SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
ติวสอบวิทยาศาสตร์ สสวท.
ระดับชั้น...ประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) :
เซลล์และกล้องจุลทรรศน์
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
เซลล์ (CELL)
• พืช สัตว์ มนุษย์ จะมีโครงสร้างพื้นฐานเล็ก ๆ เพื่อ
จะก่อให้เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด โดย
โครงสร้างเล็กๆ ๆนั้นจะมารวมกันมีกิจกรรม
ต่างๆร่วมกันจนก่อให้เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิต
ต่างๆโครงสร้างที่กล่าวถึงนี้จัดว่ามีขนาดเล็กที่สุด
ซึ่งเราเรียกว่า เซลล์ (cell)
• เซลล์จัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
• เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีรูปร่างลักษณะ
ขอบเขต และโครงสร้างของเซลล์ ซึ่งโครงสร้าง
บางส่วน จะสามารถระบุได้ว่าเซลล์นั้นเป็น
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตชนิดใด
2
3
4
ประวัติการศึกษาเกี่ยวเซลล์วิทยา (CYTOLOGY)
5
ANTON VAN LEEWENHOEK มองเห็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตเป็นคนแรกจากการใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
เลนส์เดี่ยว (SINGLE LENS L.M.)โดยเรียกสิ่งที่เห็นว่า ANIMALICULES ซึ่งหมายถึง สัตว์ตัวเล็กๆ
(MICROORGANISM)
6
MATTHIAS JAKOP SCHLEIDEN และ THEODOR SCHWANN เสนอทฤษฏีเซลล์
(CELL THEORY) ร่วมกันเป็นครั้งแรก โดยมีใจความว่า
- เซลล์ประกอบไปด้วยองค์ประกอบของเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์
- เซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
7
8
GENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALS
- สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) มีการจัดเรียงตัวของหน่วยต่าง ๆ
เป็นลาดับขั้นดังนี้
- เซลล์เป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด
- ในแต่ละลาดับขั้นจะมีการทางาน
ร่วมกันอย่างเป็นระบบ
The size range of cells
ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศูนย์กลาง
Myoplasma
แบคทีเรีย
ส่วนใหญ่ของ
eukaryotic cell
0.1 - 1.0 ไมครอน
1.0 - 10.0 ไมครอน
10.0 - 100.0 ไมครอน
9
10
12
Basic Of Cell Structure
13
ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นโครงสร้างที่อยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์พบเฉพาะใน
สิ่งมีชีวิตจาพวกแบคทีเรีย (peptidoglycan) สาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน (cellulose)
เห็ด รา ยีสต์ (chitin) สาหร่ายทุกชนิด และพืช (cellulose) โดยผนังเซลล์ทาหน้าที่
เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์และทาให้เซลล์คงรูปร่าง : permeability
Basic Of Cell Structure
14
The water balance of living cells
ลูกศร แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้าผ่านเซลล์สัตว์ซึ่งไม่มีผนังเซลล์ และ
เซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์ 15
เยื่อหุ้มเซลล์ (CELL MEMBRANE) ; PLASMA MEMBRANE ; CYTOPLASMIC
MEMBRANE ซึ่งทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน SEMIPERMEABLE MEMBRANE ;
DIFFERENTIALLY MEMBRANE ;SELECTIVELY PERMEABLE MEMBRANE มี
โครงสร้างอ่อนนุ่มเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ง่าย (FLUID MOSAIC MODEL)
16
Basic Of Cell Structure
17
18
หน้าที่ของ CELL MEMBRANE
• ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร อาจเปลี่ยนรูปร่างเป็นไมโครวิลไลและเยื่อไมอีลิน
• ห่อหุ้มเซลล์และกาหนดขอบเขตของเซลล์อย่างชัดเจน (cell covering)
• การติดต่อสื่อสารและการจดจากันระหว่างเซลล์ (cell communication)
19
นิวเคลียส มีความหมายว่า ใจกลาง หรือส่วนที่อยู่ตรงกลาง (The center of cell) มีหน้าที่ คือ การรักษาเสถียรภาพของยีน
(Gene stabilize) ต่างๆและทาการควบคุมการทางานต่างๆของเซลล์โดยผ่านการแสดงออกของยีน (Gene Expression)
องค์ประกอบของนิวเคลียส แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclearenvelope)
 เป็นเยื่อ2 ชั้น (bilayerof membrane) มีช่องว่างตรงกลาง มีรู (nuclear pores or annulus) แทรกอยู่ทั่วไปเป็นทางให้
สารต่างๆ ผ่านเข้าออกได้ (transportation)
 ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรม (geneticsmaterial) ที่อยู่ในรูปของโมเลกุลDNA ที่จับกับโมเลกุลของโปรตีน
(histone protein) เรียกว่า โครมาทิน (chormatin) ขดแน่นเป็นโครโมโซม (chromosome)
2. นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
• มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส (RNA ขดตัวกันแน่นกับโปรตีน) ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรือสองเม็ด
มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัวทาหน้าที่สร้างribosome (ribonucleoprotein)
20
นิวเคลียส (nucleus)
21
22
องค์ประกอบของนิวเคลียส แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
3. โครมาติน (Chromatin)
 ลักษณะเป็นเส้นใยยาวในนิวเคลียส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40-50 อังสตรอม ยาวมาก ขดกัน
เหมือนสปริงและพันเป็นกลุ่ม
 ประกอบด้วยโมเลกุล DNA และโปรตีนหลายชนิดหุ้มรอบ
 DNA หรือ deoxyribonucleicacid คือ สายพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่าง ของสิ่งมีชีวิต
 เมื่อแบ่งเซลล์ เส้นในโครมาตินจะหดตัว ปรากฏเป็นเส้นหนาชัดขึ้นเรียกว่า โครโมโซม
(Chromosome) แต่ละโครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด (Chromatid) จากการจาลองตัวเองในระยะ
อินเตอร์เฟสของกระบวนการแบ่งเซลล์ (interphaseof cell division)
 กล้องจุลทรรศน์ธรรมดามองเห็นนิวเคลียสได้ชัด เพราะเส้นใยโครมาตินย้อมติดสีได้ดี
23
24
ไรโบโซม Ribosomes
เป็น organelle ไม่มีเยื่อหุ้ม หน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 subunit สร้างจาก nucleolus พบได้ทั้ง
prokaryotic cell (70s=50s+30s) และ eukaryotic cell (80s=60s+40s) โดยเซลล์ที่สร้างโปรตีนสูง
จะพบ nucleolus และ ribosome จานวนมาก เช่น เซลล์ตับของคน แบ่งเป็น 2 ชนิด
25
1. free ribosomes ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ metabolism
ใน cytoplasm
2. bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอยู่ด้านผิวนอกของ ER สร้างโปรตีนส่งต่อไปรวมกับ
organelles อื่นๆ และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างน้าย่อย
26
เซนทริโอล (centriole)
เป็นออร์แกเนลล์ที่อยู่ใกล้นิวเคลียสและพบเฉพาะในเซลล์สัตว์และโพรทิสต์บางชนิด โดยหน้าที่สาคัญอย่าง
หนึ่งของเซนทริโอล คือ สร้างเส้นใยสปินเดิลในกระบวนการแบ่งเซลล์ (สามารถจาลองตัวเองได้)
27
The function of centriole
28
arrangement
of microtubules
29
เส้นใยโปรตีนโครงสร้างของเซลล์ : ไม่มีเยื่อหุ้ม (Cytoskeleton)
1. microfilament ประกอบด้วยโปรตีนที่หดตัวได้ชื่อ actin และอาจมี
myosin อยู่ด้วย มีมากที่สุด หน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวของกล้ามเนือ การ
เปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ การแยกตัวของ ไซโตพลาสซึม (กระบวนการ
แบ่งเซลล์) pseudopodia movement หรือ ameboid movement
2. intermediate filament มีการพัฒนาอย่างมาก ประกอบด้วยโปรตีน
อย่างน้อย 5 ชนิด หน้าที่เป็นตัวรับแรงดึง เช่น เดสโมโซมที่ทาหน้าที่
เกี่ยวกับการคงรูปร่างของเซลล์ นอกจากนียังเกี่ยวกับการยึดกันของไมโครฟิ
ลาเมนท์ในเซลล์กล้ามเนือและยังทาหน้าที่คาจุน axon ของเซลล์ประสาท
3. microtubule ประกอบด้วยโปรตีน tubulin มีความแข็งที่สุด พบเป็น
องค์ประกอบของส่วนยื่นของเซลล์ประสาท เซนโตรโซม และเซนตริโอล มี
หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของโครโมโซม (กระบวนการแบ่งเซลล์) ออร์
การ์เนลล์ในไซโต พลาสซึม และ การพัดโบกของซีเลียกับแฟลกเจลลา
ร่างแหเอ็นโดพลาสซึม : Endoplasmic reticulum (ER)
มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น เป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน cytosol
มีช่องภายใน เรียกว่า cisternal space เชื่อมติดต่อกับ
ช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียส
1. Rough endoplasmic reticulum (RER) หรือ
ร่างแหแบบขรุขระ มีไรโบโซมเกาะติดด้านนอก (ขรุขระ) สร้าง
โปรตีนที่ส่งออกไปนอกเซลล์ (ไรโบโซมที่เกาะเยื่อ ER
cisternal vesicle Golgi complex เพิ่ม
คาร์โบไฮเดรต (glycoprotein) ก่อนส่งออก
2. Smooth endoplasmic reticulum (SER) หรือ
ร่างแหแบบเรียบ ไม่มีไรโบโซมมาเกาะจึงเรียบ เชื่อมติดต่อกับ
RER มีความสาคัญในการสร้างฮอร์โมนชนิดสเตอรอยด์ และ
ไขมัน ลดความเป็นพิษในเซลล์กล้ามเนื้อ (ตับ) ควบคุมการเก็บ
และปล่อยแคลเซียม (การทางานกล้ามเนื้อ) เป็นต้น 30
กอลจิบอดี้ หรือ กอลจิแอปพาราตัส (Golgi body/ apparatus)
31
 เป็นออร์แกเนลล์เยื่อหุ้ม 1 ชั้น ลักษณะเป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน เรียกว่า Golgi cisternar ตรงกลางเป็นท่อ
แคบภายในบรรจุของเหลวและปลายสองข้างโป่งออก (trans and cis face) และมีกลุ่มของ vesicles อยู่รอบๆ
หน้าที่สาคัญ เติมคาร์โบไฮเดรดให้กับโปรตีนจาก RER ให้เป็น glycoprotein เพื่อส่งออกโดยกระบวนการ
exocytosis, สร้าง primary lysosomes ซึ่งบรรจุ enzymes ,เกี่ยวกับการสร้างผนังหุ้มเซลล์ (membrane
flow)
32
The function of Endoplasmic reticulum (ER)
ไลโซโซม : Lysosomes
 เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชัน รูปร่างกลมมีขนาดเล็ก ภายในบรรจุ enzyme หลายชนิดที่ทาหน้าที่ย่อยสลายสาร
โมเลกุลขนาดใหญ่ (ทางานดีที่สุดประมาณ pH5)
 Hydrolytic enzyme และ lysosomal membrane สร้างมาจาก RER (protein production)และส่งต่อไปยัง Golgi
complex (vesicle formation)
 intracellular digestion เช่น อะมีบากินอาหารหรือเซลล์เม็ดเลือดขาวของคน เช่น macrophage (monocyte) โดย
วิธี phagocytosis เกิดเป็น food vacuole ซึ่งจะรวมตัวกับ lysosome (membrane fusion) ซึ่งเอ็นไซม์ภายใน
cytosome ของ lysosome จะทาหน้าที่ย่อยสลายอาหารนัน
 การย่อยสลาย organelles ในไซโตพลาสซึมตนเอง (autophagy) เพื่อนาสารกลับมาใช้สร้างใหม่
 การเกิด metamorphosis ในการพัฒนาของตัวอ่อนในพวกสัตว์สะเทินนาสะเทินบก (amphibian)
 มีบทบาทสาคัญต่อเมตาบอริซึมต่างๆในร่างกายเป็นอย่างมาก (metabolic enzyme) ถ้าหากมีความผิดปกติในการ
ทางานของเอ็นไซม์ในไลโซโซม จะทาให้เกิดโรคต่างๆได้ (abnormality)
33
34
แวคิวโอล (Vacuoles)
คือ ถุงบรรจุสาร เป็นออร์แกเนลล์ที่มีลักษณะเป็นถุง มีเมมเบรนที่เรียกว่า โทโนพลาสต์
(tonoplast) ห่อหุ้ม ภายในมีสารต่าง ๆ บรรรจุอยู่ โดยทั่วไปจะพบในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ชั้นต่า ในสัตว์ชั้นสูงไม่
ค่อยพบ แวคิวโอลแแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (contractilevacuole) ทาหน้าที่รักษาสมดุลของน้าและกาจัดของเสียภายในเซลล์
(homeostasis)พบในเซลล์ อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา เป็นต้น
(fresh water protist)
2. ฟูดแวคิวโอล (food vacuole) บรรจุอาหารที่รับมาจากนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป พบใน เซลล์เม็ดเลือดขาวและ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ที่มีกระบวนการจับกิน (phagocytosis)
3. แซบแวคิวโอล (sap vacuole) พบในเซลล์พืช ตอนอายุน้อย ๆ มีจานวนมาก แต่เมื่ออายุมากเข้าจะรวมเป็นถุงเดียว
ขนาดใหญ่ (มักมีขนาดใหญ่ที่สุดภายในเซลล์และอยู่กลางเซลล์) มีหน้าที่สะสมสาร เช่น สารสี ไอออน น้าตาล สารพิษ
(storage function)
35
36
แวคิวโอล (Vacuoles)
Food vacuole
ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
 พบใน eukaryoticcell เกือบทุกชนิด พบโดย คอลลิคเกอร์ (Kollicker) รูปร่างลักษณะ
ส่วนใหญมีรูปร่างกลม ท่อนสั้น ท่อนยาว หรือกลมรีคล้ายรูปไข่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
0.2 – 1 ไมครอน ยาว 5 – 7 ไมครอน ประกอบด้วยสารพวกโปรตีนและไขมัน
 มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ (smooth outer membrane) ส่วนเยื่อชั้นในจะมีการโป่งยื่นเข้าข้างในเรียกว่า
cristae (innermembrane) เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่องภายใน2 ส่วน ได้แก่ ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อ
ชั้นนอกและเยื่อชั้นใน(intermembranespace) และช่องบรรจุของเหลวที่ถูกล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน(mitochodrial
matrix)
 มีเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน (aerobic cellularrespiration) :
กระบวนการผลิต ATP (Phosphorylation: ATP synthase)
 มี DNA (circularDNA) และ ribosome (70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการพลังงาน
(endosymbiosis: prokaryoticcell) 37
38
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)
Chloroplast เป็น plastidsชนิดหนึ่งของเซลล์พืชที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า chlorophyll ซึ่งประกอบด้วยเอ็นไซม์
และโมเลกุลของสารที่ทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ในพืชแต่ละชนิดมีรูปร่าง จานวนและขนาดแตกต่างกันออกไป ในเซลล์พืชชั้นสูงจะมีขนาดใหญ่ มีรูปร่างแบบไข่ รูป
จานหรือทรงกระบอก ภายในมีอาหารสะสมประเภทแป้งอยู่ด้วย Chloroplast ที่เจริญในที่ร่มจะมีขนาดใหญ่กว่าและ
ภายในมีคลอโรฟิลล์มากกว่าที่เจริญในที่สว่าง จานวนของ Chloroplast ไม่แน่นอนในแต่ละเซลล์ ซึ่งจะแพร่กระจาย
สม่าเสมอทั่วเซลล์ โดยขึ้นอยู่กับปริมาณของแสงสว่างที่พืชได้รับและกระบวนการไซโคลซิส
Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น แต่ละชั้นหนาประมาณ 8-10 นาโนเมตร และห่างกันประมาณ 10-20 นาโนเมตร เยื่อหุ้ม
ชั้นนอกมีผิวเรียบ หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า stroma (dark reaction) ภายในมีถุงแบน thylakoids(light reaction)
ซึ่งซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า granum เชื่อมด้วย intergrana
มี DNA (circular) และ ribosome(70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการสังเคราะห์แสง
39
40
41
42
43
LIGHT MICROSCOPE
VS.
ELECTRON
MICROSCOPE
องค์ประกอบและการทางาน!
1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง แบ่งเป็น
- แบบใช้แสงชนิดเลนส์เดี่ยว (single lens light microscope) สร้างโดย Leeuwenhoek คล้ายแว่นขยายธรรมดา
(เลนส์ตา = เลนส์วัตถุ)
- แบบใช้แสงธรรมดาหรือชนิดเลนส์ประกอบ (Compound light microscope) ใช้ศึกษาโครงสร้างภายใน (แสงทะลุ
ผ่าน : slide 2 มิติเสมือนหัวกลับ) สร้างโดย Robert Hook (cell)
- แบบใช้แสงสเตอริโอ (Stereoscopic/Dissection light microscope) ใช้ศึกษาโครงสร้างภายนอก (แสงสะท้อน : ทึบ
3 มิติเสมือนหัวตัง)
Microscope
หลักการทางานของ Compound L.M.
2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) มี 2 แบบ คือ
- แบบส่องผ่าน (Transmission Electron Microscope: TEM) ใช้ศึกษาโครงสร้างภายในของเซลล์โดยลาแสง
อิเล็กตรอนจะส่องผ่านเซลล์ที่เตรียมให้บางเป็นพิเศษ สร้างโดย Ernst Ruska
- แบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope: SEM) ใช้ศึกษาโครงสร้างของผิวเซลล์หรือผิวของวัตถุ โดยแสงของ
อิเล็กตรอนส่องกระทบผิวของวัตถุ สร้างโดย M.Von Endenne
Microscope
ข้อควรจำ
- กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ x กาลังขยายเลนส์ใกล้ตา
- ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ x กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
@ หน่วยที่ใช้บ่อย mm (10-3 ) / m (10-6 ) / nm (10-9 )
-ถ้ากาลังขยายของกล้องสูงจะเห็นภาพที่มีรายละเอียดมากกว่า แต่บริเวณขอบเขตที่มองเห็นภาพจะน้อยกว่ากล้องที่มี
กาลังขยายต่า
- ภาพที่มองผ่านกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดาเป็นภาพเสมือนหัวกลับ ภาพที่มองเห็นในกล้องจะกลับจากซ้ายเป็นขวาและ
บนเป็นล่างเสมอ
- การเลื่อน slide จะต้องเลื่อนในทิศทางตรงข้ามกับภาพเสมอ
ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีเลนส์ใกล้ตา 15X และเลนส์ใกล้วัตถุ 100X มองเห็นเซลล์ยาว 100 ไมครอน ขนาดจริงของเซลล์คือ ?
? ?
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท.
วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) :
เซลล์และกล้องจุลทรรศน์
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท.
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท.
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท.
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท.
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท.
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท.
แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท.
ลองบอกชื่อองค์ประกอบและ
หน้าที่ของหมายเลขต่อไปนี้
THE END

More Related Content

What's hot

พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 

What's hot (20)

พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Similar to 2ติวสสวทเซลล์

ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cellPhattarawan Wai
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ Dom ChinDom
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 

Similar to 2ติวสสวทเซลล์ (20)

ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
B03
B03B03
B03
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
4
44
4
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

2ติวสสวทเซลล์

  • 1. ติวสอบวิทยาศาสตร์ สสวท. ระดับชั้น...ประถมศึกษาปีที่ 6 วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) : เซลล์และกล้องจุลทรรศน์ ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
  • 2. เซลล์ (CELL) • พืช สัตว์ มนุษย์ จะมีโครงสร้างพื้นฐานเล็ก ๆ เพื่อ จะก่อให้เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด โดย โครงสร้างเล็กๆ ๆนั้นจะมารวมกันมีกิจกรรม ต่างๆร่วมกันจนก่อให้เกิดลักษณะของสิ่งมีชีวิต ต่างๆโครงสร้างที่กล่าวถึงนี้จัดว่ามีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเราเรียกว่า เซลล์ (cell) • เซลล์จัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต • เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีรูปร่างลักษณะ ขอบเขต และโครงสร้างของเซลล์ ซึ่งโครงสร้าง บางส่วน จะสามารถระบุได้ว่าเซลล์นั้นเป็น ลักษณะของสิ่งมีชีวิตชนิดใด 2
  • 3. 3
  • 4. 4
  • 6. ANTON VAN LEEWENHOEK มองเห็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตเป็นคนแรกจากการใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง เลนส์เดี่ยว (SINGLE LENS L.M.)โดยเรียกสิ่งที่เห็นว่า ANIMALICULES ซึ่งหมายถึง สัตว์ตัวเล็กๆ (MICROORGANISM) 6
  • 7. MATTHIAS JAKOP SCHLEIDEN และ THEODOR SCHWANN เสนอทฤษฏีเซลล์ (CELL THEORY) ร่วมกันเป็นครั้งแรก โดยมีใจความว่า - เซลล์ประกอบไปด้วยองค์ประกอบของเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์ - เซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 7
  • 8. 8 GENERAL BODY ORGANIZATION IN ANIMALS - สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) มีการจัดเรียงตัวของหน่วยต่าง ๆ เป็นลาดับขั้นดังนี้ - เซลล์เป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด - ในแต่ละลาดับขั้นจะมีการทางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ
  • 9. The size range of cells ชนิดของเซลล์ เส้นผ่าศูนย์กลาง Myoplasma แบคทีเรีย ส่วนใหญ่ของ eukaryotic cell 0.1 - 1.0 ไมครอน 1.0 - 10.0 ไมครอน 10.0 - 100.0 ไมครอน 9
  • 10. 10
  • 11.
  • 12. 12 Basic Of Cell Structure
  • 13. 13 ผนังเซลล์ (Cell wall) เป็นโครงสร้างที่อยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์พบเฉพาะใน สิ่งมีชีวิตจาพวกแบคทีเรีย (peptidoglycan) สาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน (cellulose) เห็ด รา ยีสต์ (chitin) สาหร่ายทุกชนิด และพืช (cellulose) โดยผนังเซลล์ทาหน้าที่ เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์และทาให้เซลล์คงรูปร่าง : permeability Basic Of Cell Structure
  • 14. 14
  • 15. The water balance of living cells ลูกศร แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของน้าผ่านเซลล์สัตว์ซึ่งไม่มีผนังเซลล์ และ เซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์ 15
  • 16. เยื่อหุ้มเซลล์ (CELL MEMBRANE) ; PLASMA MEMBRANE ; CYTOPLASMIC MEMBRANE ซึ่งทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน SEMIPERMEABLE MEMBRANE ; DIFFERENTIALLY MEMBRANE ;SELECTIVELY PERMEABLE MEMBRANE มี โครงสร้างอ่อนนุ่มเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ง่าย (FLUID MOSAIC MODEL) 16 Basic Of Cell Structure
  • 17. 17
  • 18. 18
  • 19. หน้าที่ของ CELL MEMBRANE • ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร อาจเปลี่ยนรูปร่างเป็นไมโครวิลไลและเยื่อไมอีลิน • ห่อหุ้มเซลล์และกาหนดขอบเขตของเซลล์อย่างชัดเจน (cell covering) • การติดต่อสื่อสารและการจดจากันระหว่างเซลล์ (cell communication) 19
  • 20. นิวเคลียส มีความหมายว่า ใจกลาง หรือส่วนที่อยู่ตรงกลาง (The center of cell) มีหน้าที่ คือ การรักษาเสถียรภาพของยีน (Gene stabilize) ต่างๆและทาการควบคุมการทางานต่างๆของเซลล์โดยผ่านการแสดงออกของยีน (Gene Expression) องค์ประกอบของนิวเคลียส แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclearenvelope)  เป็นเยื่อ2 ชั้น (bilayerof membrane) มีช่องว่างตรงกลาง มีรู (nuclear pores or annulus) แทรกอยู่ทั่วไปเป็นทางให้ สารต่างๆ ผ่านเข้าออกได้ (transportation)  ภายในนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรม (geneticsmaterial) ที่อยู่ในรูปของโมเลกุลDNA ที่จับกับโมเลกุลของโปรตีน (histone protein) เรียกว่า โครมาทิน (chormatin) ขดแน่นเป็นโครโมโซม (chromosome) 2. นิวคลีโอลัส (Nucleolus) • มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็กในนิวเคลียส (RNA ขดตัวกันแน่นกับโปรตีน) ในหนึ่งเซลล์อาจมีหนึ่งหรือสองเม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัวทาหน้าที่สร้างribosome (ribonucleoprotein) 20 นิวเคลียส (nucleus)
  • 21. 21
  • 22. 22 องค์ประกอบของนิวเคลียส แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 3. โครมาติน (Chromatin)  ลักษณะเป็นเส้นใยยาวในนิวเคลียส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40-50 อังสตรอม ยาวมาก ขดกัน เหมือนสปริงและพันเป็นกลุ่ม  ประกอบด้วยโมเลกุล DNA และโปรตีนหลายชนิดหุ้มรอบ  DNA หรือ deoxyribonucleicacid คือ สายพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่าง ของสิ่งมีชีวิต  เมื่อแบ่งเซลล์ เส้นในโครมาตินจะหดตัว ปรากฏเป็นเส้นหนาชัดขึ้นเรียกว่า โครโมโซม (Chromosome) แต่ละโครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทิด (Chromatid) จากการจาลองตัวเองในระยะ อินเตอร์เฟสของกระบวนการแบ่งเซลล์ (interphaseof cell division)  กล้องจุลทรรศน์ธรรมดามองเห็นนิวเคลียสได้ชัด เพราะเส้นใยโครมาตินย้อมติดสีได้ดี
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25. ไรโบโซม Ribosomes เป็น organelle ไม่มีเยื่อหุ้ม หน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 subunit สร้างจาก nucleolus พบได้ทั้ง prokaryotic cell (70s=50s+30s) และ eukaryotic cell (80s=60s+40s) โดยเซลล์ที่สร้างโปรตีนสูง จะพบ nucleolus และ ribosome จานวนมาก เช่น เซลล์ตับของคน แบ่งเป็น 2 ชนิด 25 1. free ribosomes ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ metabolism ใน cytoplasm 2. bound ribosomes เป็น ribosome ที่เกาะอยู่ด้านผิวนอกของ ER สร้างโปรตีนส่งต่อไปรวมกับ organelles อื่นๆ และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมอื่นที่สร้างน้าย่อย
  • 27. 27 The function of centriole
  • 29. 29 เส้นใยโปรตีนโครงสร้างของเซลล์ : ไม่มีเยื่อหุ้ม (Cytoskeleton) 1. microfilament ประกอบด้วยโปรตีนที่หดตัวได้ชื่อ actin และอาจมี myosin อยู่ด้วย มีมากที่สุด หน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวของกล้ามเนือ การ เปลี่ยนรูปร่างของเซลล์ การแยกตัวของ ไซโตพลาสซึม (กระบวนการ แบ่งเซลล์) pseudopodia movement หรือ ameboid movement 2. intermediate filament มีการพัฒนาอย่างมาก ประกอบด้วยโปรตีน อย่างน้อย 5 ชนิด หน้าที่เป็นตัวรับแรงดึง เช่น เดสโมโซมที่ทาหน้าที่ เกี่ยวกับการคงรูปร่างของเซลล์ นอกจากนียังเกี่ยวกับการยึดกันของไมโครฟิ ลาเมนท์ในเซลล์กล้ามเนือและยังทาหน้าที่คาจุน axon ของเซลล์ประสาท 3. microtubule ประกอบด้วยโปรตีน tubulin มีความแข็งที่สุด พบเป็น องค์ประกอบของส่วนยื่นของเซลล์ประสาท เซนโตรโซม และเซนตริโอล มี หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของโครโมโซม (กระบวนการแบ่งเซลล์) ออร์ การ์เนลล์ในไซโต พลาสซึม และ การพัดโบกของซีเลียกับแฟลกเจลลา
  • 30. ร่างแหเอ็นโดพลาสซึม : Endoplasmic reticulum (ER) มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น เป็นท่อแบนหรือกลม กระจายอยู่ใน cytosol มีช่องภายใน เรียกว่า cisternal space เชื่อมติดต่อกับ ช่องว่างที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มนิวเคลียส 1. Rough endoplasmic reticulum (RER) หรือ ร่างแหแบบขรุขระ มีไรโบโซมเกาะติดด้านนอก (ขรุขระ) สร้าง โปรตีนที่ส่งออกไปนอกเซลล์ (ไรโบโซมที่เกาะเยื่อ ER cisternal vesicle Golgi complex เพิ่ม คาร์โบไฮเดรต (glycoprotein) ก่อนส่งออก 2. Smooth endoplasmic reticulum (SER) หรือ ร่างแหแบบเรียบ ไม่มีไรโบโซมมาเกาะจึงเรียบ เชื่อมติดต่อกับ RER มีความสาคัญในการสร้างฮอร์โมนชนิดสเตอรอยด์ และ ไขมัน ลดความเป็นพิษในเซลล์กล้ามเนื้อ (ตับ) ควบคุมการเก็บ และปล่อยแคลเซียม (การทางานกล้ามเนื้อ) เป็นต้น 30
  • 31. กอลจิบอดี้ หรือ กอลจิแอปพาราตัส (Golgi body/ apparatus) 31  เป็นออร์แกเนลล์เยื่อหุ้ม 1 ชั้น ลักษณะเป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน เรียกว่า Golgi cisternar ตรงกลางเป็นท่อ แคบภายในบรรจุของเหลวและปลายสองข้างโป่งออก (trans and cis face) และมีกลุ่มของ vesicles อยู่รอบๆ หน้าที่สาคัญ เติมคาร์โบไฮเดรดให้กับโปรตีนจาก RER ให้เป็น glycoprotein เพื่อส่งออกโดยกระบวนการ exocytosis, สร้าง primary lysosomes ซึ่งบรรจุ enzymes ,เกี่ยวกับการสร้างผนังหุ้มเซลล์ (membrane flow)
  • 32. 32 The function of Endoplasmic reticulum (ER)
  • 33. ไลโซโซม : Lysosomes  เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชัน รูปร่างกลมมีขนาดเล็ก ภายในบรรจุ enzyme หลายชนิดที่ทาหน้าที่ย่อยสลายสาร โมเลกุลขนาดใหญ่ (ทางานดีที่สุดประมาณ pH5)  Hydrolytic enzyme และ lysosomal membrane สร้างมาจาก RER (protein production)และส่งต่อไปยัง Golgi complex (vesicle formation)  intracellular digestion เช่น อะมีบากินอาหารหรือเซลล์เม็ดเลือดขาวของคน เช่น macrophage (monocyte) โดย วิธี phagocytosis เกิดเป็น food vacuole ซึ่งจะรวมตัวกับ lysosome (membrane fusion) ซึ่งเอ็นไซม์ภายใน cytosome ของ lysosome จะทาหน้าที่ย่อยสลายอาหารนัน  การย่อยสลาย organelles ในไซโตพลาสซึมตนเอง (autophagy) เพื่อนาสารกลับมาใช้สร้างใหม่  การเกิด metamorphosis ในการพัฒนาของตัวอ่อนในพวกสัตว์สะเทินนาสะเทินบก (amphibian)  มีบทบาทสาคัญต่อเมตาบอริซึมต่างๆในร่างกายเป็นอย่างมาก (metabolic enzyme) ถ้าหากมีความผิดปกติในการ ทางานของเอ็นไซม์ในไลโซโซม จะทาให้เกิดโรคต่างๆได้ (abnormality) 33
  • 34. 34
  • 35. แวคิวโอล (Vacuoles) คือ ถุงบรรจุสาร เป็นออร์แกเนลล์ที่มีลักษณะเป็นถุง มีเมมเบรนที่เรียกว่า โทโนพลาสต์ (tonoplast) ห่อหุ้ม ภายในมีสารต่าง ๆ บรรรจุอยู่ โดยทั่วไปจะพบในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ชั้นต่า ในสัตว์ชั้นสูงไม่ ค่อยพบ แวคิวโอลแแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (contractilevacuole) ทาหน้าที่รักษาสมดุลของน้าและกาจัดของเสียภายในเซลล์ (homeostasis)พบในเซลล์ อะมีบา พารามีเซียม และยูกลีนา เป็นต้น (fresh water protist) 2. ฟูดแวคิวโอล (food vacuole) บรรจุอาหารที่รับมาจากนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป พบใน เซลล์เม็ดเลือดขาวและ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ที่มีกระบวนการจับกิน (phagocytosis) 3. แซบแวคิวโอล (sap vacuole) พบในเซลล์พืช ตอนอายุน้อย ๆ มีจานวนมาก แต่เมื่ออายุมากเข้าจะรวมเป็นถุงเดียว ขนาดใหญ่ (มักมีขนาดใหญ่ที่สุดภายในเซลล์และอยู่กลางเซลล์) มีหน้าที่สะสมสาร เช่น สารสี ไอออน น้าตาล สารพิษ (storage function) 35
  • 37. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)  พบใน eukaryoticcell เกือบทุกชนิด พบโดย คอลลิคเกอร์ (Kollicker) รูปร่างลักษณะ ส่วนใหญมีรูปร่างกลม ท่อนสั้น ท่อนยาว หรือกลมรีคล้ายรูปไข่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.2 – 1 ไมครอน ยาว 5 – 7 ไมครอน ประกอบด้วยสารพวกโปรตีนและไขมัน  มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ (smooth outer membrane) ส่วนเยื่อชั้นในจะมีการโป่งยื่นเข้าข้างในเรียกว่า cristae (innermembrane) เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่องภายใน2 ส่วน ได้แก่ ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อ ชั้นนอกและเยื่อชั้นใน(intermembranespace) และช่องบรรจุของเหลวที่ถูกล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน(mitochodrial matrix)  มีเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์แบบใช้ออกซิเจน (aerobic cellularrespiration) : กระบวนการผลิต ATP (Phosphorylation: ATP synthase)  มี DNA (circularDNA) และ ribosome (70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการพลังงาน (endosymbiosis: prokaryoticcell) 37
  • 38. 38
  • 39. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) Chloroplast เป็น plastidsชนิดหนึ่งของเซลล์พืชที่มีรงควัตถุสีเขียว ที่เรียกว่า chlorophyll ซึ่งประกอบด้วยเอ็นไซม์ และโมเลกุลของสารที่ทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ในพืชแต่ละชนิดมีรูปร่าง จานวนและขนาดแตกต่างกันออกไป ในเซลล์พืชชั้นสูงจะมีขนาดใหญ่ มีรูปร่างแบบไข่ รูป จานหรือทรงกระบอก ภายในมีอาหารสะสมประเภทแป้งอยู่ด้วย Chloroplast ที่เจริญในที่ร่มจะมีขนาดใหญ่กว่าและ ภายในมีคลอโรฟิลล์มากกว่าที่เจริญในที่สว่าง จานวนของ Chloroplast ไม่แน่นอนในแต่ละเซลล์ ซึ่งจะแพร่กระจาย สม่าเสมอทั่วเซลล์ โดยขึ้นอยู่กับปริมาณของแสงสว่างที่พืชได้รับและกระบวนการไซโคลซิส Chloroplast มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น แต่ละชั้นหนาประมาณ 8-10 นาโนเมตร และห่างกันประมาณ 10-20 นาโนเมตร เยื่อหุ้ม ชั้นนอกมีผิวเรียบ หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า stroma (dark reaction) ภายในมีถุงแบน thylakoids(light reaction) ซึ่งซ้อนกันเป็นตั้งเรียกว่า granum เชื่อมด้วย intergrana มี DNA (circular) และ ribosome(70s) เป็นของตนเอง : เพิ่มจานวนได้ตามความต้องการสังเคราะห์แสง 39
  • 40. 40
  • 41. 41
  • 42. 42
  • 43. 43
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48. 1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง แบ่งเป็น - แบบใช้แสงชนิดเลนส์เดี่ยว (single lens light microscope) สร้างโดย Leeuwenhoek คล้ายแว่นขยายธรรมดา (เลนส์ตา = เลนส์วัตถุ) - แบบใช้แสงธรรมดาหรือชนิดเลนส์ประกอบ (Compound light microscope) ใช้ศึกษาโครงสร้างภายใน (แสงทะลุ ผ่าน : slide 2 มิติเสมือนหัวกลับ) สร้างโดย Robert Hook (cell) - แบบใช้แสงสเตอริโอ (Stereoscopic/Dissection light microscope) ใช้ศึกษาโครงสร้างภายนอก (แสงสะท้อน : ทึบ 3 มิติเสมือนหัวตัง) Microscope
  • 49.
  • 50.
  • 52. 2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) มี 2 แบบ คือ - แบบส่องผ่าน (Transmission Electron Microscope: TEM) ใช้ศึกษาโครงสร้างภายในของเซลล์โดยลาแสง อิเล็กตรอนจะส่องผ่านเซลล์ที่เตรียมให้บางเป็นพิเศษ สร้างโดย Ernst Ruska - แบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope: SEM) ใช้ศึกษาโครงสร้างของผิวเซลล์หรือผิวของวัตถุ โดยแสงของ อิเล็กตรอนส่องกระทบผิวของวัตถุ สร้างโดย M.Von Endenne Microscope
  • 53.
  • 54. ข้อควรจำ - กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ x กาลังขยายเลนส์ใกล้ตา - ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ x กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ @ หน่วยที่ใช้บ่อย mm (10-3 ) / m (10-6 ) / nm (10-9 ) -ถ้ากาลังขยายของกล้องสูงจะเห็นภาพที่มีรายละเอียดมากกว่า แต่บริเวณขอบเขตที่มองเห็นภาพจะน้อยกว่ากล้องที่มี กาลังขยายต่า - ภาพที่มองผ่านกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดาเป็นภาพเสมือนหัวกลับ ภาพที่มองเห็นในกล้องจะกลับจากซ้ายเป็นขวาและ บนเป็นล่างเสมอ - การเลื่อน slide จะต้องเลื่อนในทิศทางตรงข้ามกับภาพเสมอ ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีเลนส์ใกล้ตา 15X และเลนส์ใกล้วัตถุ 100X มองเห็นเซลล์ยาว 100 ไมครอน ขนาดจริงของเซลล์คือ ? ? ?
  • 55. แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.6 สสวท. วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) : เซลล์และกล้องจุลทรรศน์