรียกว่า cnidocyte เเละมีเข็มสาหรับต่อยเรียกว่า nematocyst • - มีวงจรชีพสลับ • - สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ • - มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
  • 12.
  • 13. 3. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES) • ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes • - มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry) • - ไม่มีช่องว่างในลาตัว (Acoelomate animal) เนื่องจากเนื้ อเยื่อชั้นกลางมีเนื้ อเยื่อ หยุ่นๆบรรจุอยู่เต็มไปหมด • - ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีหัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการ แพร่จากทางเดินอาหารเข้าสู่เซลล์โดยตรง • - มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก และในพวกพยาธิ ตัวตืดไม่มีทางเดินอาหาร • - มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลาตัว • - มีทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ภายในตัวเอง (Self fertilization) และผสมพันธุ์ข้ามตัว (Cross fretilization)
  • 14.
  • 15. 4. ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD) • ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda • - ลาตัวกลมยาวหัวท้ายเเหลม ไม่มีรยางค์ • - มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม • - สมมาตรครึ่งซีก • - มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนัก • - ร่างกายมีเนื้ อเยื่อ 3 ชั้น • - มีช่องลาตัวเทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซึ่งมีของเหลวบรรจุ อยู่เต็ม • - ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาทที่ยาวตลอดลาตัว • - ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ • - การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มีสารไคตินหุ้มจึงทนทานต่อสภาพเเว ดล้อมได้ดี
  • 16.
  • 17. 5. ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA) • ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida • - มีลาตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเนื้ อเยื่อกั้น ระหว่างปล้องเรียกว่า เซปตา ( septa ) • - เเต่ละปล้องมีอวัยวะ คือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวัยวะขับถ่าย )1 คู่ เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดินอาหารเเละช่องลาตัวส่วนหนึ่ง ยกเว้นปล้อง • - ที่มีหัวที่ซึ่งมีอวัยวะสาคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ ) • - ร่างกายมีสมมาตรครึ่งซีก • - มีเนื้ อเยื่อ 3 ชั้น • - มีช่องลาตัวเเท้จริง ( coelom ) ซึ่งเป็นช่องลาตัวในเนื้ อเยื่อมีโซเดิร์ม • - ระบบประสาทประกอบด้วย ปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ด้านท้อง
  • 18.
  • 19. 6. ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) • ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda • - มีลาตัวเป็นปล้องและมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน (jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปล้องของลาตัว • - มีจานวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ ประมาณว่ามีถึงกว่า 9 แสนชนิดที่มนุษย์เราได้ค้นพบ • - สามารถอาศัยอยู่ได้ในแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลก นับว่าประสบความสาเร็จในการดารงชีวิตบนโลกเป็นอย่าง มาก เห็นได้จากการที่เราพบสัตว์เหล่านี้ ได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาล และพบเป็นจานวนมาก • - มีโครงสร้างของร่างกายที่แข็งแรง • - มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิด • - มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นข้อปล้องชัดเจน 3ส่วน คือ หัว(Head) , อก(Thorax) และ ท้อง (Abdomen) • - ระบบหมุนเวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปด้วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด (Hemocoel)
  • 20.
  • 21. 7. ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA) • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca • - ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ • 1. head and foot • 2. visceral mass • 3. mantle, palium เกิด mantle cavity มีเหงือกภายใน • - สัตว์ในไฟลัมนี้ มีลาตัวอ่อนนุ่ม บางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุ้มลาตัวเป็น CaCO3 • - แยกเพศผู้-เมีย • - ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเล มีอาศัยอยู่บนบกบ้าง • - อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สประกอบด้วย • 1. เหงือก (gill) อยู่ภายในช่องแมนเติล พบในมอลลัสทั่วไป • 2. ผิวตัว ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตัวจะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยู่บนลาตัว เรียกว่า เซอรา ตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยู่รอบทวารหนัก (anal gill) • 3. ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ขึ้นมาอยู่บนบกจะมีช่องแมนเติลที่มีผนังยื่นลงมากั้นเป็นห้อง มีของเหลว หล่อเลี้ยงในช่องนี้ ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้
  • 22.
  • 23. 8. ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) • ลักษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm • - สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตรเเบบรัศมี • - ลาตัวเเบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากเเผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง • - มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้ อหรือผิวหนังที่ปกคลุมอยู่บาง ชนิด • - มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน • - การเคลื่อนไหวใช้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย • - การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศบางชนิด เช่น การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไปเป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง
  • 24. 9. ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA) • คุณสมบัติเฉพำะของ Phylum Chordata • - มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้าจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด • - มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือ ทางเดินอาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้านท้อง (Ventral nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตัน • - มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพวหสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสูง เช่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะมีช่องเหงือกตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น เมื่อโตขึ้นช่องเหงือก จะปิดส่วนปลามีช่องเหงือกตลอดชีวิต • - มีหางเป็นกล้ามเนื้ อ (Muscular post anal tail)
  • 25. • พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกาเนิดขึ้นมาแล้วไม่ต่ากว่า 400ล้านปี มี หลักฐานหลายอย่าง ที่ทาให้เชื่อว่า พืชมีวิวัฒนาการมาจาก สาหร่ายสีเขียว กลุ่ม Charophytes โดยมีการปรับตัวจาก สภาพที่เคยอยู่ในน้า ขึ้นมาอยู่บนบก ด้วยการสร้างคุณสมบัติ ต่างๆ ที่เหมาะสมขึ้นมา เช่น มีการสร้างคิวติน(cutin) ขึ้นมา ปกคลุมผิว ของลาต้นและใบเรียกว่า คิวทิเคิล (cuticle) เพื่อ ป้ องกันการสูญเสียน้า และการเกิด สโทมาตา (stomata) เพื่อ ทาหน้าที่ระบายน้า และแลกเปลี่ยนก๊าซ เป็นต้น
  • 26. ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช • พืชมีโครงสร้างที่ประกอบขึ้นด้วยหลายเซลล์ที่มารวมกลุ่มกันเป็นเนื้ อเยื่อ ที่ทาหน้าที่เฉพาะ อย่างเซลล์ของพืชมีผนังเซลล์ที่มีสารประกอบ เซลลูโลส (cellulose) เป็นองค์ประกอบ ที่พบเป็นส่วนใหญ่ พืชทุกชนิดที่ คุณสมบัติที่สามารถสร้างอาหารได้เอง จากกระบวนการ สังเคราะห์ด้วย เสง โดยบทบาทของรงควัตถุ คลอโรฟิลล ์์(chlorophylla & b) ที่อยู่ ในคลอโรพลาสต์เป็นสาคัญ รงควัตถุหลักที่พบได้ในเซลล์พืช จะเหมือนกับ ที่พบในเซลล์ ของสาหร่ายสีเขียว ได้แก่ คลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี และ แคโรทีนอยด์ นอกจากนี้ พืชยังสะสมอาหารในรูปของแป้ ง (starch)
  • 27.
  • 28. วงชีวิต (LIFE CYCLE) ของพืช • วงชีวิต (life cycle) ของพืชเป็นวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) คือ ประกอบด้วย ช่วงชีวิตที่เป็นสปอโรไฟต์ (sporophyte generation) ทาหน้าที่ สร้างสปอร์ (spore) สลับกับช่วงชีวิตที่เป็นแกมีโทไฟต์ (gametophyte generation) ทาหน้าที่สร้างแกมีต (gamete) ได้แก่ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรือ สเปิร์ม (sperm) และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ (egg) ซึ่งจะมารวมกันเพื่อให้ได้ เป็นเซลล์ใหม่คือ ไซโกต (zygote) • อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชประกอบขึ้นด้วยหลายเซลล์โดยมีเซลล์โดยมีเซลล์ที่ เป็นหมัน (sterile cell) ห่อหุ้มอยู่รอบนอก การเจริญของพืชจากไซโกตไปเป็นสปอ โรไฟต์จะต้องผ่านจะต้องผ่านระยะที่เป็นเอ็มบริโอ (embryo) ก่อน คุณสมบัติทั้ง 2 ประการ ดังกล่าวนี้ จะไม่พบในพวกสาหร่าย (algae)
  • 29. วงชีวิตแบบสลับ • พืชส่วนใหญ่จะมีสปอโรไฟต์เด่น คือมีขนาดที่มองเห็นได้ชัดเจนทั่วไป ในขณะที่แกมีโทไฟต์ มีขนาดเล็กแทบมองไม่เห็น ด้วยตาเปล่าในพืชบางกลุ่ม แกมีโทไฟต์ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ที่เป็นโมโนพลอยด์ (n) จานวนมากทาหน้าที่สร้างแกมีต • สปอโรไฟต์ของพืชประกอบขึ้นด้วยเซลล์ที่เป็นดิพลอยด์(2n)ทาหน้าที่ สร้างสปอร์ จากการแบ่งเซลล์ แบบไมโอ ซิสของสปอร์มาเทอร์เซลล์ (spore mother cell) ที่อยู่ภายในอับสปอร์ (sporangium) สปอร์ซึ่งเป็นเซลล์ที่เป็นเฮ พลอยด์ (n) จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ (n) ที่ทาหน้าที่สร้างแกมีตคือ สเปิร์ม และไข่ • การปฏิสนธิ (fertilization) คือการรวมตัวกันของสเปิร์ม (n) และไข่ (n) จะทาให้ได้เซลล์ใหม่ที่เป็นดิ พลอยด์ (2n) คือ ไซโกตเกิดขึ้นมา และต่อจากนั้นไซโกตจะแบ่งเซลล์ ได้เป็นเอ็มบริโอ ก่อนที่จะเจริญต่อไป เป็น สปอร์ โรไฟต์ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ไซโกตคือ เซลล์เริ่มต้นของช่วงสปอโรไฟต์ และสปอร์คือเซลล์เริ่มต้น ของช่วงแกมีโทไฟต์ ใน พืชกลุ่มที่ไม่สร้างเมล็ด ส่วนใหญ่จะมีการสร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว(homospore)ซึ่ง สปอร์ดังกล่าวจะแบ่งตัว และ เจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ที่ทาหน้าที่สร้างทั้งสเปิร์มและไข่ บนต้นเดียวกัน แต่สาหรับพืชที่มีการสร้าง เมล็ดแล้วทุกชนิด จะสร้างสปอร์เป็น2ชนิด (heterospore) ได้แก่ ไมโครสปอร์ (microspore) และ เมกะสปอร์ (megaspore) ไม โครสปอร์จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็น ไมโครแกมีโทไฟต์ (microgametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) ทาหน้าที่สร้างสเปิร์ม และเมกะสปอร์ จะแบ่งตัวเจริญต่อไป เป็นเมกะแกมีโทไฟต์ (megagametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte) ทาหน้าที่สร้างไข่ ต่อไป
  • 30. • เรียกโดยทั่วไปว่า ไบรโอไฟต์ (bryophyte) มีทั้งสิ้นประมาณ16,000 ชนิด พืชในดิวิชันนี้ มี ขนาดเล็ก มีโครงสร้างง่ายๆ ยังไม่มีราก ลาต้นและใบที่แท้จริง ชอบอาศัยอยู่ตามที่ชุ่มชื้น การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศยังต้องอาศัยน้าสาหรับให้สเปิร์มที่มีแฟลกเจลลา (flagella) ว่าย ไปผสมกับไข่ ต้นที่พบเห็นโดยทั่วไปคือแกมีโทไฟต์ (มีแกมีโทไฟต์เด่น) รูปร่างลักษณะ มีทั้งที่ เป็นแผ่นหรือแทลลัส (thallus) และคล้ายลาต้นและใบของพืชชั้นสูง (leafy form) มีไร ซอยด์ (rhizoid) สาหรับยึดต้นให้ติดกับดิน และช่วยดูดน้าและแร่ธาตุ มีส่วนคล้ายใบเรียก phylloid และส่วนคล้ายลาต้นเรียกว่าcauloid แกมีโทไฟต์ของไบรโอไฟต์มีสีเขียว เพราะมีคลอโรฟิลล์สามารถสร้างอาหารได้เอง ทาให้อยู่ได้อย่างอิสระ เมื่อแกมีโทไฟต์เจริญ เต็มที่จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์คือสเปิร์มและไข่ต่อไป ภายหลังการปฏิสนธิของสเปิร์มและไข่ จะ ได้ไซโกตซึ่งแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นเอ็มบริโอ และสปอร์โรไฟต์ ตามลาดับ สปอโรไฟต์ของ ไบร โอไฟต์ มีรูปร่างลักษณะง่ายๆ ไม่สามารถอยู่ได้อย่างอิสระ จะต้องอาศัยอยู่บนแกมีโทไฟต์ ตลอดชีวิต พืชในดิวิชันนี้ สร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว
  • 31.
  • 32. • จาแนกพืชในดิวิชันไบรโอไฟตาได้เป็น 3คลาส (Class) ดังต่อไปนี้ • 1.คลาสเฮปาทิคอปซิดา (Class Hepaticopsida) เรียกโดยทั่วไปว่า ลิเวอร์ เวิร์ต (liverwort) มีอยู่ประมาณ 6,000ชนิด แกมีโทไฟต์มีทั้งที่เป็นแทลลัส (thalloid liverwort) และที่คล้ายคลึงกับลาต้นและใบ (leafy liverwort) สปอโร ไฟต์มีส่วนประกอบ เป็น 3ส่วน คือ ฟุต (foot) เป็นเนื้ อเยื่อที่ฝังตัวอยู่ในเนื้ อเยื่อแกมี โทไฟต์ เพื่อทาหน้าที่ดูดอาหารมาใช้ ก้านชูอับสปอร์ (stalk หรือ seta) และอับ สปอร์ (sporangium หรือ capsule) ที่ทาหน้าที่สร้างสปอร์ ตัวอย่างของลิเวอร์ เวิร์ตที่เป็นแทลลัส ได้แก่ Marchantia และที่มีลักษณะคล้ายลาต้นและใบ ได้แก่ Porella แกมีโทไฟต์ของ Marchantia มีขนาดเล็ก ลักษณะเป็นแผ่นแบนราบ ตอน ปลายแตกแขนงเป็น 2 แฉก (dichotomous branching) ด้านล่างของเทลลัสมี ไรซอยด์ ด้านบนมักพบโครงสร้างที่มีรูปร่างคล้ายถ้วย เรียกว่า เจมมา คัป (gemma cup) ภายในเนื้ อเยื่อเจมมา(gemma)อยู่จานวนหนึ่ง ซึ่งเมื่อแต่ละเจมมา หลุดออก จากเจมมาคัปแล้ว สามารถเจริญแกมีโทไฟต์ต้นใหม่ได้ นับเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศ แบบหนึ่งนอกเหนือไปจากการแยกออกเป็นส่วนๆ (fragmentation) เส เปิร์มและไข่ถูกสร้างขึ้นในอวัยวะ ที่มารวมกลุ่มเป็นโครงสร้างที่มีลักษณะ เป็นก้านชู ที่ เจริญอยู่บนแกมีโทไฟต์
  • 34. • 2.คลาสแอนโทเซอรอปซิดา (Class Anthoceropsida) เรียก โดยทั่วไปว่า ฮอร์นเวิร์ต (hornwort) ไบรโอไฟต์ในดิวิชันนี้ มีจานวนไม่กี่ ชนิด ตัวอย่างเช่น Anthoceros แกมีโทไฟต์มีลักษณะเป็นแทลลัสขนาด เล็ก รูปร่างค่อนข้างกลมมน ที่ขอบมีรอยหยักเป็นลอน ด้านล่างมีไรซอยด์ สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแยกออกเป็นส่วนๆ เช่นเดียวกับพวกลิ เวอร์เวิร์ต ต้นสปอไรไฟต์มีรูปร่างเรียวยาว ฝังตัวอยู่ด้านบน ของแกมีโท ไฟต์ ประกอบไปด้วยฟุต และอัปสปอร์ขนาดยาว ซึ่งเมื่อเจริญเต็มที่ ปลาย ของอับสปอร์จะค่อย ๆ แตกออกเป็น 2 แฉก ทาให้มองดูคล้ายเขาสัตว์ จึง เรียกว่าฮอร์นเวิร์ต
  • 36. • 3.คลาสไบรออฟซิดา (Class Bryopsida) เรียกโดยทั่วไปว่า มอส (moss) เป็น ไบรโอไฟต์ กลุ่มที่มีมากที่สุด คือประมาณ 9,500 ชนิด ต้นแกมี โทไฟต์มีขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายลาต้นและใบ ส่วน ที่คล้ายใบ เรียงตัวเป็นเกลียว โดยรอบส่วนที่คล้าย ลาต้น มีไรซอยต์อยู่ในดิน สปอโรไฟต์มีลักษณะง่าย ๆ เกิดบนปลายยอดหรือปลายกิ่ง มีส่วนประกอบคือ ฟุต ก้านชูอับสปอร์ และอับสปอร์
  • 37. MOSS
  • 38. • พืชในดิวิชันนี้ ที่พบได้ในประเทศไทย ได้แก่ Psilotum รู้จักกันในชื่อไทยว่าหวายทะ นอย สปอโรไฟต์ของพืชนี้ มีรูปร่างลักษณะง่ายๆ คือมีแต่ลาต้นยังไม่มีรากและใบ ลาต้นมีลักษณะเป็นไม้เนื้ ออ่อนขนาดสูงประมาณ 20–30 เซนติเมตร ขึ้นอยู่ตาม พื้นดิน (tcrrestrial) หรือเกาะติดกับต้นไม้อื่น (epiphyte) ลาต้นแบ่งออกเป็น2 ส่วนคือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน เป็นลาต้นชนิดไรโซม (rhizome) มีสีน้าตาล และมีไรซอยด์ ทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุ ลาต้นส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน(acrial stem)มีสีเขียว มี ลักษณะเป็นเหลี่ยม ลาต้นส่วนนี้ ทาหน้าที่สังเคราะห์แสง ทั้งลาต้นใต้ดินและลาต้น เหนือพื้นดิน แตกกิ่งเป็น 2แฉก (dichotomous branching) ที่ส่วนของลาต้น เหนือพื้นดินมีระยางค์เล็กๆ (appcndage) ยื่นออกมาเห็นได้ทั่วไป สปอโรไฟต์ที่ เจริญต้นที่จะสร้างอับสปอร์ที่มีรูปร่างเป็น 3 พู ที่ซอกของระยางค์บนลาต้นเหนือ พื้นดิน อับสปอร์สร้างสปอร์ชนิดเดียว แกมีโทไฟต์มีขนาดเล็ก สีน้าตาลไม่มี คลอโรฟิลล์ รูปร่างเป็นแท่งทรงกระบอก แตกแขนงได้
  • 41. • สปอโรไฟต์ของพืชดิวิชันนี้ มีราก ลาต้น และใบครบทุกส่วน มีลักษณะเป็น ไม้เนื้ ออ่อนที่มีขนาด ไม่ใหญ่มากนัก พวกที่เจริญอยู่บนพื้ นดิน อาจมีลาต้น ตั้งตรง หรือทอดนอน บางชนิดอาศัยเกาะบนต้นไม้อื่น ลาต้นแตกกิ่งเป็น 2 แฉก ใบมีขนาดเล็ก เป็นใบแบบ ไมโครฟิลล์(microphyll)คือเป็นใบที่ มีเส้นใบเพียงเส้นเดียว สปอโรไฟต์ที่เจริญเต็มที่ แล้วจะสร้างอับสปอร์บน ใบที่มักมีรูปร่างและขนาดแตกต่างไป จากใบที่พบทั่วไป เรียกใบชนิดนี้ ว่า สปอโรฟิลล์ (sporophyll) ซึ่งจะมาเรียงซ้อนกันแน่นอยู่ที่ปลายกิ่งเป็น โครงสร้างที่เรียกว่า สโตรบิลัส (strobilus) หรือโคน (cone) พืชในดิวิ ชันนี้ มีทั้งที่สร้างสปอร์ชนิดเดียวและ 2 ชนิด ตัวอย่างที่รู้จักกันดีได้แก่ Lycopldium และ Selaginella
  • 42. LYCOPODIUM • Lycopodium รู้จักในชื่อไทยว่า ช้องนางคลี่ สร้อยสุกรม สาม ร้อยยอด และหางสิงห์เป็นต้น ที่พบในปัจจุบันมีประมาณ 200 ชนิด ใบในขนาดเท่าๆ กัน เรียงตัวเป็นเกลียวโดยรอบลาต้นและ กิ่ง เป็นพืชที่สร้างสปอร์ชนิดเดียว แกมีโทไฟต์มีขนาดเล็ก บาง ชนิดมีคลอโรฟิลล์เจริญอยู่บนพื้นดิน บางชนิดไม่มีคลอโรฟิลล์ เจริญอยู่ใต้ดิน
  • 44. • พืชที่มีท่อลาเลียงในดิวิชันนี้ มีเพียง วงศ์เดียว คือ Equisetaceae แกมีโตไฟต์มีขนาดเล็ก เจริญอยู่ใต้ดิน สปอโร ไฟต์มีขนาดใหญ่ อายุยืน มีซิลิกา ลาต้นเป็นข้อปล้องชัดเจน ปล้องเป็นร่องและสั้น ข้อมีใบแบบ ไมโครฟิลล์อยู่รอบข้อ เรียง แบบ whorl เป็น homosporous plant โดยสปอแรงเจียม เจริญอยู่บนโครงสร้างที่เรียกว่า สปอแรงจิโอฟอร์ (sporangiophore)
  • 45. EQUISETUM • หญ้าถอดปล้องหรืออีควิเซตัม (ดิวิชันสฟีโน ไฟตา) ต้นที่เห็นเด่นชัด คือสปอร์โรไฟต์มี อวัยวะสร้างสปอร์คือ สโตรบิลัส ซึ่งเป็นกลุ่ม ของสปอร์เเรงเจีย (อับสปอร์)
  • 47.
  • 48.
  • 49. • พืชดิวิชันนี้ มีชื่อทั่วไปว่า เฟิร์น (fern) มีจานวนมากที่สุดในบรรดาพ โรไฟต์ของเฟิร์นมีราก ลาต้นและใบเจริญดี เฟิร์นส่วนใหญ่มีลาต้นใต้ดิน ใบของเฟิร์นเรียกว่า ฟรอนด์ (frond) เป็นส่วนที่เห็นเด่นชัด มีขนาดใหญ่ เป็นใบแบบเมกะฟิลล์ (megaphyll) มีรูปร่างลักษณะเป็นหลายแบบ มี ทั้งที่เป็นใบเดี่ยว (simple leaf) และใบประกอบ (compound leaf) ใบอ่อนของเฟิร์นมีลักษณะพิเศษคือ จะม้วนเป็นวง (circinate venantion) สปอโรไฟต์ที่เจริญเต็มที่จะสร้างอับสปอร์ ซึ่งมารวมกลุ่มอยู่ ที่ด้านได้ใบ แต่ละกลุ่มของอับสปอร์เรียกว่า ซอรัส (sorus) เฟิร์นส่วน ใหญ่สร้างสปอร์ชนิดเดียว ยกเว้นเฟิร์นบางชนิดที่อยู่ในน้า และที่ชื้นแฉะ ได้แก่ จอกหูหนู แหนแดง และผักแว่นมีการสร้างสปอร์ 2 ชนิด
  • 50. FERN • แกมีโทไฟต์ของเฟิร์นที่สร้างสปอร์ชนิดเดียว มี ลักษณะเป็นแผ่นแบนบางสีเขียว (มี คลอโรฟิลล์) ด้านล่างมีไรซอยด์ ส่วนใหญ่มักมี รูปร่างคล้ายรูปหัวใจ (prothallus)
  • 51. FERN
  • 52. • เป็นจิมโนสเปิร์มที่มีจานวนมากที่สุด มีหลายสกุลด้วยกัน ที่รู้จักกันดีคือ Pinus ได้แก่ สนสองใบ และสนสามใบ เป็นต้น สปอโรไฟต์ของ Pinus มีลักษณะเป็นไม้ยืนต้น ขนาดค่อนข้างใหญ่ และแตกกิ่งก้านสาขาจานวนมาก ใบมี ขนาดเล็ก รูปร่างคล้ายเข็ม อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม สปอโร ไฟต์ที่เจริญเต็มที่จะสร้างโคนเพศผู้ที่มีขนาดเล็กและโคน เพศเมียที่มีขนาดใหญ่บนต้นเดียวกัน
  • 53. PINUS
  • 54. • พืชดิวิชันนี้ มีอยู่ประมาณ 60 ชนิด ตัวอย่างที่รู้จักกัน ดีคือ พวกปรง (Cycas) สปอโรไฟต์มีลาต้นอวบ เตี้ย และมักไม่แตกแขนง มีใบเป็นใบประกอบแบบ ขนนกขนาดใหญ่ เกิดเป็นกระจุกที่บริเวณยอดของ ลาต้น ใบย่อยมีรูปร่างเรียวยาว และแข็ง สปอโรไฟต์ ที่เจริญเต็มที่ จะสร้างโคนเพศผู้ และโคนเพศเมีย แยกตัวกัน
  • 55. CYCAS
  • 56. • ปัจจุบันมีเพียงชนิดเดียวคือ Ginkgo biloba หรือแปะก๊วย เป็นพืชที่ขึ้นอยู่ในเขตอบอุ่น เช่น ในประเทศจีน สปอโรไฟต์มี ลักษณะเป็นไม้ยืนต้นขนาดสูงใหญ่ แตกกิ่งก้านสาขาเป็ นจานวน มาก ใบมีรูปร่างคล้ายพัด สปอโรไฟต์ที่เจริญเติบโตเต็มที่จะสร้าง โคนเพศผู้และโคนเพศเมียแยกต้นกัน
  • 58. • แบ่งออกได้เป็น 2 คลาส คือ • 1.คลาสไดคอทีเลโดเนส (Class Dicotyledones) ได้แก่ พืชใบเลี้ยงคู่ทั้งหมด มีอยู่ประมาณ 170,000 ชนิด ลักษณะทั่วไปคือ มีใบเลี้ยง 2 ใบ เส้นใบเป็นร่างแห รากเป็น ระบบรากแก้ว และส่วนประกอบของดอก (เช่น กลีบเลี้ยง กลีบ ดอก) มีจานวนเป็น 4–5 หรือ ทวีคูณของ 4–5
  • 60. • 2.คลาสมอโนคอทีเลโดเนส (Class Monocotyledones) ได้แก่ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ทั้งหมดมีอยู่ประมาณ 60,000 ชนิด ลักษณะทั่วไป คือ มีใบเลี้ยงใบเดียว ใบมีเส้นใบเรียงตัวแบบขนาน รากเป็นระบบรากฝอย ส่วนประกอบของดอกมี จานวนเป็น 3 หรือทวีคูณของ 3