SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
Download to read offline
Cell Biology
ครูพงศกร นาคไทย
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างเซลล์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ?
เซลล์เป็นหน่วยโครงสร้างพื้นฐานที่มีชีวิตที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
ขนาดของสิ่งมีชีวิตกับความสามารถในการมองเห็น
1 metre =100 centimetres
=1,000 millimetres
1 มิลลิเมตร =1,000 micrometres
=1,000 micron
=1/10 centimetres
= 10-1centimetres
=10-3 metre
1 ไมโครเมตร = 1,000 nanometres
=1,000 millimicron
=10-4 centimetres
=10-6 metre
1 นาโนเมตร =10 Angstrom, Å
=10-7 centimetres
=10-9 metre
1 อังสตรอม = 10-8 centimetres
=10-10 metre
พื้นที่ผิวต่อปริมาตร
กล้องจุลทรรศน์ของลีเวนฮุค (Leeuwenhoek)
ใช้ส่องดูแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ และวาดไว้ดังภาพ
ทฤษฎีเซลล์ (cell theory)
พ.ศ. 2381 มัตทิอัส จาคอบ ชไลเดน (Matthias Jakob
Schleiden) นักพฤกษาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ค้นพบ
ว่า พืชทั้งหลายต่างเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีหลายเซลล์
พ.ศ. 2382 เทโอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann)
นักสัตววิทยาชาวเยอรมัน ได้ประกาศว่าสัตว์ทั้งหลาย
ต่างก็มีเซลล์เป็นองค์ประกอบ
นักวิทยาศาสตร์ทั้ง 2 คน จึงได้ร่วมมือกันตั้ง cell
theory มีใจความว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วย
เซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ทฤษฎีเซลล์ที่สาคัญมี 3 ประการคือ
1. สิ่งมีชีวิตอาจมีเพียงเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ ซึ่ง
ภายในมีสารพันธุกรรมและมี metabolism
ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงชีวิตอยู่ได้
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มี
การจัดระบบการทางานภายในโครงสร้างของเซลล์
3. เซลล์มีกาเนิดมาจากเซลล์แรกเริ่ม (preexisting
cells) เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม แม้ว่า
ชีวิตแรกเริ่มจะมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งไม่มีชีวิต แต่
นักวิทยาศาสตร์ยังคงถือว่าการเพิ่มขึ้นของจานวน
เซลล์เป็นผลสืบเนื่องมาจากเซลล์รุ่นก่อน
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต มีรูปร่าง ขนาด และโครงสร้าง
แตกต่างกัน แต่ก็มีส่วนที่เหมือนกัน ได้แก่
nucleus cytoplasm และcell membrane
นักชีววิทยาได้ใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนศึกษา
เ ซ ล ล์ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต พ บ ว่ า ใ น cytoplasm
มีโครงสร้างขนาดเล็กที่ทาหน้าที่เฉพาะเรียกว่า
organelle มีหลายชนิดซึ่งมีขนาด รูปร่าง จานวน
และหน้าที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์
เปรียบเทียบกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงกับแบบใช้อิเล็กตรอน
19
Amoeba proteus
ประเภทของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Prokaryotic cell
–เป็นเซลล์ที่ไม่มี nuclear membrane
ห่อหุ้ม genetic material ได้แก่
เซลล์ของแบคทีเรีย และสาหร่ายสีน้า
เงินแกมเขียว
Eukaryotic cell
–เซลล์ที่มี nuclear membrane
ห่อหุ้มสารพันธุกรรม ได้แก่ เซลล์ของ
yeast, fungi, protozoa,
Animal cell, plant cell
Fimbriae
Nucleoid
Ribosomes
Plasma membrane
Cell wall
Capsule
Flagella
Bacterial
chromosome
(a) A typical
rod-shaped
bacterium
(b)A thin section
through the
bacterium Bacillus
coagulans (TEM)
0.5 ตm
Diagram of
an animal cell
Diagram of
a plant cell
ลักษณะ Prokaryotic cell Eukaryotic cell
ตัวอย่างสิ่งมีชีวิต bacteria protist, fungi, plant, animal
ขนาดตัวอย่าง ~ 1-10 μm ~ 10-100 μm
nucleus
nucleoid region;
ไม่มีนิวเคลียสจริง
นิวเคลียสจริง พร้อมเยื่อหุ้มสองชั้น
DNA วงกลม (ธรรมดา)
โมเลกุล เป็นแนวตรง (chromosome)
พร้อมด้วย histone protein
RNA/สังเคราะห์โปรตีน อยู่ ใน cytoplasm
RNA สังเคราะห์อยู่ภายในนิวเคลียส และการ
สังเคราะห์ โปรตีนเกิด ใน cytoplasm
ribosome 50S+30S 60S+40S
cytoplasm โครงสร้างเล็กมาก
จัดโครงสร้างโดย endomembrane และ
cytoskeleton
ลักษณะ Prokaryotic cell Eukaryotic cell
การเคลื่อนไหวของเซลล์ flagella flagella และ cilia
mitochondria ไม่มี มี
chloroplast ไม่มี มีใน algaeม, plant และสัตว์
บางชนิด
การจัดรูปองค์กรของเซลล์Single cell Single cell, colony, สิ่งมีชีวิต
หลายเซลล์ชั้นสูงจะมีเซลล์ที่มี
หน้าที่เฉพาะมากขึ้น
การแบ่งเซลล์ simple division Mitosis และmeiosis
CYTOSKELETON:
NUCLEUS
ENDOPLASMIC RETICULUM (ER)
Chromatin
Nucleolus
Nuclear
envelope
Plasma membrane
Smooth ERRough ER
Flagellum
Centrosome
Microfilaments
Intermediate filaments
Microtubules
Microvilli
Peroxisome
Mitochondrion
Lysosome
Golgi apparatus
Ribosomes
NUCLEUS
Nuclear envelope
Nucleolus
Chromatin
Rough endoplasmic reticulum
Smooth endoplasmic reticulum
Ribosomes
Central vacuole
Microfilaments
Intermediate
filaments
Microtubules
CYTOSKELETON
Chloroplast
Plasmodesmata
Wall of adjacent cell
Cell wall
Plasma membrane
Peroxisome
Mitochondrion
Golgi apparatus
ความแตกต่างระหว่างเซลล์พืช และเซลล์สัตว์
ลักษณะที่แตกต่าง เซลล์พืช เซลล์สัตว์
รูปร่าง
ผนังเซลล์
คลอโรพลาสต์
เซนทริโอล
ไลโซโซม
เป็นเหลี่ยม
 
กลมหรือรี






นิวเคลียส (nucleus)
โครงสร้างที่มักพบอยู่ตรงกลางเซลล์
เมื่อย้อมสีจะติดสีเข้มทึบ สังเกตได้ชัดเจน
ปกติสิ่งมีชีวิตทั่วไปมี nucleus เพียง 1
nucleus ได้มีผู้ทดลองศึกษาบทบาทของ
nucleus ดังภาพ
ภาพ การทดลองศึกษาบทบาทของนิวเคลียสในเซลล์อะมีบา
ภาพ การทดลองเพื่อศึกษาบทบาทของนิวเคลียสโดยใช้สาหร่ายอะเซตาบูลาเรีย
protist เป็นกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาจมีเซลล์เดียวหรือ
หลายเซลล์ ซึ่งเซลล์ยังไม่รวมเป็นเนื้อเยื่อ บางชนิด
มีลักษณะคล้ายพืช บางชนิดมีลักษณะคล้ายสัตว์
เช่น protozoa, algae
Nucleus เป็นศูนย์กลางควบคุมการสืบพันธุ์ และการ
ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม นั่นแสดงว่า
นิวเคลียส ควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ภายในเซลล์
โครงสร้างของ nucleus แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
nuclear envelop และ nucleoplasm
Nucleolus
Nucleus
Rough ER
Nuclear lamina (TEM)
Close-up of nuclear
envelope
1 µm
1 µm
0.25 µm
Ribosome
Pore
complex
Nuclear pore
Outer membrane
Inner membrane
Nuclear envelope:
Chromatin
Surface of
nuclear envelope
Pore complexes (TEM)
ภาพ โครงสร้างของนิวเคลียสและเยื่อหุ้มนิวเคลียส
Smooth ER
Rough ER Nuclear envelope
Transitional ER
Rough ERSmooth ER
Transport vesicle
Ribosomes
Cisternae
ER lumen
200 nm
nuclear envelope หรือ nuclear membrane
มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ 2 ชั้น เยื่อแต่ละชั้น
ประกอบด้วย lipid จัดเรียงตัวเป็น 2 ชั้น และมี
protein แทรกอยู่เป็นระยะคล้ายกับcell
membrane มีช่องเล็ก ๆ ทะลุผ่านเยื่อทั้งสอง
กระจายอยู่ทั่วไป (Nuclear pore) ทาหน้าที่เป็น
ทางผ่านเข้าออกของสารระหว่าง nucleus และ
cytoplasm เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมี nuclear envelop
เรียกว่า eukaryotic cell ได้แก่ เซลล์ของพืช สัตว์
และโพรทิสต์ การทื่ nucleus มีเยื่อหุ้มทาให้เห็น
รูปร่างและตาแหน่งของ nucleus ในเซลล์
Nucleus ส่วนใหญ่มีรูปร่างค่อนข้างกลม เซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิดไม่มี nuclear envelope
ได้แก่ แบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน หรือ
ที่เรียกว่า cyanobacteria เซลล์เหล่านี้เรียกว่า
prokaryotic cell
• nucleoplasm หมายถึงส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ใน
nuclear envelope ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ
เช่น nucleolus เป็นบริเวณที่มีลักษณะทึบแสงจะ
ปรากฏเห็นชัดเมื่อย้อมสี nucleus และจะสังเกต
ได้ชัดเจนขณะที่ในเซลล์มีการสังเคราะห์โปรตีน
มาก เป็นโครงสร้างไม่มีเยื้อหุ้มประกอบด้วย
โปรตีนและ nucleic acid ชนิด RNA เป็นส่วน
ใหญ่ และมี DNA ซึ่งสร้าง RNA สาหรับเป็น
องค์ประกอบใน ribosome ในเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับ
การสังเคราะห์โปรตีนมักมี nucleolus ขนาดใหญ่
เซลล์ประสาท มี nucleolus 1 หน่วย แต่ในเซลล์
โอโอไซต์ มี nucleolus 3,300 หน่วย
chromatin เป็นสาร DNA ที่มีโปรตีนหุ้ม DNA เป็น
สารพันธุกรรมขดพันกันไปมาอยู่ใน nucleus
เมื่อ nucleus มีการแบ่งตัว chromatin จะขดตัว
แน่น ทาให้มีขนาดใหญ่และสั้นลง เรียกว่า
chromosome สาหรับ prokaryotic cell จะมี
DNA จะอยู่ใน cytoplasm เนื่องจากไม่มีเยื่อหุ้ม
นิวเคลียส DNA มีหน้าที่ควบคุมการทางานของ
เซลล์และควบคุมการถ่ายทอดลักษณะของ
สิ่งมีชีวิต
ไซโทพลาซึม (cytoplasm)
ส่วนที่ล้อมรอบ nucleus อยู่ภายใน cell
membrane โดย cytoplasm
ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ 2 ส่วน คือ
organelle และcytosol
endoplasmic reticulum : ER มีลักษณะเป็นท่อแบน
ใหญ่ บางบริเวณโป่งออกเป็นถุง เรียงขนานและซ้อน
กันเป็นชั้น ๆ ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ และมีท่อเชื่อม
ถึงกันเป็นร่างแหอยู่ล้อมรอบ nucleus และเชื่อมถึง
กันเป็นร่างแหอยู่ล้อมรอบ nucleus และเชื่อมกับเยื่อ
หุ้มเซลล์ที่ผิวนอกของ ER
บริเวณที ribosome เกาะติดอยู่ทาให้มองดูคล้ายผนัง
ขรุขระ เรียกว่า rough endoplasmic reticulum :
RER
บริเวณไม่มี ribosome เกาะอยู่เรียกว่า smoth
endoplasmic reticulum : SER ทั้งสองชนิดมีท่อเชื่อ
ติดต่อถึงกัน
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม : โรงงานผลิตและลาเลียงสารในเซลล์
RER พบ ribosome ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน โดย
โปรตีนที่ ribosome สังเคราะห์จะบรรจุอยู่ใน vesicle
และมีการลาเลียงส่งไปออกนอกเซลล์หรือส่งไปยัง
Golgi complex หรือไปเป็นส่วนประกอบของ cell
membrane เป็นต้น เซลล์ที่มี RER มากคือ เซลล์ที่
ผลิตโปรตีนสาหรับใส่นอกเซลล์ เช่น เซลล์ตับอ่อนที่ทา
หน้าที่สร้าง enzyme ย่อยสารอาหารต่าง ๆ
SER ทาหน้าที่สังเคราะห์สารสเตอรอยด์ เช่น ฮอร์โมนเพศ
ไตรกลีเซอไรด์ และสารประกอบองคอเลสเทอรอล
นอกจากนี้ SER ยังทาหน้าที่ในการกาจัดสารพิษและ
ควบคุมการผ่านเข้าออกของแคลเซียมไอออนในเซลล์
กล้ามเนื้อยึดกระดูกและกล้ามเนื้อหัวใจ เซลล์ที่มี SER
มาก เช่น เซลล์สมอง ต่อมหมวกไต อัณฑะ และรังไข่
ไรโบโซม (ribosome)
เป็น organelle ขนาดเล็กที่ไม่มีเยื่อหุ้ม รูปร่าง
เป็นก้อน ประกอบด้วยโปรตีนและ RNA
สัดส่วนเท่ากันโดยน้าหนัก ทาหน้าที่สังเคราะห์
โปรตีนประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย คือ
หน่วยย่อยขนาดเล็ก และหน่วยย่อยขนาดใหญ่
หน่วยย่อยทั้งสองชนิดของไรโบโซมอยู่แยกกัน
และจะประกบติดกันในขณะที่มีการสังเคราะห์
โปรตีน
ภาพ ส่วนประกอบของไรโบโซม
Ribosome ที่เกาะติดอยู่ที่ผิวนอกของ RER ทาหน้าที่
เป็นแหล่งสร้างโปรตีนที่ใช้เป็นองค์ประกอบ cell
membrane และส่งออกนอกเซลล์ นอกจากนี้ยังมี
free ribosome ที่ไม่เกาะอยู่กับ ER กระจายอยู่ใน
cytosol ทาหน้าที่สร้างโปรตีนสาหรับใช้ภายใน
เซลล์ พบมากในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีอายุน้อย
ทาหน้าที่สร้างฮีโมโกลบิน
กอลไจ คอมเพล็ก , กอลไจ บอดี และกอลไจ แอพพาราตัส
(Golgi complexหรือ Golgi bodies, golgi apparatus)
แหล่งรวบรวมบรรจุและขนส่ง
กลุ่มของถุงแบบขนาดใหญ่ บริเวณตรงขอบโป่ง
พองใหญ่ขึ้น มักพบอยู่ใกล้กับ ER มีในเซลล์พืช
และสัตว์ชั้นสูงเกือบทุกชนิด ยกเว้นในเซลล์เม็ด
เลือดแดงที่โตเต็มที่แล้วของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ทาหน้าที่เติมกลุ่มคาร์โบไฮเดรตให้แก่โปรตีนหรือ
ลิพิดที่ส่งมาจาก ER เกิดเป็นglycoprotein และ
glycolipid แล้วสร้าง vasicle บรรจุสารเหล่านี้
ไว้ เพื่อส่งออกไปภายนอกเซลล์ หรือเก็บไว้ใช้
ภายในเซลล์ ดังนั้น vesicle จึงเป็นส่วนหนึ่งของ
golgi complex ที่สร้างเป็นถุงออกมา
ไลโซโซม (lysosome)
ผู้ขนส่ง enzyme
Vesicle ที่สร้างมาจาก golgi complex มีลักษณะเป็นถุงลม
มีเยื่อหุ้มเซลล์เดียว ไม่พบในเซลล์พืช พบในเซลล์ของโพรทิสต์
บางชนิด และเซลล์สัตว์เกือบทุกชนิด ยกเว้นเซลล์เม็ดเลือดแดง
ของสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม
ใน lysosome มี enzyme สาหรับย่อยอาหาร โดยlysosome
จะไปรวมกับ vesicle หรือ vacuole ที่มีอาหารอยู่ภายใน
นอกจากนี้ของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังยังมี enzyme ทาลายสิ่ง
แปลกปลอม เช่น lysosome ในเซลล์ตับ และเซลล์เยื่อบุผนัง
ท่อไตส่วนต้น โดยไปรวมกับ vesicle ที่มีสารแปลกปลอม
เมื่อ organelle เสื่อมสภาพ lysosome มีหน้าที่ทาลาย
organelle ภายในเซลล์ เมื่อเซลล์ได้รับอันตรายหรือจะตาย
lysosome จะปล่อย enzyme ออกมาสู่ cytoplasm เพื่อย่อย
สลายเซลล์ทั้งหมด
แวคิวโอล (vacuole)
ถุงบรรจุสาร
มีลักษณะเป็นถุงที่มีเยื่อหุ้มสาหรับ vesicle ที่มีขนาดใหญ่อาจ
เรียกว่า vacuole โดย vacuole มีรูปร่างและขนาด
แตกต่างกัน vacuole มีหลายชนิด ทาหน้าที่แตกต่างกัน
ไปคือ contractile vacuole ทาหน้าที่รักษาสมดุลของน้า
พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา
พารามีเซียม เป็นต้น food vacuole ทาหน้าที่บรรจุ
อาหารที่รับมาจากภายนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป
พบในเซลล์เม็ดเลือดขาวและสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว vacuole
ที่พบในพืชเรียกว่า sap vacuole ขณะที่เซลล์พืชอายุน้อยมี
vacuole ขนาดเล็กจานวนมาก แต่เมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้น
vacuole เหล่านี้จะรวมเป็นถุงเดียวกันทาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
ทาหน้าที่สะสมสารบางชนิด เช่น สารสี ไอออน น้าตาล
กรดอะมิโน ผลึกและสารพิษต่าง ๆ
การสร้าง food vacuole ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียว ในช่วงแรกอาจมีขนาดเล็กและมี
จานวนมาก แต่ต่อมา food vacuole เหล่านี้
จะรวมเป็นถุงเดียวกันทาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทา
ให้มีจานวนลดลง
สีของกลีบดอกไม้ สีแดง สีม่วง สีน้าเงิน มีสารสีที่
เรียกว่า anthocyanin ละลายอยู่ sap
vacuole เช่น ดอกพุดตาน ดอกพู่ระหง
ดอกชบา เป็นต้น
ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
แหล่งพลังงานในเซลล์
mitochondria เป็นแหล่งผลิตสารที่ให้พลังงานสูงแก่
เซลล์ มีรูปร่างหลายแบบขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ ใน
เซลล์ของต่อมหมวกไตมีรูปเป็นทรงกลม ในเซลล์ตับมี
รูปร่างเป็นแท่งสั้น ๆ ในเซลล์บุผิวของลาไส้เล็กมี
รูปร่างค่อนข้างยาว เยื่อหุ้ม mitochondria มี 2 ชั้น
เยื่อชั้นนอกมีลักษณะเรียบ เยื่อชั้นในจะพับทบแล้วยื่น
เข้าไปด้านใน ส่วนที่ยื่นเข้าไปนี้เรียกว่า cristae เพื่อ
เพิ่มพื้นที่ผิว ภายใน mitochondria มีของเหลวบรรจุ
อยู่เรียกว่า matrix ซึ่งจะพบ enzyme ที่เกี่ยวกับ
กระบวนการหายใจระดับเซลล์ และการจาลองตัวของ
mitochondria
เป็น plastid ที่มีสีเขียว เนื่องจากมีสาร chlorophyll
เป็นองค์ประกอบเป็นส่วนใหญ่ เป็นแหล่งสร้างอาหารของ
เซลล์พืชและโพรทิสต์บางชนิด ภายใน chloroplast
โครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายถุงแบน ๆ มีเยื่อหุ้ม เรียกว่า
thylakoid และ thylakoid เรียงซ้อนตัวเป็นตั้งเรียกว่า
granum แต่ละ granum มีโครงสร้างเชื่อมต่อถึงกัน
บน thylakoid มีสารสีใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง เช่นสาร chlorophyll, carotenoid และมีของเหลว
ที่เรียกว่า stroma อยู่โดยรอบ thylakoid ในของเหลว
นี้มี enzyme ที่เกี่ยวข้องกับ photosynthesis
คลอโรพลาสต์ (chloroplast)
chromoplast เป็น plqastid ที่มีสารที่ทาให้เกิดสีต่าง ๆ
ยกเว้นสีเขียว ทาให้ดอกไม้ ใบไม้และผลไม้มีสีสัน
สวยงาม เช่น ผลสีแดงของพริก รากของแครอท และ
ใบไม้แก่ ๆ นอกจากมีสารพวก carotenoid จึงทา
ให้เกิดสีแดง สีส้ม และสีเหลือง
leucoplast เป็น plastid ที่ไม่มีสี ทาหน้าที่สะสมแป้งที่
ได้จาก photosynthesis พบในเซลล์ของราก และ
เซลล์ที่สะสมอาหาร เช่น มันเทศ มันแก้ว เผือก ผลไม้
เช่นกล้วย และใบพืชบริเวณที่ไม่มีสี สามารถพัฒนา
เฉพาะทางไปเป็น Amyloplast, Elaioplasts และ
Proteinoplasts
ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton)
โครงร่างที่ค้าจุนเซลล์
เป็นเส้นใยโปรตีนที่เชื่อมโยงกันเป็นร่างแหเพื่อค้าจุน
รูปร่างของเซลล์และเป็นที่ยึดเกาะของ organelle
เช่น mitochondria ที่อยู่ตามตาแหน่งต่าง ๆ จึง
เปรียบคล้ายกับโครงร่างของเซลล์ และยังทา
หน้าที่ลาเลียง organelle ให้เคลื่อนที่ภายใน
เซลล์ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของเซลล์บางชนิด
cytoskeleton ในเซลล์พืชและสัตว์ แบ่งได้เป็น 3
ชนิด ตามชนิดของหน่วยย่อยที่เป็นองค์ประกอบ
ได้แก่
ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีนที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 7 นาโมเมตร เกิดจากโปรตีน actin ซึ่งมีรูปร่าง
กลมต่อกันเป็นสาย 2 สาย พันบิดกันเป็นเลียวคล้าย
สายสร้อยไข่มุก ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเซลล์
เช่น อะมีบา เซลล์เม็ดเลือดขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังทา
หน้าที่คุ้นจุน ซึ่งพบใน microvilli ซึ่งเป็นส่วนของเซลล์
เยื่อบุในลาไส้เล้กและช่วยในการแบ่งตัวของ กระบวนการ
cytoplasm แบ่งเซลล์
ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilaments) หรือแอกทินฟิลาเมนท์ (actin filaments)
เป็นหลอดกลวงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25
นาโมเมตร เกิดจากโปรตีนที่เรียกว่า tubulin
เรียงต่อกันเป็นสาย ลักษณะเป็นโครงสร้างของ
spindle fiber, cilia, centriole, flagellum
และยังทาหน้าที่ยึดและลาเลียง organelle
ภายในเซลล์
ไมโครทิวบูล (microtule)
เป็นเส้นใยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8-10 นาโนเมตร
ประกอบไปด้วยเส้นใยโปรตีนหน่วยย่อย ซึ่งเรียงตัวเป็น
สายยาว ๆ 4 สาย 8 ชุด พันบิดกันเป็นเกลียว
การจัดเรียงตัวเป็นร่างแหตามลักษณะรูปร่างของเซลล์
ผิวหนัง มีการสร้างจากโปรตีนพวก keratin เมื่อเซลล์
ผิวหนังตาย intermediate filaments ยังคงอยู่
ผมและเล็บของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมก็สร้างโดยวิธีเดียวกันนี้
อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ (intermediate filaments)
66
เซนทริโอล (centriole)
โครงร่างทาให้ chromatid แยกออกจากกันในสิ่งมีชีวิตบางเซลล์
เป็น organelle ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม พบในเซลล์พืชและสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียว ไม่พบในเซลล์พืชและพวกไฮดรา เป็นบริเวณที่ยึด
spindle fiber ช่วยในการเคลื่อนที่ของ chromosome และ
แยก chromatid แต่ละคู่ออกจากกัน ขณะเซลล์แบ่งตัว
centriole อยู่เป็นคู่โดยวางตั้งฉากกัน อยู่ใกล้ ๆ กับ
nuclear envelop โดย centriole แต่ละอันประกอบไปด้วย
หลอดเล็ก ๆ เรียกว่า microtubule เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ
กลุ่มละ 3 หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม แต่ละกลุ่มเชื่อมต่อกันเป็น
แท่งทรงกระบอก โดยมีโปรตีนบางชนิดช่วยยึดระหว่างกลุ่ม
ของ microtubule บริเวณ cytoplasm ที่อยู่ล้อมรอบ
centriole แต่ละคู่เรียกว่า centrosome ซึ่งเป็นแหล่งกาเนิด
spindle fiber
ไซโทซอล (cytosol)
เป็นส่วนของ cytoplasm มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว
มีอยู่ประมาณร้อยละ 50-60 ของปริมาณเซลล์ทั้งหมด
เซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของ cytosolประมาณ 3 เท่า
ของปริมาตร nucleus บริเวณด้านนอกที่อยู่ติดกับเยื่อ
หุ้มเซลล์ เรียกว่า ectoplasm บริเวณด้านในเรียกว่า
endoplasm เซลล์บางเซลล์มีการไหลของ cytoplasm ไป
รอบ ๆ เซลล์ เรียกการไหลนี้ว่า cyclosis หรือ
cytoplasmic streaming เป็นผลจากการหดและคายตัว
ของ microfilament บริเวณ endoplasm มีลักษณะ
ค่อนข้างเหลวเป็นที่อยู่ของ organelle ต่าง ๆ เช่น
vacuole, mitochondria และ ER เป็นต้น นอกจากนี้
ใน cytosol ยังอาจพบโครงสร้างอื่น ๆ เช่น ก้อนไขมัน เม็ด
สีต่างๆ เป็นต้น
โครงสร้างที่ห่อหุ้ม cytoplasm ของเซลล์ให้คงรูปร่างและแสดง
ขอบเขตของเซลล์ ได้แก่ cell membrane และ cell wall
Cell membrane เป็นส่วนที่อยู่ด้านนอกของ cell membrane
พืช สาหร่าย โพรโทซัว แบคทีเรียและเห็ดรา แต่ไม่พบใน
เซลล์สัตว์ cell wall มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์
ผนังเซลล์ของพืชประกอบด้วย cellulose เส้นใยเหล่านี้
จัดเรียงตัวเป็นชั้นไขว้กัน นอกจากนี้เซลล์ที่มีอายุมากขึ้นอาจมี
สารอื่นมาสะสมบนเส้นใย cellulose มากขึ้น เช่น
hemicellulose, pectin, suberin, cutin และ lignin
เป็นต้น cell wall มักจะย้อมให้สารทุกชนิดผ่านเข้าออกน้อย
มาก ผนังเซลล์บางแห่งมักจะมีช่องเล็ก ๆ เป็นทางสาหรับให้
cytoplasm จากเซลล์หนึ่งติดต่อกับ cytoplasm ของเซลล์
ข้างเคียง เรียกบริเวณนี้ว่า plasmodesmata
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
Fig. 4.20a
ผนังเซลล์ของ prokaryote มักประกอบด้วยสาร
peptidoglycan หรือ glycoprotein cell wall
ของสาหร่ายสีน้าตาลแกมเหลือง เช่น ไดอะตอม
นอกจากมีเซลลูโลสแล้วยังมี silica เป็นส่วนประกอบ
cell wall ของเห็ดราจะเป็นสารประกอบ chitin
cell membrane หรือ plasma membrane plasma
lemma เป็นเยื่อบาง ๆ ล้อมรอบ cytoplasm พบใน
เซลล์ทุกชนิดมีความหนาประมาณ 8.5-10
นาโนเมตร กั้นสารที่อยู่ภายในและภายนอกเซลล์และ
รักษาสมดุลของสารภายในเซลล์โดยควบคุมการผ่าน
เข้าออกของสารระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก
โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้ม organelle
ส่วนใหญ่ประกอบด้วย phospholipid จัดเรียงตัว
lipid bilayer โดยการหันปลายข้างที่มีขั้ว (polar
head) มีสมบัติชอบน้าออกด้านอกและปลายที่ไม่
มีขั้ว (non polar tail) มีสมบัติไม่ชอบน้าเข้าด้าน
ในและมีโปรตีนแทรกอยู่ นอกจากนี้ยังมี
cholesterol, glycolipid และ glycoprotein
เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย เรียกลักษณะการ
จัดเรียงตัวแบบนี้ว่า fluid mosaic model
Tight junction
0.5 µm
1 µm
Desmosome
Gap junction
Extracellular
matrix
0.1 µm
Plasma membranes
of adjacent cells
Space
between
cells
Gap
junctions
Desmosome
Intermediate
filaments
Tight junction
Tight junctions prevent
fluid from moving
across a layer of cells

More Related Content

What's hot

หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตสมพร นายน้อย
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 

What's hot (20)

หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 

Similar to Cell2558

2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงWichai Likitponrak
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxssuser4ff757
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์Sukan
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellkasidid20309
 

Similar to Cell2558 (20)

2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
4
44
4
 
4
44
4
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
B08
B08B08
B08
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
4
44
4
 

Cell2558

  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 8. 1 metre =100 centimetres =1,000 millimetres 1 มิลลิเมตร =1,000 micrometres =1,000 micron =1/10 centimetres = 10-1centimetres =10-3 metre 1 ไมโครเมตร = 1,000 nanometres =1,000 millimicron =10-4 centimetres =10-6 metre 1 นาโนเมตร =10 Angstrom, Å =10-7 centimetres =10-9 metre 1 อังสตรอม = 10-8 centimetres =10-10 metre
  • 10.
  • 11.
  • 13.
  • 14.
  • 15. ทฤษฎีเซลล์ (cell theory) พ.ศ. 2381 มัตทิอัส จาคอบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) นักพฤกษาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ค้นพบ ว่า พืชทั้งหลายต่างเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีหลายเซลล์ พ.ศ. 2382 เทโอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann) นักสัตววิทยาชาวเยอรมัน ได้ประกาศว่าสัตว์ทั้งหลาย ต่างก็มีเซลล์เป็นองค์ประกอบ นักวิทยาศาสตร์ทั้ง 2 คน จึงได้ร่วมมือกันตั้ง cell theory มีใจความว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วย เซลล์ และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
  • 16. ทฤษฎีเซลล์ที่สาคัญมี 3 ประการคือ 1. สิ่งมีชีวิตอาจมีเพียงเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ ซึ่ง ภายในมีสารพันธุกรรมและมี metabolism ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงชีวิตอยู่ได้ 2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มี การจัดระบบการทางานภายในโครงสร้างของเซลล์ 3. เซลล์มีกาเนิดมาจากเซลล์แรกเริ่ม (preexisting cells) เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์เดิม แม้ว่า ชีวิตแรกเริ่มจะมีวิวัฒนาการมาจากสิ่งไม่มีชีวิต แต่ นักวิทยาศาสตร์ยังคงถือว่าการเพิ่มขึ้นของจานวน เซลล์เป็นผลสืบเนื่องมาจากเซลล์รุ่นก่อน
  • 17. เซลล์ของสิ่งมีชีวิต มีรูปร่าง ขนาด และโครงสร้าง แตกต่างกัน แต่ก็มีส่วนที่เหมือนกัน ได้แก่ nucleus cytoplasm และcell membrane นักชีววิทยาได้ใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนศึกษา เ ซ ล ล์ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต พ บ ว่ า ใ น cytoplasm มีโครงสร้างขนาดเล็กที่ทาหน้าที่เฉพาะเรียกว่า organelle มีหลายชนิดซึ่งมีขนาด รูปร่าง จานวน และหน้าที่ต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28. ประเภทของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต Prokaryotic cell –เป็นเซลล์ที่ไม่มี nuclear membrane ห่อหุ้ม genetic material ได้แก่ เซลล์ของแบคทีเรีย และสาหร่ายสีน้า เงินแกมเขียว Eukaryotic cell –เซลล์ที่มี nuclear membrane ห่อหุ้มสารพันธุกรรม ได้แก่ เซลล์ของ yeast, fungi, protozoa, Animal cell, plant cell
  • 29. Fimbriae Nucleoid Ribosomes Plasma membrane Cell wall Capsule Flagella Bacterial chromosome (a) A typical rod-shaped bacterium (b)A thin section through the bacterium Bacillus coagulans (TEM) 0.5 ตm
  • 32. ลักษณะ Prokaryotic cell Eukaryotic cell ตัวอย่างสิ่งมีชีวิต bacteria protist, fungi, plant, animal ขนาดตัวอย่าง ~ 1-10 μm ~ 10-100 μm nucleus nucleoid region; ไม่มีนิวเคลียสจริง นิวเคลียสจริง พร้อมเยื่อหุ้มสองชั้น DNA วงกลม (ธรรมดา) โมเลกุล เป็นแนวตรง (chromosome) พร้อมด้วย histone protein RNA/สังเคราะห์โปรตีน อยู่ ใน cytoplasm RNA สังเคราะห์อยู่ภายในนิวเคลียส และการ สังเคราะห์ โปรตีนเกิด ใน cytoplasm ribosome 50S+30S 60S+40S cytoplasm โครงสร้างเล็กมาก จัดโครงสร้างโดย endomembrane และ cytoskeleton
  • 33. ลักษณะ Prokaryotic cell Eukaryotic cell การเคลื่อนไหวของเซลล์ flagella flagella และ cilia mitochondria ไม่มี มี chloroplast ไม่มี มีใน algaeม, plant และสัตว์ บางชนิด การจัดรูปองค์กรของเซลล์Single cell Single cell, colony, สิ่งมีชีวิต หลายเซลล์ชั้นสูงจะมีเซลล์ที่มี หน้าที่เฉพาะมากขึ้น การแบ่งเซลล์ simple division Mitosis และmeiosis
  • 34. CYTOSKELETON: NUCLEUS ENDOPLASMIC RETICULUM (ER) Chromatin Nucleolus Nuclear envelope Plasma membrane Smooth ERRough ER Flagellum Centrosome Microfilaments Intermediate filaments Microtubules Microvilli Peroxisome Mitochondrion Lysosome Golgi apparatus Ribosomes
  • 35. NUCLEUS Nuclear envelope Nucleolus Chromatin Rough endoplasmic reticulum Smooth endoplasmic reticulum Ribosomes Central vacuole Microfilaments Intermediate filaments Microtubules CYTOSKELETON Chloroplast Plasmodesmata Wall of adjacent cell Cell wall Plasma membrane Peroxisome Mitochondrion Golgi apparatus
  • 36. ความแตกต่างระหว่างเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ ลักษณะที่แตกต่าง เซลล์พืช เซลล์สัตว์ รูปร่าง ผนังเซลล์ คลอโรพลาสต์ เซนทริโอล ไลโซโซม เป็นเหลี่ยม   กลมหรือรี      
  • 40. protist เป็นกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาจมีเซลล์เดียวหรือ หลายเซลล์ ซึ่งเซลล์ยังไม่รวมเป็นเนื้อเยื่อ บางชนิด มีลักษณะคล้ายพืช บางชนิดมีลักษณะคล้ายสัตว์ เช่น protozoa, algae Nucleus เป็นศูนย์กลางควบคุมการสืบพันธุ์ และการ ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม นั่นแสดงว่า นิวเคลียส ควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ภายในเซลล์ โครงสร้างของ nucleus แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ nuclear envelop และ nucleoplasm
  • 41. Nucleolus Nucleus Rough ER Nuclear lamina (TEM) Close-up of nuclear envelope 1 µm 1 µm 0.25 µm Ribosome Pore complex Nuclear pore Outer membrane Inner membrane Nuclear envelope: Chromatin Surface of nuclear envelope Pore complexes (TEM)
  • 43. Smooth ER Rough ER Nuclear envelope Transitional ER Rough ERSmooth ER Transport vesicle Ribosomes Cisternae ER lumen 200 nm
  • 44. nuclear envelope หรือ nuclear membrane มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ 2 ชั้น เยื่อแต่ละชั้น ประกอบด้วย lipid จัดเรียงตัวเป็น 2 ชั้น และมี protein แทรกอยู่เป็นระยะคล้ายกับcell membrane มีช่องเล็ก ๆ ทะลุผ่านเยื่อทั้งสอง กระจายอยู่ทั่วไป (Nuclear pore) ทาหน้าที่เป็น ทางผ่านเข้าออกของสารระหว่าง nucleus และ cytoplasm เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมี nuclear envelop เรียกว่า eukaryotic cell ได้แก่ เซลล์ของพืช สัตว์ และโพรทิสต์ การทื่ nucleus มีเยื่อหุ้มทาให้เห็น รูปร่างและตาแหน่งของ nucleus ในเซลล์
  • 45. Nucleus ส่วนใหญ่มีรูปร่างค่อนข้างกลม เซลล์ของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิดไม่มี nuclear envelope ได้แก่ แบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน หรือ ที่เรียกว่า cyanobacteria เซลล์เหล่านี้เรียกว่า prokaryotic cell
  • 46. • nucleoplasm หมายถึงส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ใน nuclear envelope ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เช่น nucleolus เป็นบริเวณที่มีลักษณะทึบแสงจะ ปรากฏเห็นชัดเมื่อย้อมสี nucleus และจะสังเกต ได้ชัดเจนขณะที่ในเซลล์มีการสังเคราะห์โปรตีน มาก เป็นโครงสร้างไม่มีเยื้อหุ้มประกอบด้วย โปรตีนและ nucleic acid ชนิด RNA เป็นส่วน ใหญ่ และมี DNA ซึ่งสร้าง RNA สาหรับเป็น องค์ประกอบใน ribosome ในเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับ การสังเคราะห์โปรตีนมักมี nucleolus ขนาดใหญ่ เซลล์ประสาท มี nucleolus 1 หน่วย แต่ในเซลล์ โอโอไซต์ มี nucleolus 3,300 หน่วย
  • 47. chromatin เป็นสาร DNA ที่มีโปรตีนหุ้ม DNA เป็น สารพันธุกรรมขดพันกันไปมาอยู่ใน nucleus เมื่อ nucleus มีการแบ่งตัว chromatin จะขดตัว แน่น ทาให้มีขนาดใหญ่และสั้นลง เรียกว่า chromosome สาหรับ prokaryotic cell จะมี DNA จะอยู่ใน cytoplasm เนื่องจากไม่มีเยื่อหุ้ม นิวเคลียส DNA มีหน้าที่ควบคุมการทางานของ เซลล์และควบคุมการถ่ายทอดลักษณะของ สิ่งมีชีวิต
  • 48. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) ส่วนที่ล้อมรอบ nucleus อยู่ภายใน cell membrane โดย cytoplasm ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ 2 ส่วน คือ organelle และcytosol
  • 49. endoplasmic reticulum : ER มีลักษณะเป็นท่อแบน ใหญ่ บางบริเวณโป่งออกเป็นถุง เรียงขนานและซ้อน กันเป็นชั้น ๆ ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ และมีท่อเชื่อม ถึงกันเป็นร่างแหอยู่ล้อมรอบ nucleus และเชื่อมถึง กันเป็นร่างแหอยู่ล้อมรอบ nucleus และเชื่อมกับเยื่อ หุ้มเซลล์ที่ผิวนอกของ ER บริเวณที ribosome เกาะติดอยู่ทาให้มองดูคล้ายผนัง ขรุขระ เรียกว่า rough endoplasmic reticulum : RER บริเวณไม่มี ribosome เกาะอยู่เรียกว่า smoth endoplasmic reticulum : SER ทั้งสองชนิดมีท่อเชื่อ ติดต่อถึงกัน เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม : โรงงานผลิตและลาเลียงสารในเซลล์
  • 50. RER พบ ribosome ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน โดย โปรตีนที่ ribosome สังเคราะห์จะบรรจุอยู่ใน vesicle และมีการลาเลียงส่งไปออกนอกเซลล์หรือส่งไปยัง Golgi complex หรือไปเป็นส่วนประกอบของ cell membrane เป็นต้น เซลล์ที่มี RER มากคือ เซลล์ที่ ผลิตโปรตีนสาหรับใส่นอกเซลล์ เช่น เซลล์ตับอ่อนที่ทา หน้าที่สร้าง enzyme ย่อยสารอาหารต่าง ๆ SER ทาหน้าที่สังเคราะห์สารสเตอรอยด์ เช่น ฮอร์โมนเพศ ไตรกลีเซอไรด์ และสารประกอบองคอเลสเทอรอล นอกจากนี้ SER ยังทาหน้าที่ในการกาจัดสารพิษและ ควบคุมการผ่านเข้าออกของแคลเซียมไอออนในเซลล์ กล้ามเนื้อยึดกระดูกและกล้ามเนื้อหัวใจ เซลล์ที่มี SER มาก เช่น เซลล์สมอง ต่อมหมวกไต อัณฑะ และรังไข่
  • 51. ไรโบโซม (ribosome) เป็น organelle ขนาดเล็กที่ไม่มีเยื่อหุ้ม รูปร่าง เป็นก้อน ประกอบด้วยโปรตีนและ RNA สัดส่วนเท่ากันโดยน้าหนัก ทาหน้าที่สังเคราะห์ โปรตีนประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย คือ หน่วยย่อยขนาดเล็ก และหน่วยย่อยขนาดใหญ่ หน่วยย่อยทั้งสองชนิดของไรโบโซมอยู่แยกกัน และจะประกบติดกันในขณะที่มีการสังเคราะห์ โปรตีน ภาพ ส่วนประกอบของไรโบโซม
  • 52. Ribosome ที่เกาะติดอยู่ที่ผิวนอกของ RER ทาหน้าที่ เป็นแหล่งสร้างโปรตีนที่ใช้เป็นองค์ประกอบ cell membrane และส่งออกนอกเซลล์ นอกจากนี้ยังมี free ribosome ที่ไม่เกาะอยู่กับ ER กระจายอยู่ใน cytosol ทาหน้าที่สร้างโปรตีนสาหรับใช้ภายใน เซลล์ พบมากในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีอายุน้อย ทาหน้าที่สร้างฮีโมโกลบิน
  • 53. กอลไจ คอมเพล็ก , กอลไจ บอดี และกอลไจ แอพพาราตัส (Golgi complexหรือ Golgi bodies, golgi apparatus) แหล่งรวบรวมบรรจุและขนส่ง กลุ่มของถุงแบบขนาดใหญ่ บริเวณตรงขอบโป่ง พองใหญ่ขึ้น มักพบอยู่ใกล้กับ ER มีในเซลล์พืช และสัตว์ชั้นสูงเกือบทุกชนิด ยกเว้นในเซลล์เม็ด เลือดแดงที่โตเต็มที่แล้วของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทาหน้าที่เติมกลุ่มคาร์โบไฮเดรตให้แก่โปรตีนหรือ ลิพิดที่ส่งมาจาก ER เกิดเป็นglycoprotein และ glycolipid แล้วสร้าง vasicle บรรจุสารเหล่านี้ ไว้ เพื่อส่งออกไปภายนอกเซลล์ หรือเก็บไว้ใช้ ภายในเซลล์ ดังนั้น vesicle จึงเป็นส่วนหนึ่งของ golgi complex ที่สร้างเป็นถุงออกมา
  • 54.
  • 55. ไลโซโซม (lysosome) ผู้ขนส่ง enzyme Vesicle ที่สร้างมาจาก golgi complex มีลักษณะเป็นถุงลม มีเยื่อหุ้มเซลล์เดียว ไม่พบในเซลล์พืช พบในเซลล์ของโพรทิสต์ บางชนิด และเซลล์สัตว์เกือบทุกชนิด ยกเว้นเซลล์เม็ดเลือดแดง ของสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม ใน lysosome มี enzyme สาหรับย่อยอาหาร โดยlysosome จะไปรวมกับ vesicle หรือ vacuole ที่มีอาหารอยู่ภายใน นอกจากนี้ของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังยังมี enzyme ทาลายสิ่ง แปลกปลอม เช่น lysosome ในเซลล์ตับ และเซลล์เยื่อบุผนัง ท่อไตส่วนต้น โดยไปรวมกับ vesicle ที่มีสารแปลกปลอม เมื่อ organelle เสื่อมสภาพ lysosome มีหน้าที่ทาลาย organelle ภายในเซลล์ เมื่อเซลล์ได้รับอันตรายหรือจะตาย lysosome จะปล่อย enzyme ออกมาสู่ cytoplasm เพื่อย่อย สลายเซลล์ทั้งหมด
  • 56. แวคิวโอล (vacuole) ถุงบรรจุสาร มีลักษณะเป็นถุงที่มีเยื่อหุ้มสาหรับ vesicle ที่มีขนาดใหญ่อาจ เรียกว่า vacuole โดย vacuole มีรูปร่างและขนาด แตกต่างกัน vacuole มีหลายชนิด ทาหน้าที่แตกต่างกัน ไปคือ contractile vacuole ทาหน้าที่รักษาสมดุลของน้า พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม เป็นต้น food vacuole ทาหน้าที่บรรจุ อาหารที่รับมาจากภายนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป พบในเซลล์เม็ดเลือดขาวและสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว vacuole ที่พบในพืชเรียกว่า sap vacuole ขณะที่เซลล์พืชอายุน้อยมี vacuole ขนาดเล็กจานวนมาก แต่เมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้น vacuole เหล่านี้จะรวมเป็นถุงเดียวกันทาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทาหน้าที่สะสมสารบางชนิด เช่น สารสี ไอออน น้าตาล กรดอะมิโน ผลึกและสารพิษต่าง ๆ
  • 57. การสร้าง food vacuole ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียว ในช่วงแรกอาจมีขนาดเล็กและมี จานวนมาก แต่ต่อมา food vacuole เหล่านี้ จะรวมเป็นถุงเดียวกันทาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทา ให้มีจานวนลดลง สีของกลีบดอกไม้ สีแดง สีม่วง สีน้าเงิน มีสารสีที่ เรียกว่า anthocyanin ละลายอยู่ sap vacuole เช่น ดอกพุดตาน ดอกพู่ระหง ดอกชบา เป็นต้น
  • 58. ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) แหล่งพลังงานในเซลล์ mitochondria เป็นแหล่งผลิตสารที่ให้พลังงานสูงแก่ เซลล์ มีรูปร่างหลายแบบขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ ใน เซลล์ของต่อมหมวกไตมีรูปเป็นทรงกลม ในเซลล์ตับมี รูปร่างเป็นแท่งสั้น ๆ ในเซลล์บุผิวของลาไส้เล็กมี รูปร่างค่อนข้างยาว เยื่อหุ้ม mitochondria มี 2 ชั้น เยื่อชั้นนอกมีลักษณะเรียบ เยื่อชั้นในจะพับทบแล้วยื่น เข้าไปด้านใน ส่วนที่ยื่นเข้าไปนี้เรียกว่า cristae เพื่อ เพิ่มพื้นที่ผิว ภายใน mitochondria มีของเหลวบรรจุ อยู่เรียกว่า matrix ซึ่งจะพบ enzyme ที่เกี่ยวกับ กระบวนการหายใจระดับเซลล์ และการจาลองตัวของ mitochondria
  • 59. เป็น plastid ที่มีสีเขียว เนื่องจากมีสาร chlorophyll เป็นองค์ประกอบเป็นส่วนใหญ่ เป็นแหล่งสร้างอาหารของ เซลล์พืชและโพรทิสต์บางชนิด ภายใน chloroplast โครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายถุงแบน ๆ มีเยื่อหุ้ม เรียกว่า thylakoid และ thylakoid เรียงซ้อนตัวเป็นตั้งเรียกว่า granum แต่ละ granum มีโครงสร้างเชื่อมต่อถึงกัน บน thylakoid มีสารสีใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสง เช่นสาร chlorophyll, carotenoid และมีของเหลว ที่เรียกว่า stroma อยู่โดยรอบ thylakoid ในของเหลว นี้มี enzyme ที่เกี่ยวข้องกับ photosynthesis คลอโรพลาสต์ (chloroplast)
  • 60. chromoplast เป็น plqastid ที่มีสารที่ทาให้เกิดสีต่าง ๆ ยกเว้นสีเขียว ทาให้ดอกไม้ ใบไม้และผลไม้มีสีสัน สวยงาม เช่น ผลสีแดงของพริก รากของแครอท และ ใบไม้แก่ ๆ นอกจากมีสารพวก carotenoid จึงทา ให้เกิดสีแดง สีส้ม และสีเหลือง leucoplast เป็น plastid ที่ไม่มีสี ทาหน้าที่สะสมแป้งที่ ได้จาก photosynthesis พบในเซลล์ของราก และ เซลล์ที่สะสมอาหาร เช่น มันเทศ มันแก้ว เผือก ผลไม้ เช่นกล้วย และใบพืชบริเวณที่ไม่มีสี สามารถพัฒนา เฉพาะทางไปเป็น Amyloplast, Elaioplasts และ Proteinoplasts
  • 61.
  • 62. ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) โครงร่างที่ค้าจุนเซลล์ เป็นเส้นใยโปรตีนที่เชื่อมโยงกันเป็นร่างแหเพื่อค้าจุน รูปร่างของเซลล์และเป็นที่ยึดเกาะของ organelle เช่น mitochondria ที่อยู่ตามตาแหน่งต่าง ๆ จึง เปรียบคล้ายกับโครงร่างของเซลล์ และยังทา หน้าที่ลาเลียง organelle ให้เคลื่อนที่ภายใน เซลล์ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของเซลล์บางชนิด cytoskeleton ในเซลล์พืชและสัตว์ แบ่งได้เป็น 3 ชนิด ตามชนิดของหน่วยย่อยที่เป็นองค์ประกอบ ได้แก่
  • 63. ประกอบด้วยเส้นใยโปรตีนที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 7 นาโมเมตร เกิดจากโปรตีน actin ซึ่งมีรูปร่าง กลมต่อกันเป็นสาย 2 สาย พันบิดกันเป็นเลียวคล้าย สายสร้อยไข่มุก ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเซลล์ เช่น อะมีบา เซลล์เม็ดเลือดขาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังทา หน้าที่คุ้นจุน ซึ่งพบใน microvilli ซึ่งเป็นส่วนของเซลล์ เยื่อบุในลาไส้เล้กและช่วยในการแบ่งตัวของ กระบวนการ cytoplasm แบ่งเซลล์ ไมโครฟิลาเมนท์ (microfilaments) หรือแอกทินฟิลาเมนท์ (actin filaments)
  • 64. เป็นหลอดกลวงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 นาโมเมตร เกิดจากโปรตีนที่เรียกว่า tubulin เรียงต่อกันเป็นสาย ลักษณะเป็นโครงสร้างของ spindle fiber, cilia, centriole, flagellum และยังทาหน้าที่ยึดและลาเลียง organelle ภายในเซลล์ ไมโครทิวบูล (microtule)
  • 65. เป็นเส้นใยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8-10 นาโนเมตร ประกอบไปด้วยเส้นใยโปรตีนหน่วยย่อย ซึ่งเรียงตัวเป็น สายยาว ๆ 4 สาย 8 ชุด พันบิดกันเป็นเกลียว การจัดเรียงตัวเป็นร่างแหตามลักษณะรูปร่างของเซลล์ ผิวหนัง มีการสร้างจากโปรตีนพวก keratin เมื่อเซลล์ ผิวหนังตาย intermediate filaments ยังคงอยู่ ผมและเล็บของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมก็สร้างโดยวิธีเดียวกันนี้ อินเทอร์มีเดียทฟิลาเมนท์ (intermediate filaments)
  • 66. 66
  • 67. เซนทริโอล (centriole) โครงร่างทาให้ chromatid แยกออกจากกันในสิ่งมีชีวิตบางเซลล์ เป็น organelle ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม พบในเซลล์พืชและสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียว ไม่พบในเซลล์พืชและพวกไฮดรา เป็นบริเวณที่ยึด spindle fiber ช่วยในการเคลื่อนที่ของ chromosome และ แยก chromatid แต่ละคู่ออกจากกัน ขณะเซลล์แบ่งตัว centriole อยู่เป็นคู่โดยวางตั้งฉากกัน อยู่ใกล้ ๆ กับ nuclear envelop โดย centriole แต่ละอันประกอบไปด้วย หลอดเล็ก ๆ เรียกว่า microtubule เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 3 หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม แต่ละกลุ่มเชื่อมต่อกันเป็น แท่งทรงกระบอก โดยมีโปรตีนบางชนิดช่วยยึดระหว่างกลุ่ม ของ microtubule บริเวณ cytoplasm ที่อยู่ล้อมรอบ centriole แต่ละคู่เรียกว่า centrosome ซึ่งเป็นแหล่งกาเนิด spindle fiber
  • 68. ไซโทซอล (cytosol) เป็นส่วนของ cytoplasm มีลักษณะเป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว มีอยู่ประมาณร้อยละ 50-60 ของปริมาณเซลล์ทั้งหมด เซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของ cytosolประมาณ 3 เท่า ของปริมาตร nucleus บริเวณด้านนอกที่อยู่ติดกับเยื่อ หุ้มเซลล์ เรียกว่า ectoplasm บริเวณด้านในเรียกว่า endoplasm เซลล์บางเซลล์มีการไหลของ cytoplasm ไป รอบ ๆ เซลล์ เรียกการไหลนี้ว่า cyclosis หรือ cytoplasmic streaming เป็นผลจากการหดและคายตัว ของ microfilament บริเวณ endoplasm มีลักษณะ ค่อนข้างเหลวเป็นที่อยู่ของ organelle ต่าง ๆ เช่น vacuole, mitochondria และ ER เป็นต้น นอกจากนี้ ใน cytosol ยังอาจพบโครงสร้างอื่น ๆ เช่น ก้อนไขมัน เม็ด สีต่างๆ เป็นต้น
  • 69. โครงสร้างที่ห่อหุ้ม cytoplasm ของเซลล์ให้คงรูปร่างและแสดง ขอบเขตของเซลล์ ได้แก่ cell membrane และ cell wall Cell membrane เป็นส่วนที่อยู่ด้านนอกของ cell membrane พืช สาหร่าย โพรโทซัว แบคทีเรียและเห็ดรา แต่ไม่พบใน เซลล์สัตว์ cell wall มีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์ ผนังเซลล์ของพืชประกอบด้วย cellulose เส้นใยเหล่านี้ จัดเรียงตัวเป็นชั้นไขว้กัน นอกจากนี้เซลล์ที่มีอายุมากขึ้นอาจมี สารอื่นมาสะสมบนเส้นใย cellulose มากขึ้น เช่น hemicellulose, pectin, suberin, cutin และ lignin เป็นต้น cell wall มักจะย้อมให้สารทุกชนิดผ่านเข้าออกน้อย มาก ผนังเซลล์บางแห่งมักจะมีช่องเล็ก ๆ เป็นทางสาหรับให้ cytoplasm จากเซลล์หนึ่งติดต่อกับ cytoplasm ของเซลล์ ข้างเคียง เรียกบริเวณนี้ว่า plasmodesmata ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
  • 70.
  • 72.
  • 73. ผนังเซลล์ของ prokaryote มักประกอบด้วยสาร peptidoglycan หรือ glycoprotein cell wall ของสาหร่ายสีน้าตาลแกมเหลือง เช่น ไดอะตอม นอกจากมีเซลลูโลสแล้วยังมี silica เป็นส่วนประกอบ cell wall ของเห็ดราจะเป็นสารประกอบ chitin cell membrane หรือ plasma membrane plasma lemma เป็นเยื่อบาง ๆ ล้อมรอบ cytoplasm พบใน เซลล์ทุกชนิดมีความหนาประมาณ 8.5-10 นาโนเมตร กั้นสารที่อยู่ภายในและภายนอกเซลล์และ รักษาสมดุลของสารภายในเซลล์โดยควบคุมการผ่าน เข้าออกของสารระหว่างเซลล์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก
  • 74. โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้ม organelle ส่วนใหญ่ประกอบด้วย phospholipid จัดเรียงตัว lipid bilayer โดยการหันปลายข้างที่มีขั้ว (polar head) มีสมบัติชอบน้าออกด้านอกและปลายที่ไม่ มีขั้ว (non polar tail) มีสมบัติไม่ชอบน้าเข้าด้าน ในและมีโปรตีนแทรกอยู่ นอกจากนี้ยังมี cholesterol, glycolipid และ glycoprotein เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย เรียกลักษณะการ จัดเรียงตัวแบบนี้ว่า fluid mosaic model
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78. Tight junction 0.5 µm 1 µm Desmosome Gap junction Extracellular matrix 0.1 µm Plasma membranes of adjacent cells Space between cells Gap junctions Desmosome Intermediate filaments Tight junction Tight junctions prevent fluid from moving across a layer of cells