SlideShare a Scribd company logo
รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 1 (ว 21101)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง โครงสร้างเซลล์
จัดทาโดย....ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
www.kruseksan.com
โครงสร้างและออร์แกน เซลล์พืช เซลล์สัตว์
1. ผนังเซลล์
2. เยื่อหุ้มเซลล์
3. นิวเคลียส
4. ไรโบโซม
5. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม
6. กอลจิบอดี
7. ไมโทคอนเดรีย
8. แวคิวโอล
9. เซนทริโอล
10. คลอโรพลาสต์
11. ไซโทพลาสซึม
12. ไลโซโซม
ใบงานที่ 1 กิจกรรมที่ 1.1 บทที่ 2 หน่วยชีวิต
1.ให้นักเรียนบอกข้อแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ โครงสร้าง หน้าที่
ว่าแตกต่างกันอย่างไร
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
2.ให้นักเรียนบอกข้อแตกต่างของ Prokaryotic Cell และ Eukaryotic Cell
..................................................................................................................
..................................................................................................................
Nucleolus
Nucleus
Risosomes
Vesicles
rough endoplasmic reticulum :
RER
Golgi apparatus
cytoskeleton
smooth endoplasmic
reticulum : SER
mitochondria
vacuole
Cytoplasm
lysosome
centriole
เรื่อง
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โครงสร้างและออร์แกน เซลล์พืช เซลล์สัตว์
1. ผนังเซลล์ มี ไม่มี
2. เยื่อหุ้มเซลล์ มี มี
3. นิวเคลียส มี มี
4. ไรโบโซม มี มี
5. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม มี มี
6. กอลจิบอดี มี มี
7. ไมโทคอนเดรีย มี มี
8. แวคิวโอล มี มี
9. เซนทริโอล ไม่มี มี
10. คลอโรพลาสต์ มี ไม่มี
11. ไซโทพลาสซึม มี มี
12. ไลโซโซม มี มี
เซลล์และทฤษฎีเซลล์
● เซลล์เป็นหน่วยโครงสร้างที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
- เซลล์รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ
- เนื้อเยื่อรวมกันเป็นอวัยวะ
● สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเพียงเซลล์เดียว
บางชนิดมีหลายเซลล์
● เซลล์ของสิ่งมีชีวิต มีรูปร่าง ขนาด และ
โครงสร้างแตกต่างกัน
เซลล์และทฤษฎีเซลล์
เซลล์และทฤษฎีเซลล์
● ค.ศ. 1665 Robert Hook
นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ประดิษฐ์
กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบ
(compound microscope) นามาศึกษา
ไม้คอร์ก พบว่า ประกอบด้วยช่องว่างเล็ก ๆ
จานวนมากเรียงต่อกัน
จึงเรียกช่องนี้ว่า “เซลล์” (cell) พบครั้งแรก
เป็นเซลล์ตายแล้ว ยังคงรูปได้เนื่องจากมี
ผนังเซลล์ (cell wall)
เซลล์และทฤษฎีเซลล์
● พ.ศ. 2381 มัทติอัส ยอคอบ ชไลเดน นักพฤกษศาสตร์
เยอรมัน ค้นพบว่า
- พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีหลายเซลล์
● พ.ศ. 2382 เทโอดอร์ ชวันน์
นักสัตววิทยา เยอรมัน ค้นพบว่า
- สัตว์ทั้งหลายมีเซลล์เป็นองค์ประกอบ
ทั้ง 2 คนจงก่อตั้ง ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory)
สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์เป็นหน่วยพื้นฐาน
ของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างเซลล์ (รูปร่างและขนาด)
Unit abbreviation value
1 centimeter cm 10-2 meter
1 millimeter mm 10-3 meter
1 micrometer µm 10-6 meter
1 nanometer nm 10-9 meter
1 angstrom A 10-10 meter
โครงสร้างเซลล์ (จาแนกเซลล์)
เซลล์โพรแคริโอต (prokaryotic cell)
เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก มีขนาด
ประมาณ 0.1 – 10 ไมครอน
ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
(nuclear membrane) เช่น
แบคทีเรีย ไมโคพลาสมา
สาหร่ายสีเขียวแกมน้้าเงิน
โครงสร้างเซลล์ (จาแนกเซลล์)
เซลล์ยูแคริโอต (eukaryotic cell)
เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลาย
ทั้งขนาด รูปร่างลักษณะ จัดระบบ
อวัยวะ และการด้ารงชีวิต ได้แก่
อาณาจักรพืช , อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรฟังไจ อาณาจักรโพรทิสตา
โครงสร้างของเซลล์
เซลล์โดยทั่วไปไม่ว่าจะมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน
อย่างไรก็ตาม แต่จะมีลักษณะโครงสร้างพื้นฐานส่วนใหญ่
คล้ายคลึงกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิต มีส่วนประกอบที่เป็น
โครงสร้างพื้นฐานอยู่ 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ
1. นิวเคลียส (nucleus)
2. ไซโทพลาสซึม
3. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ได้แก่
เยื้อหุ้มเซลล์ (cell membrane) และ ผนังเซลล์ (cell wall)
1.นิวเคลียส (Nucleus)
 เป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดของเซลล์เกี่ยวข้องกับ
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เพราะเป็นที่
บรรจุสารพันธุกรรม และควบคุมการทางานของเซลล์
 พบในเซลล์โดยทั่วไปเซลล์จะมี 1 นิวเคลียส ยกเว้น
พารามีเซียม มี 2 นิวเคลียส
 เซลล์พวกยูแคริโอตจะมีเยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบ
มีลักษณะเหมือนเยื่อหุ้มเซลล์ บนเยื่อมีรูเล็ก ๆมากมาย
เรียกว่า นิวเคลียร์พอร์ ( nuclear pore )
นิวเคลียส (Nucleus)
โครงสร้างของนิวเคลียส
แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane)
- เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane) เป็นเยื่อบาง ๆ
2 ชั้นอยู่รอบนิวเคลียส มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่านเช่นเดียวกับ
เยื่อหุ้มเซลล์
- มีรูเล็ก ๆ (nuclear pore) กระจายอยู่ทั่วไปเพื่อเป็นช่องทาง
แลกเปลี่ยนของสารระหว่างนิวเคลียสกับไซโทพลาซึม โดย
- บริเวณเยื่อชั้นนอกจะมีไรโบโซมเกาะติดอยู่ทาหน้าที่
สังเคราะห์โปรตีน
เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane)
2. สารในนิวเคลียส (nucleoplasm)
1. นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
- เป็นโครงสร้างที่ปรากฏเป็นก้อนเล็ก ๆ อยู่ในนิวเคลียส เห็นได้ชัดในช่วง
ไม่มีการแบ่งเซลล์
- เซลล์โดยทั่วไปมีนิวคลีโอลัส 1-2 อัน หรือมากกว่าขึ้นกับกิจกรรม เช่น
ในเซลล์ตับจะมีนิวคลีโอลัส 2 อัน
- ประกอบด้วย กรดนิวคลีอิก RNA และ โปรตีนชนิด ฟอสโฟโปรตีน
- เป็นบริเวณที่สังเคราะห์ ไรโบนิวคลีอิก (Ribonucleic acid หรือ RNA)
และสารอื่นที่เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม โดยสารเหล่านี้จะถูกส่งผ่านรู
ของเยื่อหุ้มนิวเคลียสออกไปยังไซโทพลาซึมเพื่อเป็นส่วนประกอบสาคัญ
ของไรโบโซม
นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
Nucleolus
นิวคลีโอลัส และโครมาทิน
2. โครมาทิน (Chromatin)
- มีลักษณะเป็นเส้นใยขดไปมาเป็นร่างแห โดยในระยะแบ่งเซลล์จะขดแน่น
ขึ้นจนเห็นลักษณะเป็นแท่ง เรียกว่า โครโมโซม (Chromosome)
- เป็นโครงสร้างของกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic acid
หรือ DNA)
- เมื่อแบ่งเซลล์จะมีจานวนเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
- โครมาทิน หรือ โครโมโซม เป็นส่วนของสารพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะ
พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต สามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้
3. สารประกอบทางเคมีของนิวเคลียส ประกอบด้วย
1. ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก
(deoxyribonucleic acid) หรือ
DNA เป็นส่วนประกอบของ
โครโมโซมนิวเคลียส
2. ไรโบนิวคลีอิก แอซิด
(ribonucleic acid) หรือ RNA
เป็นส่วนที่พบในนิวเคลียสโดย
เป็นส่วนประกอบของ
นิวคลีโอลัส
2. ไซโทพลาสซึม
- ไซโทพลาซึมเป็น ของเหลวที่อยู่รอบนอกนิวเคลียส
- ขณะเมื่อเซลล์ยังมีชีวิตอยู่ไซโทพลาซึมจะไหลวนอยู่ภายใน
เซลล์ และมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีตลอดเวลา
- ไซโทพลาซึมประกอบด้วยสาร ได้แก่ น้า โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์จากเซลล์
อินคลูชัน(inclusion)
- ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ ที่เทียบได้กับอวัยวะของเซลล์ที่ทา
หน้าที่ต่าง ๆ ให้แก่เซลล์
ออร์แกเนลล์
ออร์แกเนลล์ เป็นโครงสร้างย่อยอยู่ภายในไซโตพลาสซึม
-ออร์แกเนลล์ส่วนใหญ่มีเยื่อหุ้ม ทาให้องค์ประกอบภายใน
ออร์แกเนลล์แยกออกจากองค์ประกอบอื่นๆ ใน
ไซโตพลาสซึม
ออร์แกเนลล์
-ปฏิกิริยาทางชีวเคมีในแต่ลออแกเนลล์เกิดขึ้นได้
อย่างอิสระ
-ภายในเซลล์มีออร์แกเนลล์หลายชนิด แต่ละชนิด
จะมี โครงสร้างและหน้าที่แตกต่างกัน
1. ไรโบโซม (Ribosome)
ลักษณะของไรโบโซม
- เป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม
- เป็นออร์แกเนลล์ที่มีขนาดเล็กมาก
พบในเซลล์ยูแคริโอต
และโพรแคริโอต แต่ ไม่พบในไวรัส
สเปิร์มที่แก่เต็มที่ และเม็ดเลือดแดง
1. ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม
- ประกอบด้วย โปรตีนและกรดไรโบนิวคลีอิก (rRNA)
ทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีน เพื่อใช้ภายในหรือนอกเซลล์
- ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย คือ หน่วยย่อยขนาดเล็กและหน่วย
ย่อยขนาดใหญ่ จะอยู่แยกกันและจะประกบติดกัน
ขณะสังเคราะห์โปรตีน
- ไรโบโซมอิสระ อยู่ในไซโทพลาซึม จะสร้างโปรตีนใช้ในเซลล์ พบที่
เม็ดเลือดแดงที่อายุน้อย ทาหน้าที่ สร้างฮีโมโกลบิน
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม
ไรโบโซม
- ไรโบโซม เกาะรวมกับ ร่างแหเอนโดพลาสมิค เรติคิวลัม
ทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนเพื่อการส่งออกนอกเซลล์
- ไรโบโซมที่เยื่อหุ้มนิวเคลียส สังเคราะห์โปรตีนใช้ใน
นิวเคลียส
2. เซนทริโอล (centriole)
ลักษณะ
- เป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม พบในเซลล์สัตว์และ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ไม่พบในเซลล์พืชและพวกเห็ด รา
- มีลักษณะเป็นทรงกระบอกสองอันวางตัวในแนวตั้งฉากกัน
อยู่ใกล้ ๆ กับเยื่อหุ้มนิวเคลียส
- แต่ละอันประกอบด้วยหลอดเล็กๆ เรียกว่า ไมโครทิวบูล
(microtubule) เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 3 หลอด
มีทั้งหมด 9 กลุ่ม (9+0=27)
โครงสร้างเซนทริโอล (centriole)
หน้าที่ของเซนทริโอล
- เซนทริโอลแต่ละคู่ เรียกว่า เซนโทรโซม (centrosome) ซึ่งเป็น
แหล่งกาเนิดเส้นใยไมโทติกสปินเดิล
- เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของโครโมโซมและแยกโครมาติดแต่ละ
คู่ออกจากกันขณะเกิดการแบ่งเซลล์ของเซลล์สัตว์ มี
โพลาร์ แคป ( polar cap) ทาหน้าที่คล้าย เซนทริโอล
- เป็นเบซัลบอดี (Basal body) คือ โครงสร้างที่ยึดติดกับเซลล์ของ
ร่างกาย โดยสร้างและควบคุมการเคลื่อนไหวของซีเลียและแฟล
เจลลัม
- ซีเลีย และแฟลเจลลัม ประกอบด้วย ไมโครทิวบูลเรียงตัวเป็น วง 9
กลุ่มๆละ 2 อัน และตรงกลางอีก 2 อัน = 20 ตามสูตร 9+ 0 = 20
3. ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) : โครงร่างที่ค้าจุนเซลล์
- เป็นเส้นใยโปรตีนที่เชื่อมโยงกันเป็นร่างแหเพื่อค้าจุนรูปร่าง
ของเซลล์และเป็นที่ยึดเกาะของออร์แกเนลล์ เช่น ไมโทคอนเดรีย
ให้อยู่ตามตาแหน่งต่าง ๆ จึงเปรียบคล้ายกับโครงกระดูกของ
เซลล์ พบทั้งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
- ทาหน้าที่ลาเลียงออร์แกเนลล์
ให้เคลื่อนที่ภายในเซลล์
รวมทั้งการเคลื่อนที่
ของเซลล์บางชนิด
3. ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) : โครงร่างที่ค้าจุนเซลล์
- แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามองค์ประกอบของหน่วยย่อย
1. ไมโครฟิลาเมนท์ ( microfilament )
2. ไมโครทิวบูล (microtublue)
3. อินเตอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ (intermediate filaments)
1.ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilament) หรือแอกทินฟิลาเมนท์
(actin filaments)
ประกอบด้วย เส้นใยโปรตีนแอกทินที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 7 นาโนเมตร รูปร่างกลมต่อกันเป็นสาย 2 สายพันกันเป็น
เกลียวคล้ายสายสร้อยไข่มุก
หน้าที่ของไมโครฟิลาเมนท์
1.ทาให้เกิดการหดตัวและคลายตัวของเซลล์กล้ามเนื้อของสัตว์
เกิดจากการเลื่อนตัวเข้าหากันของโปรตีนแอกทิน (Actin)
1.ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilament) หรือแอกทินฟิลาเมนท์
(actin filaments)
2. ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเซลล์ เช่น เซลล์อะมีบา
เซลล์เม็ดเลือดขาวการเลื่อนตัวของแอกทินจะทาให้เกิด เท้าเทียม
(Pseudopodium) เรียกการเคลื่อนไหวแบบอะมีบอย (Amoeboid
movement )
3.โปรตีนแอกทินจะรัดให้ไซโทพลาซึมแยกออกจากกันเกิดเป็น
2 เซลล์
4.ทาให้เกิดการหด และยืดตัวของไมโครวิลลัส และเซลล์ท่อ
หน่วยไต
ภาพการยึดเกาะกับไซโทสเกเลตอน ของออร์แกเนลล์
2.ไมโครทิวบูล (microtubule)
- เป็นหลอดกลวงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง25 นาโนเมตร เกิดจาก
โปรตีนที่เรียกว่า ทูบูลิน(tubulin)เรียงต่อกันเป็นสาย
หน้าที่ของไมโครทิวบูล
1. ควบคุมการไหลของไซโทพลาซึมที่เรียกว่าไซโคลซิส มีบทบาท
ในการเคลื่อนที่เกือบทุกอย่างในเซลล์
2. การทางานของซีเลียและแฟกเจลลัม การแยกโครโมโซมออกจาก
กันรวมทั้งช่วยควบคุมรูปร่างของเซลล์ จึงเป็นเสมือนโครงกระดูกของ
เซลล์
ภาพโครงสร้างโปรตีนทูบูลินเรียงต่อกันเป็นสาย
ภาพโครงสร้างโปรตีนทูบูลินควบคุมรูปร่างของเซลล์
3.อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ (intermediate filaments)
- ลักษณะเป็นเส้นใยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8-10 นาโนเมตร
ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีนซึ่งเรียงตัวเป็นสายยาวๆ 4 สาย 8 ชุดพันบิดกัน
เป็นเกลียว อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์มี 8 ชุด จัดเรียงตัวเป็นร่างแหตาม
ลักษณะรูปร่างของเซลล์
- หน้าที่ ทาให้เซลล์คงรูปร่าง
- ผิวหนัง จะสร้างอินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์จากโปรตีนพวกเคอราทิน
เมื่อเซลล์ผิวหนังตาย อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ยังคงอยู่ ผม และเล็บของ
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมก็สร้างด้วยวิธีเดียวกัน
ภาพโครงสร้างอินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ เรียงตัวเป็นสายยาวๆ พัน
บิดกันเป็นเกลียว
ภาพโครงสร้างอินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ ควบคุมรูปร่างของเซลล์
1.เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic reticulum:ER) =
โรงงานผลิตและลาเลียงสารในเซลล์
- มีลักษณะเป็นท่อแบนใหญ่ บางบริเวณโป่งออกเป็นถุง
เรียงขนานและซ้อนกันเป็นชั้น ๆ
- ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่และมีท่อเชื่อมถึงกันเป็นร่างแห
- อยู่ล้อมรอบนิวเคลียสและเชื่อมกับเยื่อหุ้มนิวเคลียส
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ
(Rough Endoplasmic reticulum , r-ER )
2. เอนโดรพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ
(Smooth Endoplasmic reticulum , s-ER)
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น
ภาพโครงสร้างเอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมแบบขรุขระ และแบบเรียบ
1 . เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ (Rough Endoplasmic
reticulum r-ER )
ที่ผิวนอกของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม มีไรโบโซม เกาะอยู่ทาให้
มองดูคล้ายผิวขรุขระ
- หน้าที่ ผลิตสารพวกไกลโคโปรตีน และขับออกนอกเซลล์ในรูป
ซีครีชั่น เช่น เซลล์ตับอ่อนสร้างน้าย่อย และฮอร์โมน เพื่อขับออก
นอกเซลล์
- การสังเคราะห์โปรตีน เกิดขึ้นบน ไรโบโซมที่อยู่บนผนัง r-ER แล้ว
ลาเลียงเข้าไปใน r-ER รวมกับเอนไซม์ภายใน r-ER จึงส่งต่อไป
กอลจิบอดี
2. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic
reticulum s-ER)
- ลักษณะเป็นร่างแหที่ไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่บนผิวเมมเบรน
หน้าที่ของ s-ER
1. ในเซลล์ต่อมไร้ท่อ เช่น เซลล์ชั้นนอกของต่อมหมวกไต อัณฑะ
รังไข่ จะสังเคราะห์สาร สเตียรอยด์ เช่น ฮอร์โมนเพศ
ไตรกรีเซอไรด์ และสารประกอบของคอเลสเทอรอล
2. ในเซลล์ตับทาลายสารพิษที่อยู่ในเซลล์ ในเซลล์ตับจึงมี
s-ER มาก
2. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic
reticulum s-ER)
3. ในเซลล์กล้ามเนื้อยึดกระดูกและและกล้ามเนื้อหัวใจ จะควบคุม
การผ่านเข้าออกของแคลเซียมไอออน ซึ่งมีบทบาทในการควบคุม
การหดตัวของกล้ามเนื้อ
4. ในเซลล์เยื่อบุผิวลาไส้เล็ก ทาหน้าที่ดูดซึมสารอาหารประเภท
ไขมัน
เซลล์ที่ทาหน้าที่สร้างพวกโปรตีนหรือเอนไซม์จะมี r-ER มาก
เช่น เซลล์ตับอ่อน ส่วนเซลล์ที่ขับสารสเตรอยด์ เช่น เซลล์ที่
ต่อมหมวกไต อัณฑะ และรังไข่ จะมี s-ER มาก
2. กอลจิแอพพาราตัส: ( Golig apparatus) แหล่งรวบรวม บรรจุ
และขนส่ง
- ลักษณะเป็นกลุ่มของถุงกลมแบน ๆ คล้ายจาน เรียกว่า
ซิสเทอร์นา (cisterna) เรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ประมาณ 5- 6 ชั้น
- บริเวณตรงขอบโป่งพองเป็นถุงเล็กๆ เรียก เวสิเคิล (vesicle)
มักพบอยู่ใกล้กับ ER ถุงด้านที่รับเวสิเคิลเรียกว่า ซิส (cis) ด้านที่
สร้างเวสิเคิลเรียกว่า ทรานส์ (trans)
- มีในเซลล์พืชและสัตว์ชั้นสูงเกือบทุกชนิด ยกเว้นเซลล์เม็ดเลือด
แดงที่โตเต็มที่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
2. กอลจิแอพพาราตัส: ( Golig apparatus) แหล่งรวบรวม
บรรจุและขนส่ง
หน้าที่ของกอลจิคอมเพล็กซ์
- เติมกลุ่มคาร์โบไฮเดรต ให้กับโปรตีนหรือลิพิดที่ส่งมาจาก
r-ER เกิดเป็น ไกลโคโปรตีน และไกลโคลิพิด แล้วสร้างเวสิเคิล
บรรจุสารเหล่านี้ไว้ เพื่อส่งออกไปภายนอกเซลล์
- มีส่วนสาคัญในการสร้างผนังเซลล์ และสารเคลือบเยื่อหุ้มเซลล์
โครงสร้างของกอลจิแอพพาราตัส
3. ไลโซโซม ( Lysosome ): ผู้ขนส่งเอนไซม์
ลักษณะ
- พบเฉพาะใน เซลล์สัตว์ เกือบทุกชนิด และโพรติสต์บางชนิด
ไม่พบในเซลล์พืช
- ไลโซโซม มีกาเนิดมาจาก เอนโดพลามิก เรติคิวลัม และกอลจิ
แอพพาราตัส
เป็นถุงเล็กๆบรรจุเอนไซม์ เป็นไลโซโซมลาดับที่หนึ่ง
หน้าที่
- เก็บสะสมเอนไซม์ ที่ใช้ย่อยสลายสารอาหารทั้งคาร์โบไฮเดรต
ไขมัน โปรตีน และกรดนิวคลีอิก
- ย่อยออร์แกเนลล์ ที่หมดอายุ ของเซลล์ตัวเอง (autolysis) หรือสิ่ง
แปลกปลอม เช่น แบคทีเรียเข้าสู่ร่างกาย หางลูกอ๊อดที่หดสั้นลง
ในขณะ เมแทบอลิซึม
- ถุงเอนไซม์เมื่อรวมกันกับ Food vacuole มีการย่อยเกิดเป็น
ไลโซโซมลาดับที่สอง
- ในคน ไลโซโซมพบมากในเม็ดเลือดขาวชนิดฟาโกไซต์ที่กินเชื้อโรค
ภาพแสดงการเกิดและโครงสร้างไลโซโซม
4. แวคิวโอล (Vacuole) ถุงบรรจุสาร
ลักษณะ
- เป็นถุงที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว สาหรับเวสิเคิลที่มีขนาดใหญ่อาจเรียกว่า
แวคิวโอล มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน
แวคิวโอลมีหลายชนิดทาหน้าที่แตกต่างกันไป คือ
1. คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (contractile vacuole) ทาหน้าที่ขับ
น้าที่มากและของเสียออกจากเซลล์ พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น
อะมีบา พารามีเซียม
4. แวคิวโอล (Vacuole) ถุงบรรจุสาร
2. ฟูดแวคิวโอล (food vacuole) เกิดจากเซลล์เม็ดเลือดขาว
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวไฮดรา นาอาหารจากภายนอกเข้าสู่เซลล์เพื่อย่อย
สลายด้วยเอนไซม์จากไลโซโซมต่อไป
3. แซบแวคิวโอล (sap vacuole) เป็นแวคิวโอลที่พบในเซลล์พืช
ขณะที่เซลล์พืชอายุน้อยมีแวคิวโอลขนาดเล็กจานวนมาก แต่เมื่อเซลล์
มีอายุมากขึ้นแวคิวโอลเหล่านี้จะรวมเป็นถุงเดียวกันทาให้มีขนาด
ใหญ่ขึ้น ทาหน้าที่ สะสมสารบางชนิด เช่น น้า แก๊ส เกลือ รงควัตถุ
ไอออน น้าตาล กรดอะมิโน ผลึกและสารพิษต่างๆ
สีของกลีบดอกไม้สีแดง ม่วง น้าเงิน มีสารสีแอนไธไซยานิน (Anthocyanin)
ละลายอยู่ในแซบแวคิวโอล
โครงสร้างแวคิวโอลของเซลล์พืช
5. เพอรอกซิโซม (Peroxisome)
ลักษณะ
- เป็นถุงกลมมีกาเนิดมาจากกอลจิ บอดี ภายในบรรจุ
เอนไซม์ เพอรอกซิเดส หรือ คาทาเลส
หน้าที่
-เอนไซม์คาทาเลส ใช้สลายสารพิษไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ไปเป็นน้า
และออกซิเจน
โครงสร้างเพอรอกซิโซมในเซลล์สัตว์และพืช
1.ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
ลักษณะ
- มีรูปร่างค่อนข้างยาว เยื่อหุ้มไมโทคอนเดรียมี 2 ชั้น เยื่อชั้นนอกมี
ลักษณะเรียบ ชั้นในจะพับทบแล้วยื่นเข้าไปด้านใน ส่วนที่ยื่นเข้าไปนี้
เรียกว่า คริสตี (cristae) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิว
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
1.ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
- ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลวบรรจุอยู่เรียกว่า เมทริกซ์ (matrix) มีสาร
พันธุกรรมเป็น DNA จะควบคุมการสร้าง โพลีเพปไทด์ ที่เป็นองค์ประกอบ
ของเอนไซม์ในกระบวนการ ออกซิเดทีฟ ฟอสฟอรีเรชัน (OXIDATIVE
PHOSPHORYLATION) ที่เกี่ยวกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์ สร้าง
พลังงาน ATP และ การจาลองตัวของไมโทคอนเดรีย
-เซลล์ที่ทากิจกรรมมากจะมีไมโทคอนเดรียมาก เช่น เซลล์ตับสร้างน้าดี
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
หน้าที่ของไมโทคอนเดรีย
- ผลิตพลังงานเพื่อใช้ภายในเซลล์และการทากิจกรรมของร่างกาย
ในรูปสารอินทรีย์ ATP
- การสร้างพลังงานเกิดขึ้นที่ผนังชั้นในที่มีเอนไซม์จานวนมาก
โครงสร้างของไมโทคอนเดรีย
ลักษณะ
เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้นพบในเซลล์พืชทั่วไปและสาหร่าย ยกเว้นสาหร่าย
สีเขียวแกมน้าเงิน
พลาสติดมีสีแตกต่างกันจาแนกได้3 ชนิด คือ
1.คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ลักษณะคลอโรพลาสต์
- เป็นพลาสติดที่มีสีเขียวเนื่องจากมีสารคลอโรฟิลล์ เป็นองค์ประกอบเป็น
ส่วนใหญ่ และแคโรทีนอย เป็นแหล่งสร้างอาหารของเซลล์พืชและโพรทิสต์บางชนิด
- เยื่อหุ้มชั้นในเป็นเยื่อบางๆ แผ่เข้าไปเรียก ลาเมลลา มีลักษณะพับไปมาคล้ายถุง
แบนๆที่มีเยื่อหุ้มเรียกว่า ไทลาคอยด์ (thylakoid) และไทลาคอยด์เรียงซ้อนกัน
เรียกว่า กรานุม(granum) แต่ละกรานุมมีโครงสร้างเชื่อมต่อถึงกัน
2.พลาสติด (plastid)
- บนไทลาคอยด์มีสารสีที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น คลอโรฟิลล์
แคโรทีนอยด์ (carotenoid) และมีของเหลวที่เรียกว่า สโตรมา (stroma) อยู่
โดยรอบไทลาคอยด์ ในของเหลวนี้มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
หน้าที่ของคลอโรพลาสต์
- สังเคราะห์ด้วยแสง โดยคลอโรฟิลล์บนไทลาคอยด์จะรับพลังงานแสงเข้าสู่เซลล์
- สังเคราะห์โปรตีน เนื่องจากคลอโรพลาสต์ มี DNA และไรโบโซม
- แบ่งตัวเองได้เนื่องจาก มีสารพันธุกรรม (DNA)
2. ลิวโคพลาสต์ (leucoplast)
ลักษณะ
- เป็นพลาสติดที่ไม่มีรงควัตถุ (Pigment) จึงมีสีขาว
- พบตามเซลล์ของเนื้อเยื่อสะสมอาหารของราก ผล หรือลาต้น
ใต้ดิน
หน้าที่
- สะสมเม็ดแป้งที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง พบในเซลล์ของ
รากและเซลล์ที่
สะสมอาหาร เช่นเซลล์ของหัวมันเทศ มันแกว เผือก ผลไม้
กล้วยและใบพืชบริเวณ ที่ไม่มีสี
3. โครโมพาสต์ (chromoplast)
ลักษณะ
- เป็นพลาสติดที่มีสารที่ทาให้เกิดสีต่างๆ ยกเว้นสีเขียว ทาให้
ดอกไม้ ผลไม้และใบไม้ มีสีสันสวยงาม เช่น ผลสีแดงของพริก
รากของแครอท และใบไม้แก่ๆ เนื่องจากมี
สารพวกแคโรทีนอยด์ จึงทาให้เกิดสีแดง สีส้ม และสีเหลือง
3. ไซโทซอล (Cytosol)
- เป็นส่วนของไซโทพลาซึมที่ไม่รวมออร์แกเนลอื่นๆ มี
ลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว มีอยู่ประมาณร้อยละ 50-60
ของปริมาตรเซลล์ทั้งหมด
- เซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของไซโทซอล ประมาณ 3 เท่า
ของปริมาตรนิวเคลียส
ไซโทซอล (Cytosol)
- เซลล์บางเซลล์มีการไหลของไซโทพลาซึมไปรอบๆเซลล์เรียก
การไหลนี้ว่า ไซโคลซิส (cyclosis ) เป็นผลจากการหดและ
คลายของไมโครฟิลาเมนท์
- บริเวณเอนโดพลาซึมมีลักษณะค่อนข้างเหลวเป็นที่อยู่ของ
ออร์แกเนลล์ต่างๆ นอกจากนี้ในไซโทซอลยังอาจพบโครงสร้าง
อื่นๆ เช่น ก้อนไขมัน เม็ดสีต่าง ๆ เป็นต้น
3. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
ส่วนของเซลล์ที่ทาหน้าที่ห่อหุ้มองค์ประกอบภายใน
เซลล์ให้คงรูปอยู่ได้ ประกอบด้วย
1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
2. ผนังเซลล์ (Cell wall)
ลักษณะ
- เป็นเยื่อที่บางมากประมาณ 10 นาโนเมตร ประกอบด้วยโปรตีน
ประมาณ 60% ลิพิดประมาณ 40%
- ประกอบด้วยฟอสโฟลิปิดจัดเรียงตัวกันเป็น 2 ชั้น (lipid bilayer)
หันปลายข้างที่มีขั้ว (polar head) มีสมบัติชอบน้าออกด้านนอกและ
ปลายที่ไม่มีขั้ว (non polar tail)
1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
มีสมบัติไม่ชอบน้าเข้าด้านใน โดยมีโปรตีนแทรกอยู่เป็นระยะ
นอกจากนี้ยังมีคอเลสเทอรอล ไกลโคลิปิด และไกลโคโปรตีนเป็น
ส่วนประกอบอยู่ด้วย เรียกลักษณะการเรียงตัวแบบนี้ว่า ฟลูอิดโมเซอิก
โมเดล (fluid mosaic model)
- มีรูเล็ก ๆ ช่วยให้จากัดขนาดของโมเลกุลของสารที่จะผ่านเยื่อหุ้ม
เซลล์ได้
ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์ด้วย
1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
โครงสร้างเยื่อหุ้มเซลล์
หน้าที่ของเยื่อหุ้มเซลล์
1. ห่อหุ้มส่วนของโพรโทพลาซึมที่อยู่ข้างในทาให้เซลล์แต่ละ
เซลล์แยกออกจากกัน
2. ช่วยควบคุมการเข้าออกของสารต่างๆ ระหว่างภายในเซลล์และ
สิ่งแวดล้อม มีคุณสมบัติเป็นเซมิเพอร์มีเอเบิล เมมเบรน
(semipermeable membrane) จะยอมให้สารบางชนิดเท่านั้นที่
ผ่านเข้าออกได้ ซึ่งการผ่านเข้าออกจะมีอัตราเร็วที่แตกต่างกัน
หน้าที่ของเยื่อหุ้มเซลล์
3. ทาให้เกิดความต่างศักย์ทางไฟฟ้า (electrical potential) ของภายใน
และภายนอกเซลล์เนื่องมาจากการกระจายของไอออนและโปรตีนไม่
เท่ากัน มีความสาคัญในการนาสารพวกไอออนเข้าหรือออกจากเซลล์
ซึ่งมีความจาเป็นต่อการทางานของเซลล์ประสาทและเซลล์
กล้ามเนื้อมาก
4. เยื่อหุ้มเซลล์ทาหน้าที่รับสัมผัสสารสร้างเป็นเวสิเคิลเข้าในเซลล์
5. เยื่อหุ้มเซลล์บางชนิดยื่นออกเป็นท่อเล็กๆ เรียก ไมโครวิลไล ที่
ลาไส้เล็ก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการดูดสาร
2. ผนังเซลล์ (Cell Wall)
ลักษณะโครงสร้างและคุณสมบัติของผนังเซลล์
- พบได้ในเซลล์พืชทุกชนิด และในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ราและแบคทีเรียบางชนิด
- เป็นผนังแข็งไม่มีชีวิต ห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์ไว้อีกชั้นหนึ่ง
- ประกอบด้วยเซลลูโลสเป็นส่วนใหญ่ และสารพวกลิกนิน
คิวติน เพคติน ซูเบอรรินแทรกปะปนกับเซลลูโลส
2. ผนังเซลล์ (Cell Wall)
2.ผนังเซลล์ (Cell Wall)
- ผนังเซลล์ของโพรคาริโอต มักประกอบด้วยสารเพพทิโดไกลแคน
- ผนังเซลล์ของสาหร่ายสีน้าตาลแกมเหลือง เช่น ไดอะตอมมี
เซลลูโลส และซิลิกา
- ผนังเซลล์ของเห็ดราจะเป็นสารประกอบไคทิน
- ถึงแม้ผนังเซลล์จะหนา แต่มักจะยอมให้สารเกือบทุกชนิดผ่าน
เข้าออกอย่างสะดวก (permable membane) ผนังเซลล์บาง
แห่งจะมีช่องเล็กๆ (plasmodesma pore)
- plasmodesma pore เป็นทางสาหรับให้กิ่ง (สายใย) ของไซ
โทพลาซึมจากเซลล์หนึ่งติดต่อกับกิ่ง (สายใย) ของไซโทพลาซึม
ของเซลล์ข้างเคียงที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงสาร ระหว่างเซลล์
ซึ่งจะเห็นเป็นแถบเล็ก ๆ ผ่านช่องเล็ก ๆ ของ ผนังเซลล์ เรียก
ไซโทพลาซึมบริเวณนี้ว่าพลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata)
หน้าที่ของผนังเซลล์
- เป็นผนังแข็งห่อหุ้มเซลล์ เพิ่มความแข็งแรง และป้องกัน
อันตรายให้แก่เซลล์ป้องกันการระเหยของน้า
โครงสร้างของผนังเซลล์และเซลลูโลส
โครงสร้างของเซลล์สัตว์
โครงสร้างของเซลล์พืช
สวัสดี

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์พัน พัน
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชdnavaroj
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาWichai Likitponrak
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 

Viewers also liked (7)

สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)สารและการจำแนก (Matter and Substance)
สารและการจำแนก (Matter and Substance)
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshareนวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
นวัตกรรม เรื่อง Occupations slideshare
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 

Similar to โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 

Similar to โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure) (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
4
44
4
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
B03
B03B03
B03
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

More from ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข (20)

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro4 th
Astro4 thAstro4 th
Astro4 th
 
Astro3 pdf
Astro3 pdfAstro3 pdf
Astro3 pdf
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Astro1 pdf
Astro1 pdfAstro1 pdf
Astro1 pdf
 
Cm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thaiCm rally episode 4 thai
Cm rally episode 4 thai
 
Cm rally episode 3 thai
Cm rally episode 3 thaiCm rally episode 3 thai
Cm rally episode 3 thai
 

โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)

  • 1. รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 1 (ว 21101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ จัดทาโดย....ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย www.kruseksan.com
  • 2.
  • 3. โครงสร้างและออร์แกน เซลล์พืช เซลล์สัตว์ 1. ผนังเซลล์ 2. เยื่อหุ้มเซลล์ 3. นิวเคลียส 4. ไรโบโซม 5. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม 6. กอลจิบอดี 7. ไมโทคอนเดรีย 8. แวคิวโอล 9. เซนทริโอล 10. คลอโรพลาสต์ 11. ไซโทพลาสซึม 12. ไลโซโซม
  • 4. ใบงานที่ 1 กิจกรรมที่ 1.1 บทที่ 2 หน่วยชีวิต 1.ให้นักเรียนบอกข้อแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ โครงสร้าง หน้าที่ ว่าแตกต่างกันอย่างไร .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. 2.ให้นักเรียนบอกข้อแตกต่างของ Prokaryotic Cell และ Eukaryotic Cell .................................................................................................................. ..................................................................................................................
  • 5.
  • 19.
  • 21.
  • 22. โครงสร้างและออร์แกน เซลล์พืช เซลล์สัตว์ 1. ผนังเซลล์ มี ไม่มี 2. เยื่อหุ้มเซลล์ มี มี 3. นิวเคลียส มี มี 4. ไรโบโซม มี มี 5. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม มี มี 6. กอลจิบอดี มี มี 7. ไมโทคอนเดรีย มี มี 8. แวคิวโอล มี มี 9. เซนทริโอล ไม่มี มี 10. คลอโรพลาสต์ มี ไม่มี 11. ไซโทพลาสซึม มี มี 12. ไลโซโซม มี มี
  • 23. เซลล์และทฤษฎีเซลล์ ● เซลล์เป็นหน่วยโครงสร้างที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต - เซลล์รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ - เนื้อเยื่อรวมกันเป็นอวัยวะ ● สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเพียงเซลล์เดียว บางชนิดมีหลายเซลล์ ● เซลล์ของสิ่งมีชีวิต มีรูปร่าง ขนาด และ โครงสร้างแตกต่างกัน
  • 25. เซลล์และทฤษฎีเซลล์ ● ค.ศ. 1665 Robert Hook นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ประดิษฐ์ กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบ (compound microscope) นามาศึกษา ไม้คอร์ก พบว่า ประกอบด้วยช่องว่างเล็ก ๆ จานวนมากเรียงต่อกัน จึงเรียกช่องนี้ว่า “เซลล์” (cell) พบครั้งแรก เป็นเซลล์ตายแล้ว ยังคงรูปได้เนื่องจากมี ผนังเซลล์ (cell wall)
  • 26. เซลล์และทฤษฎีเซลล์ ● พ.ศ. 2381 มัทติอัส ยอคอบ ชไลเดน นักพฤกษศาสตร์ เยอรมัน ค้นพบว่า - พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีหลายเซลล์ ● พ.ศ. 2382 เทโอดอร์ ชวันน์ นักสัตววิทยา เยอรมัน ค้นพบว่า - สัตว์ทั้งหลายมีเซลล์เป็นองค์ประกอบ ทั้ง 2 คนจงก่อตั้ง ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์เป็นหน่วยพื้นฐาน ของสิ่งมีชีวิต
  • 27. โครงสร้างเซลล์ (รูปร่างและขนาด) Unit abbreviation value 1 centimeter cm 10-2 meter 1 millimeter mm 10-3 meter 1 micrometer µm 10-6 meter 1 nanometer nm 10-9 meter 1 angstrom A 10-10 meter
  • 28. โครงสร้างเซลล์ (จาแนกเซลล์) เซลล์โพรแคริโอต (prokaryotic cell) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก มีขนาด ประมาณ 0.1 – 10 ไมครอน ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane) เช่น แบคทีเรีย ไมโคพลาสมา สาหร่ายสีเขียวแกมน้้าเงิน
  • 29. โครงสร้างเซลล์ (จาแนกเซลล์) เซลล์ยูแคริโอต (eukaryotic cell) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลาย ทั้งขนาด รูปร่างลักษณะ จัดระบบ อวัยวะ และการด้ารงชีวิต ได้แก่ อาณาจักรพืช , อาณาจักรสัตว์ อาณาจักรฟังไจ อาณาจักรโพรทิสตา
  • 30. โครงสร้างของเซลล์ เซลล์โดยทั่วไปไม่ว่าจะมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม แต่จะมีลักษณะโครงสร้างพื้นฐานส่วนใหญ่ คล้ายคลึงกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิต มีส่วนประกอบที่เป็น โครงสร้างพื้นฐานอยู่ 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1. นิวเคลียส (nucleus) 2. ไซโทพลาสซึม 3. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ได้แก่ เยื้อหุ้มเซลล์ (cell membrane) และ ผนังเซลล์ (cell wall)
  • 31. 1.นิวเคลียส (Nucleus)  เป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดของเซลล์เกี่ยวข้องกับ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เพราะเป็นที่ บรรจุสารพันธุกรรม และควบคุมการทางานของเซลล์  พบในเซลล์โดยทั่วไปเซลล์จะมี 1 นิวเคลียส ยกเว้น พารามีเซียม มี 2 นิวเคลียส  เซลล์พวกยูแคริโอตจะมีเยื่อหุ้มนิวเคลียสล้อมรอบ มีลักษณะเหมือนเยื่อหุ้มเซลล์ บนเยื่อมีรูเล็ก ๆมากมาย เรียกว่า นิวเคลียร์พอร์ ( nuclear pore )
  • 34. 1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane) - เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane) เป็นเยื่อบาง ๆ 2 ชั้นอยู่รอบนิวเคลียส มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่านเช่นเดียวกับ เยื่อหุ้มเซลล์ - มีรูเล็ก ๆ (nuclear pore) กระจายอยู่ทั่วไปเพื่อเป็นช่องทาง แลกเปลี่ยนของสารระหว่างนิวเคลียสกับไซโทพลาซึม โดย - บริเวณเยื่อชั้นนอกจะมีไรโบโซมเกาะติดอยู่ทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีน
  • 36. 2. สารในนิวเคลียส (nucleoplasm) 1. นิวคลีโอลัส (Nucleolus) - เป็นโครงสร้างที่ปรากฏเป็นก้อนเล็ก ๆ อยู่ในนิวเคลียส เห็นได้ชัดในช่วง ไม่มีการแบ่งเซลล์ - เซลล์โดยทั่วไปมีนิวคลีโอลัส 1-2 อัน หรือมากกว่าขึ้นกับกิจกรรม เช่น ในเซลล์ตับจะมีนิวคลีโอลัส 2 อัน - ประกอบด้วย กรดนิวคลีอิก RNA และ โปรตีนชนิด ฟอสโฟโปรตีน - เป็นบริเวณที่สังเคราะห์ ไรโบนิวคลีอิก (Ribonucleic acid หรือ RNA) และสารอื่นที่เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม โดยสารเหล่านี้จะถูกส่งผ่านรู ของเยื่อหุ้มนิวเคลียสออกไปยังไซโทพลาซึมเพื่อเป็นส่วนประกอบสาคัญ ของไรโบโซม
  • 39. 2. โครมาทิน (Chromatin) - มีลักษณะเป็นเส้นใยขดไปมาเป็นร่างแห โดยในระยะแบ่งเซลล์จะขดแน่น ขึ้นจนเห็นลักษณะเป็นแท่ง เรียกว่า โครโมโซม (Chromosome) - เป็นโครงสร้างของกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic acid หรือ DNA) - เมื่อแบ่งเซลล์จะมีจานวนเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า - โครมาทิน หรือ โครโมโซม เป็นส่วนของสารพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะ พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต สามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้
  • 40. 3. สารประกอบทางเคมีของนิวเคลียส ประกอบด้วย 1. ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid) หรือ DNA เป็นส่วนประกอบของ โครโมโซมนิวเคลียส 2. ไรโบนิวคลีอิก แอซิด (ribonucleic acid) หรือ RNA เป็นส่วนที่พบในนิวเคลียสโดย เป็นส่วนประกอบของ นิวคลีโอลัส
  • 41. 2. ไซโทพลาสซึม - ไซโทพลาซึมเป็น ของเหลวที่อยู่รอบนอกนิวเคลียส - ขณะเมื่อเซลล์ยังมีชีวิตอยู่ไซโทพลาซึมจะไหลวนอยู่ภายใน เซลล์ และมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีตลอดเวลา - ไซโทพลาซึมประกอบด้วยสาร ได้แก่ น้า โปรตีน คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์จากเซลล์ อินคลูชัน(inclusion) - ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ ที่เทียบได้กับอวัยวะของเซลล์ที่ทา หน้าที่ต่าง ๆ ให้แก่เซลล์
  • 44. 1. ไรโบโซม (Ribosome) ลักษณะของไรโบโซม - เป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม - เป็นออร์แกเนลล์ที่มีขนาดเล็กมาก พบในเซลล์ยูแคริโอต และโพรแคริโอต แต่ ไม่พบในไวรัส สเปิร์มที่แก่เต็มที่ และเม็ดเลือดแดง 1. ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม
  • 45. - ประกอบด้วย โปรตีนและกรดไรโบนิวคลีอิก (rRNA) ทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีน เพื่อใช้ภายในหรือนอกเซลล์ - ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย คือ หน่วยย่อยขนาดเล็กและหน่วย ย่อยขนาดใหญ่ จะอยู่แยกกันและจะประกบติดกัน ขณะสังเคราะห์โปรตีน - ไรโบโซมอิสระ อยู่ในไซโทพลาซึม จะสร้างโปรตีนใช้ในเซลล์ พบที่ เม็ดเลือดแดงที่อายุน้อย ทาหน้าที่ สร้างฮีโมโกลบิน ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม
  • 46. ไรโบโซม - ไรโบโซม เกาะรวมกับ ร่างแหเอนโดพลาสมิค เรติคิวลัม ทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนเพื่อการส่งออกนอกเซลล์ - ไรโบโซมที่เยื่อหุ้มนิวเคลียส สังเคราะห์โปรตีนใช้ใน นิวเคลียส
  • 47. 2. เซนทริโอล (centriole) ลักษณะ - เป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม พบในเซลล์สัตว์และ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ไม่พบในเซลล์พืชและพวกเห็ด รา - มีลักษณะเป็นทรงกระบอกสองอันวางตัวในแนวตั้งฉากกัน อยู่ใกล้ ๆ กับเยื่อหุ้มนิวเคลียส - แต่ละอันประกอบด้วยหลอดเล็กๆ เรียกว่า ไมโครทิวบูล (microtubule) เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 3 หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม (9+0=27)
  • 49. หน้าที่ของเซนทริโอล - เซนทริโอลแต่ละคู่ เรียกว่า เซนโทรโซม (centrosome) ซึ่งเป็น แหล่งกาเนิดเส้นใยไมโทติกสปินเดิล - เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของโครโมโซมและแยกโครมาติดแต่ละ คู่ออกจากกันขณะเกิดการแบ่งเซลล์ของเซลล์สัตว์ มี โพลาร์ แคป ( polar cap) ทาหน้าที่คล้าย เซนทริโอล - เป็นเบซัลบอดี (Basal body) คือ โครงสร้างที่ยึดติดกับเซลล์ของ ร่างกาย โดยสร้างและควบคุมการเคลื่อนไหวของซีเลียและแฟล เจลลัม - ซีเลีย และแฟลเจลลัม ประกอบด้วย ไมโครทิวบูลเรียงตัวเป็น วง 9 กลุ่มๆละ 2 อัน และตรงกลางอีก 2 อัน = 20 ตามสูตร 9+ 0 = 20
  • 50. 3. ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) : โครงร่างที่ค้าจุนเซลล์ - เป็นเส้นใยโปรตีนที่เชื่อมโยงกันเป็นร่างแหเพื่อค้าจุนรูปร่าง ของเซลล์และเป็นที่ยึดเกาะของออร์แกเนลล์ เช่น ไมโทคอนเดรีย ให้อยู่ตามตาแหน่งต่าง ๆ จึงเปรียบคล้ายกับโครงกระดูกของ เซลล์ พบทั้งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ - ทาหน้าที่ลาเลียงออร์แกเนลล์ ให้เคลื่อนที่ภายในเซลล์ รวมทั้งการเคลื่อนที่ ของเซลล์บางชนิด
  • 51. 3. ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) : โครงร่างที่ค้าจุนเซลล์ - แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามองค์ประกอบของหน่วยย่อย 1. ไมโครฟิลาเมนท์ ( microfilament ) 2. ไมโครทิวบูล (microtublue) 3. อินเตอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ (intermediate filaments)
  • 52. 1.ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilament) หรือแอกทินฟิลาเมนท์ (actin filaments) ประกอบด้วย เส้นใยโปรตีนแอกทินที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 7 นาโนเมตร รูปร่างกลมต่อกันเป็นสาย 2 สายพันกันเป็น เกลียวคล้ายสายสร้อยไข่มุก หน้าที่ของไมโครฟิลาเมนท์ 1.ทาให้เกิดการหดตัวและคลายตัวของเซลล์กล้ามเนื้อของสัตว์ เกิดจากการเลื่อนตัวเข้าหากันของโปรตีนแอกทิน (Actin)
  • 53. 1.ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilament) หรือแอกทินฟิลาเมนท์ (actin filaments) 2. ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเซลล์ เช่น เซลล์อะมีบา เซลล์เม็ดเลือดขาวการเลื่อนตัวของแอกทินจะทาให้เกิด เท้าเทียม (Pseudopodium) เรียกการเคลื่อนไหวแบบอะมีบอย (Amoeboid movement ) 3.โปรตีนแอกทินจะรัดให้ไซโทพลาซึมแยกออกจากกันเกิดเป็น 2 เซลล์ 4.ทาให้เกิดการหด และยืดตัวของไมโครวิลลัส และเซลล์ท่อ หน่วยไต
  • 55.
  • 56. 2.ไมโครทิวบูล (microtubule) - เป็นหลอดกลวงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง25 นาโนเมตร เกิดจาก โปรตีนที่เรียกว่า ทูบูลิน(tubulin)เรียงต่อกันเป็นสาย หน้าที่ของไมโครทิวบูล 1. ควบคุมการไหลของไซโทพลาซึมที่เรียกว่าไซโคลซิส มีบทบาท ในการเคลื่อนที่เกือบทุกอย่างในเซลล์ 2. การทางานของซีเลียและแฟกเจลลัม การแยกโครโมโซมออกจาก กันรวมทั้งช่วยควบคุมรูปร่างของเซลล์ จึงเป็นเสมือนโครงกระดูกของ เซลล์
  • 58. 3.อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ (intermediate filaments) - ลักษณะเป็นเส้นใยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8-10 นาโนเมตร ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีนซึ่งเรียงตัวเป็นสายยาวๆ 4 สาย 8 ชุดพันบิดกัน เป็นเกลียว อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์มี 8 ชุด จัดเรียงตัวเป็นร่างแหตาม ลักษณะรูปร่างของเซลล์ - หน้าที่ ทาให้เซลล์คงรูปร่าง - ผิวหนัง จะสร้างอินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์จากโปรตีนพวกเคอราทิน เมื่อเซลล์ผิวหนังตาย อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ยังคงอยู่ ผม และเล็บของ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมก็สร้างด้วยวิธีเดียวกัน
  • 60. 1.เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic reticulum:ER) = โรงงานผลิตและลาเลียงสารในเซลล์ - มีลักษณะเป็นท่อแบนใหญ่ บางบริเวณโป่งออกเป็นถุง เรียงขนานและซ้อนกันเป็นชั้น ๆ - ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่และมีท่อเชื่อมถึงกันเป็นร่างแห - อยู่ล้อมรอบนิวเคลียสและเชื่อมกับเยื่อหุ้มนิวเคลียส ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น
  • 61. แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ (Rough Endoplasmic reticulum , r-ER ) 2. เอนโดรพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic reticulum , s-ER) ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น
  • 63. 1 . เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ (Rough Endoplasmic reticulum r-ER ) ที่ผิวนอกของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม มีไรโบโซม เกาะอยู่ทาให้ มองดูคล้ายผิวขรุขระ - หน้าที่ ผลิตสารพวกไกลโคโปรตีน และขับออกนอกเซลล์ในรูป ซีครีชั่น เช่น เซลล์ตับอ่อนสร้างน้าย่อย และฮอร์โมน เพื่อขับออก นอกเซลล์ - การสังเคราะห์โปรตีน เกิดขึ้นบน ไรโบโซมที่อยู่บนผนัง r-ER แล้ว ลาเลียงเข้าไปใน r-ER รวมกับเอนไซม์ภายใน r-ER จึงส่งต่อไป กอลจิบอดี
  • 64. 2. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic reticulum s-ER) - ลักษณะเป็นร่างแหที่ไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่บนผิวเมมเบรน หน้าที่ของ s-ER 1. ในเซลล์ต่อมไร้ท่อ เช่น เซลล์ชั้นนอกของต่อมหมวกไต อัณฑะ รังไข่ จะสังเคราะห์สาร สเตียรอยด์ เช่น ฮอร์โมนเพศ ไตรกรีเซอไรด์ และสารประกอบของคอเลสเทอรอล 2. ในเซลล์ตับทาลายสารพิษที่อยู่ในเซลล์ ในเซลล์ตับจึงมี s-ER มาก
  • 65. 2. เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic reticulum s-ER) 3. ในเซลล์กล้ามเนื้อยึดกระดูกและและกล้ามเนื้อหัวใจ จะควบคุม การผ่านเข้าออกของแคลเซียมไอออน ซึ่งมีบทบาทในการควบคุม การหดตัวของกล้ามเนื้อ 4. ในเซลล์เยื่อบุผิวลาไส้เล็ก ทาหน้าที่ดูดซึมสารอาหารประเภท ไขมัน เซลล์ที่ทาหน้าที่สร้างพวกโปรตีนหรือเอนไซม์จะมี r-ER มาก เช่น เซลล์ตับอ่อน ส่วนเซลล์ที่ขับสารสเตรอยด์ เช่น เซลล์ที่ ต่อมหมวกไต อัณฑะ และรังไข่ จะมี s-ER มาก
  • 66. 2. กอลจิแอพพาราตัส: ( Golig apparatus) แหล่งรวบรวม บรรจุ และขนส่ง - ลักษณะเป็นกลุ่มของถุงกลมแบน ๆ คล้ายจาน เรียกว่า ซิสเทอร์นา (cisterna) เรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ประมาณ 5- 6 ชั้น - บริเวณตรงขอบโป่งพองเป็นถุงเล็กๆ เรียก เวสิเคิล (vesicle) มักพบอยู่ใกล้กับ ER ถุงด้านที่รับเวสิเคิลเรียกว่า ซิส (cis) ด้านที่ สร้างเวสิเคิลเรียกว่า ทรานส์ (trans) - มีในเซลล์พืชและสัตว์ชั้นสูงเกือบทุกชนิด ยกเว้นเซลล์เม็ดเลือด แดงที่โตเต็มที่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
  • 67. 2. กอลจิแอพพาราตัส: ( Golig apparatus) แหล่งรวบรวม บรรจุและขนส่ง หน้าที่ของกอลจิคอมเพล็กซ์ - เติมกลุ่มคาร์โบไฮเดรต ให้กับโปรตีนหรือลิพิดที่ส่งมาจาก r-ER เกิดเป็น ไกลโคโปรตีน และไกลโคลิพิด แล้วสร้างเวสิเคิล บรรจุสารเหล่านี้ไว้ เพื่อส่งออกไปภายนอกเซลล์ - มีส่วนสาคัญในการสร้างผนังเซลล์ และสารเคลือบเยื่อหุ้มเซลล์
  • 69. 3. ไลโซโซม ( Lysosome ): ผู้ขนส่งเอนไซม์ ลักษณะ - พบเฉพาะใน เซลล์สัตว์ เกือบทุกชนิด และโพรติสต์บางชนิด ไม่พบในเซลล์พืช - ไลโซโซม มีกาเนิดมาจาก เอนโดพลามิก เรติคิวลัม และกอลจิ แอพพาราตัส เป็นถุงเล็กๆบรรจุเอนไซม์ เป็นไลโซโซมลาดับที่หนึ่ง
  • 70. หน้าที่ - เก็บสะสมเอนไซม์ ที่ใช้ย่อยสลายสารอาหารทั้งคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน และกรดนิวคลีอิก - ย่อยออร์แกเนลล์ ที่หมดอายุ ของเซลล์ตัวเอง (autolysis) หรือสิ่ง แปลกปลอม เช่น แบคทีเรียเข้าสู่ร่างกาย หางลูกอ๊อดที่หดสั้นลง ในขณะ เมแทบอลิซึม - ถุงเอนไซม์เมื่อรวมกันกับ Food vacuole มีการย่อยเกิดเป็น ไลโซโซมลาดับที่สอง - ในคน ไลโซโซมพบมากในเม็ดเลือดขาวชนิดฟาโกไซต์ที่กินเชื้อโรค
  • 72. 4. แวคิวโอล (Vacuole) ถุงบรรจุสาร ลักษณะ - เป็นถุงที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียว สาหรับเวสิเคิลที่มีขนาดใหญ่อาจเรียกว่า แวคิวโอล มีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน แวคิวโอลมีหลายชนิดทาหน้าที่แตกต่างกันไป คือ 1. คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล (contractile vacuole) ทาหน้าที่ขับ น้าที่มากและของเสียออกจากเซลล์ พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม
  • 73. 4. แวคิวโอล (Vacuole) ถุงบรรจุสาร 2. ฟูดแวคิวโอล (food vacuole) เกิดจากเซลล์เม็ดเลือดขาว สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวไฮดรา นาอาหารจากภายนอกเข้าสู่เซลล์เพื่อย่อย สลายด้วยเอนไซม์จากไลโซโซมต่อไป 3. แซบแวคิวโอล (sap vacuole) เป็นแวคิวโอลที่พบในเซลล์พืช ขณะที่เซลล์พืชอายุน้อยมีแวคิวโอลขนาดเล็กจานวนมาก แต่เมื่อเซลล์ มีอายุมากขึ้นแวคิวโอลเหล่านี้จะรวมเป็นถุงเดียวกันทาให้มีขนาด ใหญ่ขึ้น ทาหน้าที่ สะสมสารบางชนิด เช่น น้า แก๊ส เกลือ รงควัตถุ ไอออน น้าตาล กรดอะมิโน ผลึกและสารพิษต่างๆ
  • 74. สีของกลีบดอกไม้สีแดง ม่วง น้าเงิน มีสารสีแอนไธไซยานิน (Anthocyanin) ละลายอยู่ในแซบแวคิวโอล โครงสร้างแวคิวโอลของเซลล์พืช
  • 75. 5. เพอรอกซิโซม (Peroxisome) ลักษณะ - เป็นถุงกลมมีกาเนิดมาจากกอลจิ บอดี ภายในบรรจุ เอนไซม์ เพอรอกซิเดส หรือ คาทาเลส หน้าที่ -เอนไซม์คาทาเลส ใช้สลายสารพิษไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ไปเป็นน้า และออกซิเจน โครงสร้างเพอรอกซิโซมในเซลล์สัตว์และพืช
  • 76. 1.ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) ลักษณะ - มีรูปร่างค่อนข้างยาว เยื่อหุ้มไมโทคอนเดรียมี 2 ชั้น เยื่อชั้นนอกมี ลักษณะเรียบ ชั้นในจะพับทบแล้วยื่นเข้าไปด้านใน ส่วนที่ยื่นเข้าไปนี้ เรียกว่า คริสตี (cristae) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิว ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
  • 77. 1.ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) - ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลวบรรจุอยู่เรียกว่า เมทริกซ์ (matrix) มีสาร พันธุกรรมเป็น DNA จะควบคุมการสร้าง โพลีเพปไทด์ ที่เป็นองค์ประกอบ ของเอนไซม์ในกระบวนการ ออกซิเดทีฟ ฟอสฟอรีเรชัน (OXIDATIVE PHOSPHORYLATION) ที่เกี่ยวกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์ สร้าง พลังงาน ATP และ การจาลองตัวของไมโทคอนเดรีย -เซลล์ที่ทากิจกรรมมากจะมีไมโทคอนเดรียมาก เช่น เซลล์ตับสร้างน้าดี ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
  • 78. หน้าที่ของไมโทคอนเดรีย - ผลิตพลังงานเพื่อใช้ภายในเซลล์และการทากิจกรรมของร่างกาย ในรูปสารอินทรีย์ ATP - การสร้างพลังงานเกิดขึ้นที่ผนังชั้นในที่มีเอนไซม์จานวนมาก โครงสร้างของไมโทคอนเดรีย
  • 79. ลักษณะ เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้นพบในเซลล์พืชทั่วไปและสาหร่าย ยกเว้นสาหร่าย สีเขียวแกมน้าเงิน พลาสติดมีสีแตกต่างกันจาแนกได้3 ชนิด คือ 1.คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ลักษณะคลอโรพลาสต์ - เป็นพลาสติดที่มีสีเขียวเนื่องจากมีสารคลอโรฟิลล์ เป็นองค์ประกอบเป็น ส่วนใหญ่ และแคโรทีนอย เป็นแหล่งสร้างอาหารของเซลล์พืชและโพรทิสต์บางชนิด - เยื่อหุ้มชั้นในเป็นเยื่อบางๆ แผ่เข้าไปเรียก ลาเมลลา มีลักษณะพับไปมาคล้ายถุง แบนๆที่มีเยื่อหุ้มเรียกว่า ไทลาคอยด์ (thylakoid) และไทลาคอยด์เรียงซ้อนกัน เรียกว่า กรานุม(granum) แต่ละกรานุมมีโครงสร้างเชื่อมต่อถึงกัน 2.พลาสติด (plastid)
  • 80. - บนไทลาคอยด์มีสารสีที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น คลอโรฟิลล์ แคโรทีนอยด์ (carotenoid) และมีของเหลวที่เรียกว่า สโตรมา (stroma) อยู่ โดยรอบไทลาคอยด์ ในของเหลวนี้มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง หน้าที่ของคลอโรพลาสต์ - สังเคราะห์ด้วยแสง โดยคลอโรฟิลล์บนไทลาคอยด์จะรับพลังงานแสงเข้าสู่เซลล์ - สังเคราะห์โปรตีน เนื่องจากคลอโรพลาสต์ มี DNA และไรโบโซม - แบ่งตัวเองได้เนื่องจาก มีสารพันธุกรรม (DNA)
  • 81.
  • 82. 2. ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) ลักษณะ - เป็นพลาสติดที่ไม่มีรงควัตถุ (Pigment) จึงมีสีขาว - พบตามเซลล์ของเนื้อเยื่อสะสมอาหารของราก ผล หรือลาต้น ใต้ดิน หน้าที่ - สะสมเม็ดแป้งที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง พบในเซลล์ของ รากและเซลล์ที่ สะสมอาหาร เช่นเซลล์ของหัวมันเทศ มันแกว เผือก ผลไม้ กล้วยและใบพืชบริเวณ ที่ไม่มีสี
  • 83. 3. โครโมพาสต์ (chromoplast) ลักษณะ - เป็นพลาสติดที่มีสารที่ทาให้เกิดสีต่างๆ ยกเว้นสีเขียว ทาให้ ดอกไม้ ผลไม้และใบไม้ มีสีสันสวยงาม เช่น ผลสีแดงของพริก รากของแครอท และใบไม้แก่ๆ เนื่องจากมี สารพวกแคโรทีนอยด์ จึงทาให้เกิดสีแดง สีส้ม และสีเหลือง
  • 84. 3. ไซโทซอล (Cytosol) - เป็นส่วนของไซโทพลาซึมที่ไม่รวมออร์แกเนลอื่นๆ มี ลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว มีอยู่ประมาณร้อยละ 50-60 ของปริมาตรเซลล์ทั้งหมด - เซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของไซโทซอล ประมาณ 3 เท่า ของปริมาตรนิวเคลียส
  • 85. ไซโทซอล (Cytosol) - เซลล์บางเซลล์มีการไหลของไซโทพลาซึมไปรอบๆเซลล์เรียก การไหลนี้ว่า ไซโคลซิส (cyclosis ) เป็นผลจากการหดและ คลายของไมโครฟิลาเมนท์ - บริเวณเอนโดพลาซึมมีลักษณะค่อนข้างเหลวเป็นที่อยู่ของ ออร์แกเนลล์ต่างๆ นอกจากนี้ในไซโทซอลยังอาจพบโครงสร้าง อื่นๆ เช่น ก้อนไขมัน เม็ดสีต่าง ๆ เป็นต้น
  • 87. ลักษณะ - เป็นเยื่อที่บางมากประมาณ 10 นาโนเมตร ประกอบด้วยโปรตีน ประมาณ 60% ลิพิดประมาณ 40% - ประกอบด้วยฟอสโฟลิปิดจัดเรียงตัวกันเป็น 2 ชั้น (lipid bilayer) หันปลายข้างที่มีขั้ว (polar head) มีสมบัติชอบน้าออกด้านนอกและ ปลายที่ไม่มีขั้ว (non polar tail) 1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
  • 88. มีสมบัติไม่ชอบน้าเข้าด้านใน โดยมีโปรตีนแทรกอยู่เป็นระยะ นอกจากนี้ยังมีคอเลสเทอรอล ไกลโคลิปิด และไกลโคโปรตีนเป็น ส่วนประกอบอยู่ด้วย เรียกลักษณะการเรียงตัวแบบนี้ว่า ฟลูอิดโมเซอิก โมเดล (fluid mosaic model) - มีรูเล็ก ๆ ช่วยให้จากัดขนาดของโมเลกุลของสารที่จะผ่านเยื่อหุ้ม เซลล์ได้ ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์ด้วย 1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
  • 90.
  • 91. หน้าที่ของเยื่อหุ้มเซลล์ 1. ห่อหุ้มส่วนของโพรโทพลาซึมที่อยู่ข้างในทาให้เซลล์แต่ละ เซลล์แยกออกจากกัน 2. ช่วยควบคุมการเข้าออกของสารต่างๆ ระหว่างภายในเซลล์และ สิ่งแวดล้อม มีคุณสมบัติเป็นเซมิเพอร์มีเอเบิล เมมเบรน (semipermeable membrane) จะยอมให้สารบางชนิดเท่านั้นที่ ผ่านเข้าออกได้ ซึ่งการผ่านเข้าออกจะมีอัตราเร็วที่แตกต่างกัน
  • 92. หน้าที่ของเยื่อหุ้มเซลล์ 3. ทาให้เกิดความต่างศักย์ทางไฟฟ้า (electrical potential) ของภายใน และภายนอกเซลล์เนื่องมาจากการกระจายของไอออนและโปรตีนไม่ เท่ากัน มีความสาคัญในการนาสารพวกไอออนเข้าหรือออกจากเซลล์ ซึ่งมีความจาเป็นต่อการทางานของเซลล์ประสาทและเซลล์ กล้ามเนื้อมาก 4. เยื่อหุ้มเซลล์ทาหน้าที่รับสัมผัสสารสร้างเป็นเวสิเคิลเข้าในเซลล์ 5. เยื่อหุ้มเซลล์บางชนิดยื่นออกเป็นท่อเล็กๆ เรียก ไมโครวิลไล ที่ ลาไส้เล็ก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการดูดสาร
  • 93. 2. ผนังเซลล์ (Cell Wall) ลักษณะโครงสร้างและคุณสมบัติของผนังเซลล์ - พบได้ในเซลล์พืชทุกชนิด และในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ราและแบคทีเรียบางชนิด - เป็นผนังแข็งไม่มีชีวิต ห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์ไว้อีกชั้นหนึ่ง - ประกอบด้วยเซลลูโลสเป็นส่วนใหญ่ และสารพวกลิกนิน คิวติน เพคติน ซูเบอรรินแทรกปะปนกับเซลลูโลส
  • 95. 2.ผนังเซลล์ (Cell Wall) - ผนังเซลล์ของโพรคาริโอต มักประกอบด้วยสารเพพทิโดไกลแคน - ผนังเซลล์ของสาหร่ายสีน้าตาลแกมเหลือง เช่น ไดอะตอมมี เซลลูโลส และซิลิกา - ผนังเซลล์ของเห็ดราจะเป็นสารประกอบไคทิน - ถึงแม้ผนังเซลล์จะหนา แต่มักจะยอมให้สารเกือบทุกชนิดผ่าน เข้าออกอย่างสะดวก (permable membane) ผนังเซลล์บาง แห่งจะมีช่องเล็กๆ (plasmodesma pore)
  • 96. - plasmodesma pore เป็นทางสาหรับให้กิ่ง (สายใย) ของไซ โทพลาซึมจากเซลล์หนึ่งติดต่อกับกิ่ง (สายใย) ของไซโทพลาซึม ของเซลล์ข้างเคียงที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงสาร ระหว่างเซลล์ ซึ่งจะเห็นเป็นแถบเล็ก ๆ ผ่านช่องเล็ก ๆ ของ ผนังเซลล์ เรียก ไซโทพลาซึมบริเวณนี้ว่าพลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata)
  • 97.
  • 98.
  • 99. หน้าที่ของผนังเซลล์ - เป็นผนังแข็งห่อหุ้มเซลล์ เพิ่มความแข็งแรง และป้องกัน อันตรายให้แก่เซลล์ป้องกันการระเหยของน้า โครงสร้างของผนังเซลล์และเซลลูโลส