SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง โครงงานสื่อออนไลน์ ตอน สารวจป่ าไม้ในตาบลคานาดี
เสนอ
คุณครู จตุรภัทร ประทุม
ผู้จัดทา
1. นางสาวจินตนา ศิริบูรณ์
2. นางสาวอาภัสรา ยิ่งคาแหง
3. นางสาวสุภาพรรณ เวียงคา
4. นางสาวพานทอง กมลผุด
สมาชิกกลุ่มที่ 1 ม.6/1
โรงเรียนคำนำดีพิทยำคม
รายงานนี้เป็นส่วนนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา เทคโนโลยีสื่อผสม
( ง 31102 )ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
ชื่อโครงงาน สื่อออนไลน์ ตอน อัศจรรย์พืชพรรณในป่าใหญ่
ชื่อโครงงาน Wonderful plants in the forest.
ประเภทโครงงาน สื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว จินตนา ศิริบูรณ์
2. นางสาว อาภัสรา ยิ่งคาแหง
3. นางสาว สุภาพรรณ เวียงคา
4. นางสาวพานทอง กมลผุด
ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูพรัตน์ดา พนมเขต
ระยะเวลาในการดาเนินงาน เดือนธันวาคม พ.ศ. 2555- เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บทคัดย่อ
ในอดีตที่ผ่านมาทรัพยากรบนโลกของเราต่างมีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งแร่ธาตุ แม่น้า สัตว์รวมไป
จนถึงป่าไม้แต่เมื่อเวลาผ่านไปประชากรก็มีจานวนเพิ่มมากขึ้น มนุษย์ก็เริ่มสร้างที่อยู่อาศัยมากขึ้นทั้งยังเริ่มมี
ความทันสมัย มีเทคโนโลยีเข้ามาชีวิตและในโลกของเรามากมาย ทาให้มนุษย์เริ่มคิดที่จะสร้างสรรค์สิ่ง
ใหม่ๆขึ้นมา รวมถึงสร้างสิ่งที่จะอานวยความสะดวกสบายให้ตนเอง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของเครื่องใช้ การสร้าง
ถนน การสร้างเขื่อนและอื่นๆอีกมากมาย ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ลดลง รวมถึงทรัพยากรป่าไม้
ด้วย คณะผู้จัดทาจึงได้ทาโครงงานเรื่อง สารวจป่าไม้ในตาบลคานาดี ซึ่งเป็นการสารวจป่าไม้ที่อยู่ใน
ต.คานาดี อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด เพื่อศึกษาป่าไม้ที่มีอยู่ในชุมชน เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปต่อ
ยอดในการทาโครงงาน เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้และเพื่อเป็นการอนุรักษ์ป่าไม้ใน
ชุมชน ซึ่งก็ได้มีการจัดตารางแบ่งกลุ่มวันเวลาในการออกสารวจ ซึ่งอยู่ระหว่าง วันที่ 12-20 มกราคม พ.ศ.
2556 จากนั้นผู้จัดทาก็ได้ออกสารวจ พบพืช ต้นไม้ เห็ดรา และแมลงต่างๆ ที่ต่างฝ่ายต่างพึ่งพาอาศัยกัน
ในป่าใหญ่ จากการสารวจป่าไม้ทั้ง 3 หมู่บ้านที่อยู่ในตาบลคานาดี โดยส่วนใหญ่พบว่า ป่าบ้านสวนหญ้ามี
ความอุดมสมบูรณ์ของไม้ยืนต้นมากที่สุด ทั้งยังพื้นที่ป่าไม้เป็นจานวนมากและยังมีสัตว์จาพวกอาศัยอยู่มาก
ด้วย จนได้รับรางวัลลูกโล่สีเขียวซึ่งเป็นโล่ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าไม้รองลงมาคือป่าของบ้านคานาดี มี
ความอุดมสมบูรณ์ในเรื่องของพืชผักใช้ในการทาอาหารเนื่องมีความสมบูรณ์ของแหล่งน้า และสุดท้ายคือ
ป่าบ้านปากช่อง ซึ่งค่อนข้างอยู่ในที่เนินสูงในช่วงนี้เป็นหน้าแล้งเลยทาให้มีความอุดมสมบูรณ์น้อยที่สุดโดย
ส่วนใหญ่จะพบแต่พืชยืนต้นขนาดใหญ่ที่สามารถทนความแล้งอยู่ได้ ดังนั้นทุกคนในชุมชนควรร่วมมือกัน
รักษา อนุรักษ์ ร่วมกันปลูกป่า และตะหนักถึงประโยชน์ของป่า ไม่ให้ผู้อื่นมาทาลายความอุดมสมบรูณ์
และความสมดุลทางธรรมชาติ เพื่อป่านั้นอยู่กับเราตลอดไป
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเทคโนโลยีสื่อผสม เรื่องสารวจป่าในตาบลคานาดี เสร็จสมบูรณ์เป็นอย่างดีได้
ด้วยความช่วยเหลือและการให้คาปรึกษาจาก คุณครูจตุรภัทร ประทุม ที่ให้คาปรึกษาในเรื่องของ
การทาสื่อออนไลน์ ขอขอบพระคุณ ขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ที่ให้คาปรึกษาการทาระบบ
หมุนเวียนน้าซึ่งเป็นประโยชน์ต่อคณะผู้จัดทาเป็นอย่างยิ่ง ขอบคุณเพื่อนๆที่ให้ความมือในการ
จัดทาโครงงาน
สุดท้ายนี้ผลอันจะเป็นประโยชน์ ความดีความงามทั้งหลายทั้งปวง ที่เกิดขึ้นจากการศึกษา
โครงงานนี้ขอมอบแด่คุณพ่อและคุณแม่ที่เคารพยิ่งและหากมีข้อบกพร่องผิดพลาดประการใดๆคณะ
ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้ด้วยความขอบคุณยิ่ง
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 บทนำ
- ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1
- จุดประสงค์ของการทาโครงงาน 1
- สมมติฐานในการทาโครงงาน 1
- ขอบเขตของการศึกษา 1
บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง 2-18
บทที่ 3 วิธีกำรดำเนินงำน
-วัสดุ-อุปกรณ์ 19
-วิธีทา 20
บทที่ 4 ผลกำรสำรวจ 21-24
บทที่ 5 สรุปผลกำรสำรวจ 25
-ผลที่คาดว่าจะได้รับ 25
-ปัญหาและอุปสรรค 25
-ข้อเสนอแนะ 25
บรรณานุกรม 26
ภาคผนวก
บทที่ 1
บทนา
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในอดีตที่ผ่านมาทรัพยากรบนโลกของเราต่างมีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งแร่ธาตุ แม่น้า สัตว์รวมไป
จนถึงป่าไม้แต่เมื่อเวลาผ่านไปประชากรก็เพิ่มมากขึ้น มนุษย์ก็เริ่มสร้างที่อยู่อาศัยมากขึ้นทั้งยังมีความ
ทันสมัย มีเทคโนโลยีเข้ามาชีวิตและในโลกของเรามากมาย ทาให้มนุษย์เริ่มคิดที่จะสร้างสรรค์สิ่ง
ใหม่ๆขึ้นมา รวมถึงสร้างสิ่งที่จะอานวยความสะดวกสบายให้ตนเอง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของเครื่องใช้ การ
สร้างถนน การสร้างเขื่อนและอื่นๆอีกมากมาย ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ลดลง รวมถึง
ทรัพยากรป่าไม้ด้วย คณะผู้จัดทาจึงได้เล็งเห็นความสาคัญของป่าไม้ที่นับวันจะหมดไปจึงเริ่ม
ทาการศึกษาความอัศจรรย์ของป่าไม้ที่นับวันมนุษย์ยิ่งทาลายลงไปเรื่อยๆ
2. วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาป่าไม้ที่มีอยู่ในชุมชน
2.เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปต่อยอดในการทาโครงงาน
3. เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้
4.เพื่ออนุรักษ์ป่าไม้ในชุมชน
3. ขอบเขตของการศึกษา
ศึกษาป่าไม้ที่มีอยู่ในตาบลคานาดี อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
หายใจไม่ใช้จมูก
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่หายใจเพื่อการอยู่รอด แต่พืชต่างจากสัตว์คือมันจะหายใจเอา CO2 เข้าไปและคาย
ออกซิเจนออกมานเวลากลางวันและหายใจเอาออกซิเจนเข้าไปและคาย CO2 ออกมาในตอนกลางคืน
ปริศนาใบไม้เขียว
สีของสารขึ้นอยู่กับสมบัติการดูดกลืนและสะท้อนสีต่างๆของแสง สีของใบไม้เกิดจากสารชนิด
พิเศษ เช่น คลอโรฟีลล์ ที่ทาให้ใบเป็นสีเขียว และ แคโรทีน ที่ทาให้ใบเป็นสีเหลือง ซึ่งถ้าเป็นสีแดงจะ
เรียกว่า แอนโทโซยานิน โครงสร้างของโมเลกุลคลอโรฟีลล์จะสะท้อนสีเขียวและดูดกลืนสีที่เหลือใน
แสงแดดที่ส่อองกระทบ แสงสีเขียวจึงสะท้อนเข้าสู่ตา ทาให้เราเห็นใบไม้สีเขียว
ใบไม้คลายร้อน
สิ่งของต่างๆ เช่น กระดาษ และเหล็ก จะร้อนมากเมื่อได้รับแสงแดดสักระยะหนึ่ง โดยเฉพาะในฤดู
ร้อน แต่จะแตกต่างจากใบไม้ที่ได้รับแสงแดดตลอดทั้งวันแต่จะไม่ร้อน
ใบไม้ประกอบด้วยชั้นของเซลล์หลายชั้น โดยมีชั้นเอพิเดมิสด้านบนอยู่ที่ผิวใบด้านบนเอพิเดมิสด้านล่าง
ของใบโดยจะมีช่องเล็กๆ จานวนมาก เรียกว่าปากใบ ซึ่งเป็นช่องทางสาหรับผ่านเข้าออกของก๊าซระหว่าง
ใบไม้กับอากาศ ปากใบแต่ละอันจะมีเซลล์ที่มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่ว 2 เซลล์ เรียกว่า เซลล์คุม ซึ่งเป็นตัวคุม
เปิด – ปิดของปากใบ ซึ่งปากใบจะปิดในตอนกลางคืน แล้วนาก๊าซCO2เข้าสู่ใบ และมักจะเปิดปากใบ ใน
เวลากลางวันแล้วปล่อย O2 ออกมา
เมล็ดนักเดินทาง
ความแตกต่างที่สาคัญปะการหนึ่งระหว่างพืชกับสัตว์คือสามารถเคลื่อนที่ไปไหนได้แต่พืชทา
ไม่ได้พืชจะยืดอยู่กับที่ตั้งแต่เกิดจนตาย โดยบางชนิดจะสูงข้นไปด้านบน แต่บางชนิดจะเลื่อยไปตามพื้นดิน
ดั้งนั้นจึงมีกระบวนการทางธรรมชาติที่ช่วยในการกระจายเมล็ดไปยังที่ต่างๆ คือลมน้าและสัตว์และพืชต้น
นั่นเอง การกระจายเมล็ดโดยลมจะเกิดขึ้นกับเมล็ดพืชที่มีน้าหนักเบา เช่น เมล็ดหญ้า เมล็ดกล้วยไม้ซึ่งจะ
ปล่อยได้ไกล จากต้นเดิมมาก นอกจากนี้เมล็ดพืชบางชนิดยังสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบให้เหมาะสมต่อ
การลอยไปตามลม เช่น เมล็ดขอลงต้นยาง ซึ่งมีปีกยื่นออกมาจากเมล็ด
ผู้ย่อยสลาย & กาฝาก
พืชบางชนิดไม่สามารถสร้างอาหารเองได้เพราะไม่มีคลอโรฟีลล์ ซึ่งใช้ในกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง โดยที่พืชพวกนี้จะต้องอาศัยอาหารจากพืชชนิดอื่นหรือสัตว์ที่ตายแล้ว
พืชที่กินซากพืชซากสัตว์เป็นอาหาร เรียกว่าผู้ย่อยสลาย โดยที่พืชเหล่านี้ไม่ได้เป็นตัวย่อยสลายซากพืชซาก
สัตว์เอง แต่จะอาศัยราที่อยู่ที่รากช่วยย่อยสลายซากเหล่านั้นแล้วจึงดูดซึมอาหารมาอีกที พืชเหล่านี้มี
ความสาคัญต่อระบบนิเวศ ซึ่งช่วยกาจัดซากพืชซากสัตว์ไม่ให้ตกค้างในสิ่งแวดล้อม
ส่วนพืชที่ดูดน้าแลละอาหารที่ยังมีชีวิต เรียกว่า กาฝาก เช่น จะพัฒนาอวัยวะพิเศษเพื่อใช้เกาะติด
และเติบโตในเนื้อเยื่อของพืชที่ถูกอาศัย โดยที่กาฝากนั้นจะไม่มีประโยชน์ต่อพืชที่ถูกอาศัยเลย
วงปีทานายอายุ
พืชที่เราเห็นอยู่บนโลกนี้มีมากมายเหลือเกิน ซึ่งมีทั้งพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยว เมื่อต้นเติบโตขึ้น
วงแหวนเก่าที่ตายแล้วจะกลายเป็นเนื้อใน และมีการสร้างวงแหวนใหม่รอบวงเก่า ดั้งนั้นพืชใบเลี้ยงคู่จึง
เติบโตขยาย ขนาดออกไปเรื่อยๆตามอายุ โดยวงแหวนแต่ละวงที่สร้างขึ้น เรียกว่า วงปี ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ใช้
ในการประมาณอายุของต้นไม้โดยจานวนวงปีจากวงในสุดออกมาจนถึงวงนอกสุดจะเท่ากับจานวนปีของ
ต้นไม้ต้นนั้น
ไผ่มหัศจรรย์
คนส่วนมากคิดว่าไผ่เป็นไม้พุ่มหรือต้นไม้แต่จริงๆแล้วไผ่เป็นหญ้าชนิดหนึ่ง สามารถสูงได้ถึง 35
เมตร และหนาได้ถึง 30 เซนติเมตร โดยมีการนาไผ่มาศึกษามากกว่า 600 ชนิด ไผ่ทุกชนิดมีลาต้น เรียบ แข็ง
มี อัตราการเจริญเติบโตเร็วมากถึง 40 เซนติเมตร ต่อวัน และยังเคยมีการรายงานว่ามีการเจริญเติบโตถึง 90
เซนติเมตรต่อวัน ไผ่บางชนิดอาจใช้เวลาถึง 100 ปีในการแตกหน่อ เมื่อแตกหน่อแล้วต้นไผ่จะตาย และหน่อ
นี้จะเจริญเติบโตขึ้นไปเป็นหน่อใหม่
ยอดนักย่อยสลาย
รามีหลายชนิดอย่างเช่น ดอกเห็ด ราบนขนมปัง ยีสต์ ซึ่งรานี้จะช่วยย่อยสลายพืชและสัตว์ที่ตายไป
แล้วเป็นอาหาร ซึ่งเมื่อส่องดูราด้วยกล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้นใยสีดา เขียว เหลืองและน้าเงินเป็นจานวน
มาก เส้นใยเหลานนี้มี 2 ส่วนคือ ไมซีเลียม ที่ขยายตัวเหมือนรากและดูดอาหารจากสิ่งที่มันเกาะอยู่ และอีก
ส่วนหนึ่งรูปร่างกลม ซึ่งเก็บสปอร์เอาไว้และลอยภายในอากาศ โดยเริ่มขยายตัวเมื่อเกาะบนอาหาร ผลไม้
หรือในที่ร้อนและชื้น
แมลงอายุยืน
แมลงมักจะมีอายุสั้นเมื่อเทียบกับสัตว์ชนิดอื่น แต่แมลงบางชนิดก็มีอายุยืน เช่น นางพญาปลวก ซึ่ง
มีอายุได้นานที่สุด 15ปี นอกจากนี้ยังมีจักจั่นที่มีอายุ 17 ปี โดยตัวเมียจางไข่บนกิ่งไม้เมื่อตัวอ่อนฝักตัวก็จะ
ตกลงบนพื้นดิน จากนั้นจะเจริญเติบโตขึ้นมากับรากพืชและต้นไม้โดยไม่เคลื่อนที่เป็นเวลา 17 ปี แต่จะดูด
อาหารจากพืช หลังจากนั้นก็จะปีนขึ้นไปบนต้นไม้เพื่อรับแสง แลละผิวหนังจะแตกออกกลายเป็นตัวเต็มวัย
แต่อีก 5สัปดาห์ก็จะตาย ดั้งนั้นมันจึงใช้การเจริญเติบโตถึง 17 ปี และใช้ชีวิตจริงๆเพียง 5 สัปดาห์
สัตว์ผลิตความหวาน
ผึ้งรังหนึ่งจะมีพืชอยู่ 3 ชนิดหลักๆ คือ ผึ้งงาน ทาหน้าที่หาอาหารและปกป้ องัง ผึ้งราชินี ทาหน้าที่
วางไข่ และผึ้งตัวผู้ทาหน้าที่ผสมพันธุ์กับผึ้งราชินี โดยทั่วไปรังผึ้งจะมีราชินี 1 ตัว ผึ้งตัวผู้100 ตัว และผึ้ง
งาน 60,000 ผึ้งราชินีจะวางไข่ได้มากกว่าวันละ 20,000 ฟอง ประมาณ 250,000 ฟองในหนึ่งฤดูกาล และ
วางไข่ได้มากกว่า 1 ล้านฟองในช่วงอายุ โดยผึ้งส่วนมากจะมีอายุ 1- 2 ปี ผึ้งงานจะหาอาหารโดยดูดน้าหวาน
ในดอกไม้และนามาใส่ถุงอาหารน้าผึ้งที่อยู่ในรังผึ้งโดยมันจะต้องดูดน้าหวานจากดอกไม้ประมาณ 1,000
ดอก น้าตาลี่อยู่ในน้าหวานของดอกไม้จะเกิดปฏิกิริยาเคมี และน้าจะระเหยออกไปเกิดเป็น น้าผึ้งที่สามารถ
เก็บไว้เพื่อเป็นอาหารได้นานโดยไม่เสีย โดยน้าผึ้งจะประกอบด้วยสารอาหารหลายชนิด ได้แก่ แร่ธาตุ เอน
ไซน์ โปรตีน และกรดต่างๆเล็กน้อย น้าผึ้งจึงเป็นอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพของเรา
กองทัพมด
มดเป็นแมลงชนิดหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ว่ามดมีมากกว่า 2,000 ชนิด เราสามารถพบมดได้เกือบทุก
ส่วนบนโลก ส่วนใหญ่มดมีขนาดเล็กกว่า 1 นิ้ว ลักษณะลายบนลาตัวมดจะแตกต่างกันตามชนิดบางชนิดมี
เขี้ยวสาหรับกัดแทะ บางชนิดไม่มี มดเป็นสัตว์สังคมที่มีอาณาจักรของตนเอง นั่นคือ มดจะอยู่ร่วมกันเป็น
กลุ่มใหญ่ซึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่งล้านตัว โดยจะทารังใต้ดินหรือในต้นไม้ที่ตายแล้ว ในรังมดมีมดอยู่ 3
ประเภทคือ มดราชินี ทาหน้าที่วางไข่ มดตัวผู้ซึ่งจะไม่ทางาน และมดงานซึ่งเป็นมดตัวเมีย รังมดมีเซลล์
หรือห้องต่างๆ มากมาย เพื่อไว้ใช้งานตามแต่ละวัตถุประสงค์เช่นมดราชินีวางไข่ห้องหนึ่ง ห้องถัดไปจะเป็น
ห้องฟักไข่ และห้องถัดไปจะเป็นห้องเสบียง เป็นต้น รังมดอาจมีมดราชะนีหลายตัว โดยแต่ละตัวจะอยู่ใน
ห้องของตนเอง มดงานมีหน้าที่หาอาหารลี้ยงดูตัวอ่อนและสร้างรัง บางสายพันธุ์มีมดตัวเมียที่เป็นมดทหารที่
ปกป้ องรังด้วยตามปกติกองทัพทดในเขตป่าร้อนจะเดินทางไปตามที่ต่างๆ ทุกวัน มดเป็นพันๆตัวจะเดินไป
เรื่อยๆ และหากพบซากสัตว์มันก็จะรุมกินอย่างรวดเร็ว
มดเป็นสัตว์ที่ทาอะไรได้หลายอย่าง พวกมันสามารถเดินทางไกล และกลับมารังโดยจะปล่อย
สารเคมีไว้ตามทาง นอกจากนี้พวกมันยังสามารถแบกน้าหนักที่มากกว่าน้าหนักตัวมันได้มากถึง 50 เท่า
ข่า
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Languas galanga(Linn.) Stuntz
วงศ์ : ZINGIBERACEAE
ชื่อท้องถิ่น : กฎุกโรหินี ข่าหลวง ข่าตาแดง
ลักษณะทั่วไป :
ลาต้นจะเป็นไม้ลงหัวจาพวกกระวาน ชอบขึ้นตามที่ลุ่ม ใบรูปไข่ ยาว สลับๆกันรอบๆลาต้นบนดิน
มีลักษณะเป็นกาบหุ้มรอบลาต้น ใบรูปร่างคล้ายพาย ออกดอกเป็นช่อสีขาว อาจะมีสีแดงปนอยู่ด้วยเล็กน้อย
ดอกจะอยู่บริเวณตรงปลายยอด ดอกอ่อนจะมีกาบสีเขียวหุ้มอยู่ ผลกลมโตขนาดเท่าเม็ดบัว เมื่อผลสุกจะ
เปลี่ยนเป็นสีดา มีรสขม เผ็ดร้อน สามารถขยายพันธ์ข่าด้วยเหง้าหรือหน่อก็ได้โดยปลูกหลุมละ 1 หน่อ ห่าง
กันประมาณ 80 ซม. เพื่อรองรับกอที่จะขยายเพิ่มขึ้น ไม่ค่อยมีแมลงศัตรูพืชมารบกวน
ข่านิยมนามาใช้เป็นเครื่องเทศสาหรับแต่งกลิ่นอาหารและดับกลิ่นคาวพวก เนื้อสัตว์ต่างๆ เช่น ต้มยาปลา
ข้าวต้มปลา ต้มข่าไก่ ใช้เป็นส่วนผสมในน้าพริก เครื่องแกงต่างๆ นอกจากนี้ยังใช้เป็นส่วนผสมของลูกแป้ ง
ที่ใช้ทาข้าวหมากและเหล้า ดอกและลาต้นอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด
ส่วนที่นามาใช้
เหง้าอ่อน ลาต้น และ ดอก
สรรพคุณและวิธีการใช้
ใช้เหง้าสดตาให้ละเอียด นามาผสมกับเหล้าขาว นามาทาบริเวณผิวหนัง เพื่อรักษาโรคกลาก เกลื้อน
หรือ ลมพิษได้ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องเดิน โดยนาเหง้าสดมาตาให้ละเอียด ผสมกับน้าปูนใส
ทานครั้งละประมาณครึ่งแก้ว ช่วยลดอาการปวดฟัน โดยนาเหง้าสดมาตา ผสมเกลือลงไปเล็กน้อย นาไปใส่
ในรูฟันที่ปวด หรือ อาจจะอมไว้ที่เหงือกก็ได้ สามารถนาสารสกัดจากข่า มาทาเป็นยารักษาโรคได้เช่น แก้
ปวดบวมข้อ หลอดลมอักเสบ ยาขับลม ยาธาตุ และยารักษาแผลสด ใช้เหง้าสดนามาตาให้ละเอียด นาไปวาง
เพื่อไล่แมลง จากกลิ่นของน้ามันหอมระเหย สามารถใช้ผลข่า รักษาอาการปวดท้องและช่วยย่อยอาหารได้
ช่วยลดอาการไอ โดยนาข่ามาทุบ ฝานบางๆ บีบมะนาวลงไปเล็กน้อย เติมน้าตาล แล้วใช้อม เคี้ยว หรือกลืน
เลยก็ได้ ช่วยลดอาการบวมช้า โดยใช้หัวข่าแก่ ทุบแล้วทาบริเวณที่บวมช้า เช้า-เย็น
ผักกูด
ผักกูด
ผักกูด เป็นผักชนิดหนึ่งที่อยู่ในตระกูลเฟิร์นที่อยู่ในวงศ์ "Athyriaceae" ซึ่งจะเกิดขึ้นบริเวณที่มีความ
ชุ่มชื้น หรือมีน้าท่วมขัง ตามลาห้วย ป่าเขาที่มีความอุดมสมบูรณ์ เติบโตในฤดูฝนในที่โล่งแจ้งมีน้าชื้นแฉะ
จะพบมากกว่าที่ในป่าทึบ ชาวบ้านจะเข้าไปเด็ดยอดอ่อนๆของผักกูด ซึ่งคนเรานิยมนามาปรุงและประกอบ
เป็นอาหารรับประทาน และสามารถนาไปขายตามตลาดได้อีกด้วย และยังเป็นผักพื้นบ้านที่มีประโยชน์อีก
ด้วย โดยมีสรรพคุณแก้ไข้ตัวร้อน พิษอักเสบ บารุงสายตา บารุงโลหิต ความดันโลหิตสูง และมีวิตามินจาก
ผักใบเขียว
ผักกูดเป็นพืชตระกูลเฟิร์นที่สามารถกินได้ชนิดหนึ่ง มีเหง้าสูงประมาณ 1 เมตร ใบเป็นแผงรูปขนนก ตอน
อายุยังน้อยจะแตกเป็นรูปขนนกชั้นเดียวคู่ขนานกันไปตั้งแต่โคนใบถึงปลายใบ
เมื่ออายุมากขึ้นใบจะเปลี่ยนเป็นรูปขนนก 2 ชั้น ยอดอ่อนและปลายยอดม้วนงอแบบก้นหอย เติบโตในฤดู
ฝนในที่โล่งแจ้งมีน้าชื้นแฉะ จะพบมากกว่าที่ในป่าทึบ
ผักกูดมี 3 ชนิด
แตกต่างกันเพียงสีของต้นและลักษณะใบเล็กน้อย รับประทานเป็นอาหารได้ทั้ง 3 ชนิด
ชาวบ้านรุ่นเก่าๆ รู้จักผักกูดมาตั้งแต่โบราณแล้ว ส่วนคนรุ่นใหม่น้อยนักจะรู้จักและรู้จักรับประทาน มียอด
อ่อนขายตามตลาดสดทั่วไป
ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่าผักกูดเป็นผักบอกสภาวะแวดล้อมให้คนรู้ว่า บริเวณไหนอากาศไม่ดี ดินไม่บริสุทธิ์ มี
สารเคมีเจือปนอยู่ ผักกูดจะไม่ยอมขึ้นหรือแตกต้นในบริเวณนั้นเด็ดขาด ผักกูดจึงถือได้ว่าเป็นอาหารพิเศษ
อย่างหนึ่งจากธรรมชาติมีสารเบต้าแคโรทีนและธาตุเหล็กในตัวสูง
เมื่อรับประทานแล้วจึงได้ประโยชน์ ใบของผักกูดใช้ต้มน้าดื่มหรือกินสด ช่วยแก้ไข้ตัวร้อน แก้พิษอักเสบ
บารุงสายตา บารุงโลหิต แก้โลหิตจาง ป้ องกันเลือดออกตามไรฟันและขับปัสสาวะเด็ดขาดมาก ลดความดัน
โลหิตสูง คอเลสเตอรอลในเม็ดเลือด ส่วนใหญ่จะนาใบอ่อน ช่ออ่อน ทาแกงกับปลาเนื้ออ่อนน้าจืด เช่นปลา
ช่อนหรือลวกจิ้มน้าพริกชนิดต่างๆ ยาผักกูด ผักกูดผัดน้ามันหอย แกงกะทิกับปลาย่าง ลวกกะทิ ลวกกินกับ
ส้มตาก็ได้ดี แต่ไม่นิยมกินสดๆ กันเพราะจะมียางเป็นเมือกอยู่ที่ก้าน
ข้อมูล ผักกูด
ชื่ออื่น กีบม้าลม ดูกู
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dryopteris amboinensis Ktze. F
วงศ์ DRYOPTERIDACEAE
ชื่อสามัญ Oak fern
แหล่งที่พบ ทั่วไปทุกภาค
ประเภทไม้เฟิร์น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น เป็นไม้ต้นเตี้ยพวกเดียวกับเฟิน ความสูง 6-18 ซม. โคนต้นพองออกมีขนสีน้าตาลแดงโดยรอบ
ใบ ใบประกอบแบบขนนกสองหรือสามชั้น ยาว 1.8-4.5 เมตร ใบย่อยรูปขอบขนานกว้าง 1-4 ซม. ยาว 10-30
ซม.ปลายใบแหลมขอบใบเรียบเป็นหยักเล็กน้อย อับสปอร์แตกตามยาวอยู่ใต้ใบหัว เป็นเหง้า
ส่วนที่ใช้บริโภค ยอดอ่อน ใบอ่อน
การขยายพันธุ์ เหง้า สปอร์
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ริมห้วยริมน้าและชะง่อนหินที่มีความชันสูงของป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้งป่าดิบเขา
และป่าผลัดใบ
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ตลอดปี แต่นิยมรับประทานหน้าแล้งรสชาติอร่อยกว่าฤดูอื่น
คุณค่าทางอาหาร คุณค่าทางอาหารในส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม ประกอบด้วย
การปรุงอาหาร ยอดอ่อน ใบอ่อน นามาลวกหรือต้มให้สุก เป็นผักร่วมกับน้าพริก หรือนาไปปรุงเป็นอาหาร
เช่น ยา ผัด ต้มกะทิ แกงจืด แกงเลียง แกงส้ม
ลักษณะพิเศษ ผักกูด รสจืดอมหวาน กรอบ หยุ่น เป็นผักที่มีรสชาติดี
ข้อควรระวัง ไม่ควรรับประทานดิบ เพราะว่าผักกูดมีสารออกซาเลตสูง ควรต้มให้สุกก่อน
ผักนาม
ผักหนามเป็นผักพื้นบ้านพื้นเมืองที่ขึ้นเองตามธรรมชาติอย่างแท้จริง แม้ว่าผักหนามจะเกิดขึ้นทุกภาค
ของแผ่นดินไทย แต่ผักหนามเป็นที่รู้จักและนิยมกินกันอย่างมากในหมู่ชาวบ้านชนบทแถบภาคอีสาน และ
ภาคเหนือ เป็นผักที่เก็บตามริมคลอง หนอง บึง ที่อยู่ตามป่าเขาลาเนาไพร
ผักหนาม เรียกตามลักษณะของผักที่มีหนามเกาะเต็มลาต้น หนามอ่อนที่อยู่ตามยอดอ่อนกินได้เพราะ
หนามนิ่ม หนามจะแข็งไปเรื่อยๆ ตามอายุความแก่ของลาต้น ผักหนาม มีลักษณะเป็นเหง้าเหมือนผัก
ประเภทเหง้าทั่วไป เช่น กล้วย ต้นคูน ต้นบุก ต้นอีรอก เป็นต้น มีเหง้าฝังอยู่ในดิน ชอบความชุ่มชื้น ดังนั้น
ผักหนามจึงเกิดและเติบโตตามแอ่งน้า ริมน้าทั่วไปในพื้นที่สูง ตามริมน้าบนภูเขา ถ้าบริเวณที่ผักหนามขึ้น
น้าท่าอุดมสมบูรณ์ก็สามารถมียอดผักหนามให้กินกันทั้งปี แต่โดยทั่วไปน้าท่าชุ่มฉ่าก็เฉพาะหน้าฝน ดังนั้น
ผักหนามจึงมีให้เก็บกินได้ถ้วนทั่วก็เฉพาะฤดูฝนเท่านั้น
ผักหนาม ก็จะเป็นหนึ่งในผักพื้นบ้านที่เกิดตามธรรมชาติที่ชาวบ้านนิยมเข้าป่าหาผัก ผักที่ได้รวมกันมามี
หลายชนิดในแต่ละฤดูกาล ฉะนั้นในฤดูกาลต้นหนาม ชาวบ้านก็จะเก็บผักหนาม ผักอีรอก เก็บเห็ดต่างๆ
เรียกว่าเข้าป่าทีหนึ่งก็ได้ผักมาหลายชนิดทีเดียว
ผักหนาม มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Lasia spinosa Thw. เป็นไม้ล้มลุก ลักษณะผักหนามจะแทงยอด
ขึ้นมาจากเหง้า เลื้อยไปตามดิน บ้างก็แทงตรง บ้างก็งอหงิก ทั้งนี้เพราะลาต้นอวบน้า ไม่มีแก่นไม้คล้ายผัก
ประเภทต้นคูน หรือลาต้นสายบัว คือเป็นโพรงอากาศอยู่ภายใน ใบมีขอบหยักเว้าลึกออกเป็นแฉกๆ รอยเว้า
ลึกเข้าไปเกือบถึงเส้นกลางใบ แฉกใบกว้าง ก้านใบยาว ก้านใบมีสีเขียว สีแดงเลือดหมู ใบอ่อนจะม้วนเป็น
แท่งกลม ปลายแหลม ช่อดอกเป็นแท่งและดอกย่อยอัดแน่น มีกาบหุ้มช่อดอกสีน้าตาล ก้านช่อดอกยาวมี
หนามและไม่อร่อยเป็นที่สุด โดยทั่วไปชาวบ้านกินลาต้นอ่อนของผักหนาม จะกินแบบต้มแล้วเอาไปจิ้ม
สารพัดน้าพริกประดามีของชาวบ้านเป็นหลักใหญ่ เพราะผักหนามที่สุกจะมีรสพิเศษของผัก คือออกรส
หวานปนรสขม บางครั้งมีรสเปรี้ยวนิดๆ ขื่นหน่อยๆ ถือว่าอร่อยเป็นที่สุด เมื่อได้น้าพริกรสเข้มข้น เผ็ด เค็ม
เปรี้ยว ที่ลงตัว หรือต้มกับหางกะทิ รสหวานมันของกะทิเพิ่มความนุ่มนวลและรสชาติให้กับผักอร่อยยิ่งขึ้น
ข้อควรระวัง: ผักหนาม กินสดไม่ได้เพราะมียาง ทาให้คันคออย่างมากและมีพิษ เพราะมีสารชื่อ
hydrocyanic acid
ต้นกวาง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocarpus tuberculatns Roxb.
อันดับ
ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAE
ชื่อสามัญ พลวง
ชื่ออื่น กุง (อุบลราชธานี, อุดรธานี, ปราจีนบุรี) คลง (เขมร) คลอง (เขมร) ควง (พิษณุโลก, สุโขทัย) ตึง, ตึง
ขาว (ภาคเหนือ) พลวง, ยาง (ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ยางพลวง (ภาคกลาง) พลอง, แลเท้า
(กะเหรี่ยง,แม่ฮ่องสอน)
ประเภทไม้ ไม้ยืนต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลาง-ใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลาต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้าตาลปนเทา
อ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวของลาต้น กิ่งอ่องเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง มีรอยแผลใบเห็นชัด ใบ เดี่ยว เรียง
เวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างขนาด 15-28 X 15-40 ซ.ม. โคนใบแผ่กว้าง แล้วหยักเว้า ปลายใบสอบทู่ เนื้อใบหนา
เกลี้ยงหรืออาจมีขนกระจายห่างๆบ้าง ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ก้านใบยาว 3-30 ซ.ม.
ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ตอนปลายกิ่ง มีกาบหุ้มช่อดอกรูปขอบขนานแคบๆ หนึ่งกาบ กลีบเลี้ยงโคน
เชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบบิดตามเข็มนาฬิกาเหมือนกังหัน ก่อนออกดอก
จะทิ้งใบหมดหรือเกือบหมด
สี ชมพู-ชมพูเข้ม ขอบกลีบสีขาว
กลิ่น -
ออกดอก เดือน ธ.ค.-เม.ย.
ผล เป็นรูปกรวย มีสันด้านข้างผล 5 สัน และพองโตเป็นติ่ง 5 ติ่งตรงที่ติดกับโคนปีก มีปีกยาว 2 ปีก ยาว 10-
15 ซ.ม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น
ผลแก่ ประมาณ ม.ค. - พ.ค.
แหล่งที่พบ ป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรัง หรือป่าแดง ที่พบขึ้นอยู่ทุกภาคของประเทศไทย
ประโยชน์และความสาคัญ
การใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้ เนื้อไม้ในระยะแรกๆ จะออกสีน้าตาลแกมแดง ถ้าทิ้งไว้นานจะเปลี่ยนเป็น
สีน้าตาลเข้ม เสี้ยนตรงพอประมาณ เนื้อหยาบแต่สม่าเสมอ แข็ง เลื่อยผ่าไสกบตบแต่งง่าย ใช้ทาสิ่งปลูกสร้าง
ต่างๆ ภายในร่ม เช่น เครื่องบน รอด ตง คาน พื้น ฝา ทาเครื่องมือทางการเกษตร หูกทอผ้า กังหันน้า ปาร์เก้
หรือกระเบื้องไม้ปูพื้น
การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพร น้ามันใช้ทาแผลภายนอก โดยผสมกับมหาหิงคุ์ และน้ามันมะพร้าวก็ได้
ใบ เผาให้เป็นเถ้าผสมกับน้าปูนใส แก้บิดและถ่ายเป็นมูกเลือก ราก นามาต้มแล้วดื่มแก้ตับอักเสบ
การใช้ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ ชันใช้ทาไม้ยาเรือ หรือ ยาเครื่องจักสาน ทาไต้ใบแห้งใช้มุงหลังคา ฝา
กั้นห้อง คลุมผิวดิน ปลูกผัก ปลูกสตรอเบอร์รี่ ใบสด ใช้ห่อของแทนถุงพลาสติก
หญ้าเพ็ก
ชื่อท้องถิ่น: หญ้าเพ็ก
ชื่อสามัญ: ไผ่เพ็ด
ชื่อวิทยาศาสตร์: Vietnamosasa pusilla (Chevlier a.Camus) Nguyen
ชื่อวงศ์: GRAMINAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท: ไม้พุ่ม
ลักษณะพืช: ป็นพืชอายุหลายปี แตกกอสูง 70 - 120 เซนติเมตร ลาต้นแข็ง เนื้อไม้เป็นเสี้ยนเหนียวแบบ
ไม้ไผ่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 - 1.0 เซนติเมตร ใบหยาบกระด้าง แผ่นใบยาว 8 - 14 เซนติเมตร กว้าง 1
เซนติเมตร มีกิ่งก้านแตกจากข้อ ดอกเป็นช่อแยกแขนง (panicle) ระบบรากตื้น แต่มีเหง้าแข็งแรง แพร่พันธุ์
โดยหน่อหรือเหง้า ขึ้นในที่ดอนและในที่ร่มเงาของป่าโปร่ง เช่น ป่าพลวง ป่าเหียง ทนต่อสภาพแห้งแล้งและ
การถูกไฟเผา แต่หญ้าชนิดนี้แก่เร็ว และเมื่อแก่ลาต้นจะแข็งแบบกิ่งไผ่ทาให้ระยะการใช้ประโยชน์เป็น
อาหารสัตว์มีช่วงสั้น ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม
ปริมาณที่พบ: มาก
การขยายพันธุ์: ใช้หัว/เหง้า/หน่อ
อธิบายวิธีการเพาะ/ขยายพันธุ์: ไผ่เพ็กนี้จะขยายพันธ์เองและรวดเร็ว
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นาไปใช้ประโยชน์: เป็นอาหารสัตว์โค กระบือ โดยปล่อยให้สัตว์แทะเล็มตาม
ธรรมชาติ ลาต้นใช้เป็นวัตถุดิบทาเยื่อกระดาษ
แหล่งที่พบ: ตามท้องนา
อีกา
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
อันดับ: Passeriformes
วงศ์: Corvidae
สกุล: Corvus Linnaeus, 1758
นกกา หรือ อีกา (อังกฤษ: Crow) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก เป็นนกชนิดหนึ่งอยู่
ในสกุล Corvus ในวงศ์นกกา (Corvidae)
พบกระจายพันธุ์ทั่วโลก ยกเว้นในทวีปอเมริกาใต้มีลักษณะเฉพาะตัวคือมีสีขนสีดาสนิทเป็นเงามันเลื่อม อยู่
รวมกันเป็นกลุ่มและออกหากินเวลากลางวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งวันที่แดดแรง กาจะหาอาหารโดยการซ่อนตัว
ในเงาของต้นไม้สาหรับการจู่โจมเหยื่อ
นกกามีลักษณะเหมือนนกอีกประเภทหนึ่งชื่อ นกเรเวน ซึ่งเป็นนกที่มีสีดาเหมือนกัน
บทที่ 3
วัสดุ-อุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน
วิธีการดาเนินงาน
1.การดาเนินการสารวจ
1. ร่วมกันวางแผนการทางานในกลุ่มเพื่อศึกษาป่าไม้ที่มีอยู่ในชุมชน
2. ออกกลุ่มสารวจป่าไม้ที่อยู่ในชุมชนที่กาหนดในเขตพื้นที่ในตาบลคานาดีพร้อมบันทึกผลการ
สารวจ
3. นาผลจากการสารวจป่าไม้พืช สัตว์และบริเวณรอบๆ มาศึกษาถึงคุณประโยชน์ ความสัมพันธ์ทาง
ธรรมชาติ ทั้งจากหนังสือ สืบค้นทาง Enternet สอบถามจากผู้เชี่ยวชาญทางป่าไม้รวมถึงสอบถาม
จากครูที่ปรึกษาโครงงาน
4. สรุปผลจากการศึกษา
2. การจัดเตรียมระบบ
1.สมัคร Wordpress ผ่านระบบ Internet
2.นาเนื้อหาที่ต้องมานาเสนอ ไม่ว่าจะเป็น video เพลง เป็นต้นผ่านรูปแบบของ Blog ในกลุ่มของ
ตนเอง
3.เผยแพร่ผลงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. เว็บไซต์ออนไลน์
2. สมุดบันทึก ปากกา ดินสอ ยางลบ
3. แว่นขยาย
4. กล้องถ่ายภาพ
5. Computer
6. หนังสือเกี่ยวกับป่าไม้
7. โทรศัพท์มือถือ
งบประมาณ
1,000 บาท ( หนึ่งพันบาทถ้วน )
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ที่ กิจกรรม/รายการปฏิบัติ ระยะเวลาการ
ดาเนินงาน(เดือน)
ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ
1. สารวจป่าไม้ในเขตบ้านสวน
หญ้า
12-14 มกราคม
พ.ศ. 2556
จินตนา – อาภัสรา
2. สารวจป่าไม้ในเขตบ้านคานาดี 15-16 มกราคม
พ.ศ. 2556
จินตนา - อาภัสรา
3. สารวจป่าในเขตบ้านปากช่อง 17-18 มกราคม
พ.ศ. 2556
จินตนา - อาภัสรา
บทที่ 4
ผลการสารวจ
รูปที่ 1 แสดงหน้าหลักของwordpress
รูปที่ 2 แสดงหน้าเกี่ยวกับความรู้เรื่องธรรมชาติ
รูปที่3 แสดงหน้าเรื่องระบบนิเวศ
รูปที่ 4 แสดงหน้าทรัพยากรป่ าไม้
รูปที่ 5 แสดงหน้าบุคคลที่อุทิศตนเพื่อป่ าไม้
รูปที่ 6 แสดงหน้าผู้จัดทา
รูปที่ 7 แสดงหน้าครูที่ปรึกษาโครงงาน
ลาดับ ป่าของหมู่บ้าน พืชและสัตว์ที่พบโดยส่วนใหญ่
1 สวนหญ้า ต้นกุง ต้นชาติ ต้นยูคาลิปตัส ต้นสาน กระฐินนรงค์หญ้าเพก มด
ปลวก แตน กะปอม นก
2 คานาดี ต้นกุง ผักนาม ผักกูด ใบบอน มด นก
3 ปากช่อง ต้นกุง ต้นสัก หญ้าเพก มด ปลวก นก
บทที่ 5
สรุปผลการสารวจ
1.สรุปผลการสารวจ
จากการสารวจป่าไม้ทั้ง 3 หมู่บ้านที่อยู่ในตาบลคานาดี โดยส่วนใหญ่พบว่า ป่าบ้านสวนหญ้ามี
ความอุดมสมบูรณ์ของไม้ยืนต้นมากที่สุด ทั้งยังพื้นที่ป่าไม้เป็นจานวนมากและยังมีสัตว์จาพวกอาศัยอยู่มาก
ด้วย จนได้รับรางวัลลูกโล่สีเขียวซึ่งเป็นโล่ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าไม้รองลงมาคือป่าของบ้านคานาดี มี
ความอุดมสมบูรณ์ในเรื่องของพืชผักใช้ในการทาอาหารเนื่องมีความสมบูรณ์ของแหล่งน้า และสุดท้ายคือ
ป่าบ้านปากช่อง ซึ่งค่อนข้างอยู่ในที่เนินสูงในช่วงนี้เป็นหน้าแล้งเลยทาให้มีความอุดมสมบูรณ์น้อยที่สุดโดย
ส่วนใหญ่จะพบแต่พืชยืนต้นขนาดใหญ่ที่สามารถทนความแล้งอยู่ได้
2.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ทราบว่าป่าไม้ในชุมชนมีพืชชนิดใดบ้าง
2. ได้ต่อยอดความรู้จากการศึกษาป่าไม้มาใช้ในการทาโครงงาน
3. ผู้ที่อ่านหรือศึกษาโครงงานนี้ได้ตระหนักถึงความสาคัญและความอัศจรรย์ของป่าไม้
4. ทุกคนในชุมชนได้ร่วมกันอนุรักษ์ป่าไม้ในเขตพื้นที่ชุมชนของตน
3.ปัญหาและอุปสรรค
1.ปัญหาเรื่องการทา video ที่ใช้ulead video studeo เนื่องจากมีความรู้ไม่เพียงพอ
2.ปัญหาในการทา Wordpress ที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของผู้จัดทา
4.ข้อเสนอแนะ
ควรสารวจพื้นที่ป่าไม้ให้หลายตาบลมากกว่านี้
บรรณานุกรม
- หนังสือมหัศจรรย์พืชพรรณและสัตว์ชมรมบ้านวิทยาศาสตร์
- เว็บไซต์ออนไลน์
http://www.thislam.com/index.php/food-a-health/43-plant-in-the-crude-form/72-kha
http://www.เกษตรกรรม.com/2012/02/blog-post_03.html
http://www.magnoliathailand.com/webboard/index.php?topic=2241.0
http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=47581.0
http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=8068
http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/0/02/Jungle-Crow-Tokyo.jpg
ภาคผนวก
ยอดนักย่อยสลาย
ผักกูดขาว
ต้นกวาง
ต้นชาต
ผักกูดแดง
ผักหนาม

More Related Content

What's hot

1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5Tewit Chotchang
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1Sircom Smarnbua
 

What's hot (20)

Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
 
2 plantstruc 2
2 plantstruc 22 plantstruc 2
2 plantstruc 2
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Ecosys 1 62_new
Ecosys 1 62_newEcosys 1 62_new
Ecosys 1 62_new
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Biomapcontest2014 boxbox
Biomapcontest2014 boxboxBiomapcontest2014 boxbox
Biomapcontest2014 boxbox
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
Lesson2plant1bykruwichai62
Lesson2plant1bykruwichai62Lesson2plant1bykruwichai62
Lesson2plant1bykruwichai62
 
Biocontest2014 girl'sday
Biocontest2014 girl'sdayBiocontest2014 girl'sday
Biocontest2014 girl'sday
 
Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62
 
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
 
ดอกไม้
ดอกไม้ดอกไม้
ดอกไม้
 

Viewers also liked

Kgc인삼공사 '심' 2013 spring
Kgc인삼공사 '심' 2013 springKgc인삼공사 '심' 2013 spring
Kgc인삼공사 '심' 2013 springsamsamstory
 
Proyecto de ecologia 1
Proyecto de ecologia 1Proyecto de ecologia 1
Proyecto de ecologia 1fernabarba
 
Contaminacion visual
Contaminacion visualContaminacion visual
Contaminacion visualRuby Quiroz
 
Servicemkting 111117031553-phpapp02
Servicemkting 111117031553-phpapp02Servicemkting 111117031553-phpapp02
Servicemkting 111117031553-phpapp02Bharat Tiwari
 
Walmart company analysis by belton bates
Walmart company analysis by belton batesWalmart company analysis by belton bates
Walmart company analysis by belton batesbeltonbates
 
Nsi brochure ott_12
Nsi brochure ott_12Nsi brochure ott_12
Nsi brochure ott_12Fabio Sironi
 
Go getta vendor presentation broker introduced v.0811
Go getta vendor presentation   broker introduced v.0811Go getta vendor presentation   broker introduced v.0811
Go getta vendor presentation broker introduced v.0811Mike Burdick
 
Changing landscape of teaching metroleads - jan 2013
Changing landscape of teaching   metroleads - jan 2013Changing landscape of teaching   metroleads - jan 2013
Changing landscape of teaching metroleads - jan 2013Jeff Loats
 
Halozati fejlec oravzlat_u_erlap_v2 (5)
Halozati fejlec oravzlat_u_erlap_v2 (5)Halozati fejlec oravzlat_u_erlap_v2 (5)
Halozati fejlec oravzlat_u_erlap_v2 (5)eniko70
 

Viewers also liked (12)

Group 19 u nature
Group 19 u natureGroup 19 u nature
Group 19 u nature
 
Kgc인삼공사 '심' 2013 spring
Kgc인삼공사 '심' 2013 springKgc인삼공사 '심' 2013 spring
Kgc인삼공사 '심' 2013 spring
 
Proyecto de ecologia 1
Proyecto de ecologia 1Proyecto de ecologia 1
Proyecto de ecologia 1
 
Contaminacion visual
Contaminacion visualContaminacion visual
Contaminacion visual
 
Servicemkting 111117031553-phpapp02
Servicemkting 111117031553-phpapp02Servicemkting 111117031553-phpapp02
Servicemkting 111117031553-phpapp02
 
Walmart company analysis by belton bates
Walmart company analysis by belton batesWalmart company analysis by belton bates
Walmart company analysis by belton bates
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Appunti sulla Fisica Moderna
Appunti sulla Fisica ModernaAppunti sulla Fisica Moderna
Appunti sulla Fisica Moderna
 
Nsi brochure ott_12
Nsi brochure ott_12Nsi brochure ott_12
Nsi brochure ott_12
 
Go getta vendor presentation broker introduced v.0811
Go getta vendor presentation   broker introduced v.0811Go getta vendor presentation   broker introduced v.0811
Go getta vendor presentation broker introduced v.0811
 
Changing landscape of teaching metroleads - jan 2013
Changing landscape of teaching   metroleads - jan 2013Changing landscape of teaching   metroleads - jan 2013
Changing landscape of teaching metroleads - jan 2013
 
Halozati fejlec oravzlat_u_erlap_v2 (5)
Halozati fejlec oravzlat_u_erlap_v2 (5)Halozati fejlec oravzlat_u_erlap_v2 (5)
Halozati fejlec oravzlat_u_erlap_v2 (5)
 

Similar to รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี

การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาตินาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติlamphoei
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jiranun Phahonthammasan
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์Chayaporn Jongjumnien
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena PmdAkradech M.
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)saruta38605
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์firstyuppedu
 

Similar to รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี (20)

การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาตินาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
 
at 1
at 1at 1
at 1
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
34355599
3435559934355599
34355599
 
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วยกระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 

รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานสื่อออนไลน์ ตอน สารวจป่ าไม้ในตาบลคานาดี เสนอ คุณครู จตุรภัทร ประทุม ผู้จัดทา 1. นางสาวจินตนา ศิริบูรณ์ 2. นางสาวอาภัสรา ยิ่งคาแหง 3. นางสาวสุภาพรรณ เวียงคา 4. นางสาวพานทอง กมลผุด สมาชิกกลุ่มที่ 1 ม.6/1 โรงเรียนคำนำดีพิทยำคม รายงานนี้เป็นส่วนนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา เทคโนโลยีสื่อผสม ( ง 31102 )ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
  • 2. ชื่อโครงงาน สื่อออนไลน์ ตอน อัศจรรย์พืชพรรณในป่าใหญ่ ชื่อโครงงาน Wonderful plants in the forest. ประเภทโครงงาน สื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว จินตนา ศิริบูรณ์ 2. นางสาว อาภัสรา ยิ่งคาแหง 3. นางสาว สุภาพรรณ เวียงคา 4. นางสาวพานทอง กมลผุด ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูพรัตน์ดา พนมเขต ระยะเวลาในการดาเนินงาน เดือนธันวาคม พ.ศ. 2555- เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
  • 3. บทคัดย่อ ในอดีตที่ผ่านมาทรัพยากรบนโลกของเราต่างมีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งแร่ธาตุ แม่น้า สัตว์รวมไป จนถึงป่าไม้แต่เมื่อเวลาผ่านไปประชากรก็มีจานวนเพิ่มมากขึ้น มนุษย์ก็เริ่มสร้างที่อยู่อาศัยมากขึ้นทั้งยังเริ่มมี ความทันสมัย มีเทคโนโลยีเข้ามาชีวิตและในโลกของเรามากมาย ทาให้มนุษย์เริ่มคิดที่จะสร้างสรรค์สิ่ง ใหม่ๆขึ้นมา รวมถึงสร้างสิ่งที่จะอานวยความสะดวกสบายให้ตนเอง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของเครื่องใช้ การสร้าง ถนน การสร้างเขื่อนและอื่นๆอีกมากมาย ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ลดลง รวมถึงทรัพยากรป่าไม้ ด้วย คณะผู้จัดทาจึงได้ทาโครงงานเรื่อง สารวจป่าไม้ในตาบลคานาดี ซึ่งเป็นการสารวจป่าไม้ที่อยู่ใน ต.คานาดี อ.โพนทอง จ.ร้อยเอ็ด เพื่อศึกษาป่าไม้ที่มีอยู่ในชุมชน เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปต่อ ยอดในการทาโครงงาน เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้และเพื่อเป็นการอนุรักษ์ป่าไม้ใน ชุมชน ซึ่งก็ได้มีการจัดตารางแบ่งกลุ่มวันเวลาในการออกสารวจ ซึ่งอยู่ระหว่าง วันที่ 12-20 มกราคม พ.ศ. 2556 จากนั้นผู้จัดทาก็ได้ออกสารวจ พบพืช ต้นไม้ เห็ดรา และแมลงต่างๆ ที่ต่างฝ่ายต่างพึ่งพาอาศัยกัน ในป่าใหญ่ จากการสารวจป่าไม้ทั้ง 3 หมู่บ้านที่อยู่ในตาบลคานาดี โดยส่วนใหญ่พบว่า ป่าบ้านสวนหญ้ามี ความอุดมสมบูรณ์ของไม้ยืนต้นมากที่สุด ทั้งยังพื้นที่ป่าไม้เป็นจานวนมากและยังมีสัตว์จาพวกอาศัยอยู่มาก ด้วย จนได้รับรางวัลลูกโล่สีเขียวซึ่งเป็นโล่ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าไม้รองลงมาคือป่าของบ้านคานาดี มี ความอุดมสมบูรณ์ในเรื่องของพืชผักใช้ในการทาอาหารเนื่องมีความสมบูรณ์ของแหล่งน้า และสุดท้ายคือ ป่าบ้านปากช่อง ซึ่งค่อนข้างอยู่ในที่เนินสูงในช่วงนี้เป็นหน้าแล้งเลยทาให้มีความอุดมสมบูรณ์น้อยที่สุดโดย ส่วนใหญ่จะพบแต่พืชยืนต้นขนาดใหญ่ที่สามารถทนความแล้งอยู่ได้ ดังนั้นทุกคนในชุมชนควรร่วมมือกัน รักษา อนุรักษ์ ร่วมกันปลูกป่า และตะหนักถึงประโยชน์ของป่า ไม่ให้ผู้อื่นมาทาลายความอุดมสมบรูณ์ และความสมดุลทางธรรมชาติ เพื่อป่านั้นอยู่กับเราตลอดไป
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเทคโนโลยีสื่อผสม เรื่องสารวจป่าในตาบลคานาดี เสร็จสมบูรณ์เป็นอย่างดีได้ ด้วยความช่วยเหลือและการให้คาปรึกษาจาก คุณครูจตุรภัทร ประทุม ที่ให้คาปรึกษาในเรื่องของ การทาสื่อออนไลน์ ขอขอบพระคุณ ขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ที่ให้คาปรึกษาการทาระบบ หมุนเวียนน้าซึ่งเป็นประโยชน์ต่อคณะผู้จัดทาเป็นอย่างยิ่ง ขอบคุณเพื่อนๆที่ให้ความมือในการ จัดทาโครงงาน สุดท้ายนี้ผลอันจะเป็นประโยชน์ ความดีความงามทั้งหลายทั้งปวง ที่เกิดขึ้นจากการศึกษา โครงงานนี้ขอมอบแด่คุณพ่อและคุณแม่ที่เคารพยิ่งและหากมีข้อบกพร่องผิดพลาดประการใดๆคณะ ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้ด้วยความขอบคุณยิ่ง คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 บทนำ - ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1 - จุดประสงค์ของการทาโครงงาน 1 - สมมติฐานในการทาโครงงาน 1 - ขอบเขตของการศึกษา 1 บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง 2-18 บทที่ 3 วิธีกำรดำเนินงำน -วัสดุ-อุปกรณ์ 19 -วิธีทา 20 บทที่ 4 ผลกำรสำรวจ 21-24 บทที่ 5 สรุปผลกำรสำรวจ 25 -ผลที่คาดว่าจะได้รับ 25 -ปัญหาและอุปสรรค 25 -ข้อเสนอแนะ 25 บรรณานุกรม 26 ภาคผนวก
  • 6. บทที่ 1 บทนา 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในอดีตที่ผ่านมาทรัพยากรบนโลกของเราต่างมีความอุดมสมบูรณ์ ทั้งแร่ธาตุ แม่น้า สัตว์รวมไป จนถึงป่าไม้แต่เมื่อเวลาผ่านไปประชากรก็เพิ่มมากขึ้น มนุษย์ก็เริ่มสร้างที่อยู่อาศัยมากขึ้นทั้งยังมีความ ทันสมัย มีเทคโนโลยีเข้ามาชีวิตและในโลกของเรามากมาย ทาให้มนุษย์เริ่มคิดที่จะสร้างสรรค์สิ่ง ใหม่ๆขึ้นมา รวมถึงสร้างสิ่งที่จะอานวยความสะดวกสบายให้ตนเอง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของเครื่องใช้ การ สร้างถนน การสร้างเขื่อนและอื่นๆอีกมากมาย ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ลดลง รวมถึง ทรัพยากรป่าไม้ด้วย คณะผู้จัดทาจึงได้เล็งเห็นความสาคัญของป่าไม้ที่นับวันจะหมดไปจึงเริ่ม ทาการศึกษาความอัศจรรย์ของป่าไม้ที่นับวันมนุษย์ยิ่งทาลายลงไปเรื่อยๆ 2. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาป่าไม้ที่มีอยู่ในชุมชน 2.เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปต่อยอดในการทาโครงงาน 3. เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้ 4.เพื่ออนุรักษ์ป่าไม้ในชุมชน 3. ขอบเขตของการศึกษา ศึกษาป่าไม้ที่มีอยู่ในตาบลคานาดี อาเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด
  • 7. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง หายใจไม่ใช้จมูก พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่หายใจเพื่อการอยู่รอด แต่พืชต่างจากสัตว์คือมันจะหายใจเอา CO2 เข้าไปและคาย ออกซิเจนออกมานเวลากลางวันและหายใจเอาออกซิเจนเข้าไปและคาย CO2 ออกมาในตอนกลางคืน ปริศนาใบไม้เขียว สีของสารขึ้นอยู่กับสมบัติการดูดกลืนและสะท้อนสีต่างๆของแสง สีของใบไม้เกิดจากสารชนิด พิเศษ เช่น คลอโรฟีลล์ ที่ทาให้ใบเป็นสีเขียว และ แคโรทีน ที่ทาให้ใบเป็นสีเหลือง ซึ่งถ้าเป็นสีแดงจะ เรียกว่า แอนโทโซยานิน โครงสร้างของโมเลกุลคลอโรฟีลล์จะสะท้อนสีเขียวและดูดกลืนสีที่เหลือใน แสงแดดที่ส่อองกระทบ แสงสีเขียวจึงสะท้อนเข้าสู่ตา ทาให้เราเห็นใบไม้สีเขียว
  • 8. ใบไม้คลายร้อน สิ่งของต่างๆ เช่น กระดาษ และเหล็ก จะร้อนมากเมื่อได้รับแสงแดดสักระยะหนึ่ง โดยเฉพาะในฤดู ร้อน แต่จะแตกต่างจากใบไม้ที่ได้รับแสงแดดตลอดทั้งวันแต่จะไม่ร้อน ใบไม้ประกอบด้วยชั้นของเซลล์หลายชั้น โดยมีชั้นเอพิเดมิสด้านบนอยู่ที่ผิวใบด้านบนเอพิเดมิสด้านล่าง ของใบโดยจะมีช่องเล็กๆ จานวนมาก เรียกว่าปากใบ ซึ่งเป็นช่องทางสาหรับผ่านเข้าออกของก๊าซระหว่าง ใบไม้กับอากาศ ปากใบแต่ละอันจะมีเซลล์ที่มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่ว 2 เซลล์ เรียกว่า เซลล์คุม ซึ่งเป็นตัวคุม เปิด – ปิดของปากใบ ซึ่งปากใบจะปิดในตอนกลางคืน แล้วนาก๊าซCO2เข้าสู่ใบ และมักจะเปิดปากใบ ใน เวลากลางวันแล้วปล่อย O2 ออกมา เมล็ดนักเดินทาง ความแตกต่างที่สาคัญปะการหนึ่งระหว่างพืชกับสัตว์คือสามารถเคลื่อนที่ไปไหนได้แต่พืชทา ไม่ได้พืชจะยืดอยู่กับที่ตั้งแต่เกิดจนตาย โดยบางชนิดจะสูงข้นไปด้านบน แต่บางชนิดจะเลื่อยไปตามพื้นดิน ดั้งนั้นจึงมีกระบวนการทางธรรมชาติที่ช่วยในการกระจายเมล็ดไปยังที่ต่างๆ คือลมน้าและสัตว์และพืชต้น นั่นเอง การกระจายเมล็ดโดยลมจะเกิดขึ้นกับเมล็ดพืชที่มีน้าหนักเบา เช่น เมล็ดหญ้า เมล็ดกล้วยไม้ซึ่งจะ ปล่อยได้ไกล จากต้นเดิมมาก นอกจากนี้เมล็ดพืชบางชนิดยังสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบให้เหมาะสมต่อ การลอยไปตามลม เช่น เมล็ดขอลงต้นยาง ซึ่งมีปีกยื่นออกมาจากเมล็ด
  • 9. ผู้ย่อยสลาย & กาฝาก พืชบางชนิดไม่สามารถสร้างอาหารเองได้เพราะไม่มีคลอโรฟีลล์ ซึ่งใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง โดยที่พืชพวกนี้จะต้องอาศัยอาหารจากพืชชนิดอื่นหรือสัตว์ที่ตายแล้ว พืชที่กินซากพืชซากสัตว์เป็นอาหาร เรียกว่าผู้ย่อยสลาย โดยที่พืชเหล่านี้ไม่ได้เป็นตัวย่อยสลายซากพืชซาก สัตว์เอง แต่จะอาศัยราที่อยู่ที่รากช่วยย่อยสลายซากเหล่านั้นแล้วจึงดูดซึมอาหารมาอีกที พืชเหล่านี้มี ความสาคัญต่อระบบนิเวศ ซึ่งช่วยกาจัดซากพืชซากสัตว์ไม่ให้ตกค้างในสิ่งแวดล้อม ส่วนพืชที่ดูดน้าแลละอาหารที่ยังมีชีวิต เรียกว่า กาฝาก เช่น จะพัฒนาอวัยวะพิเศษเพื่อใช้เกาะติด และเติบโตในเนื้อเยื่อของพืชที่ถูกอาศัย โดยที่กาฝากนั้นจะไม่มีประโยชน์ต่อพืชที่ถูกอาศัยเลย
  • 10. วงปีทานายอายุ พืชที่เราเห็นอยู่บนโลกนี้มีมากมายเหลือเกิน ซึ่งมีทั้งพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยว เมื่อต้นเติบโตขึ้น วงแหวนเก่าที่ตายแล้วจะกลายเป็นเนื้อใน และมีการสร้างวงแหวนใหม่รอบวงเก่า ดั้งนั้นพืชใบเลี้ยงคู่จึง เติบโตขยาย ขนาดออกไปเรื่อยๆตามอายุ โดยวงแหวนแต่ละวงที่สร้างขึ้น เรียกว่า วงปี ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ใช้ ในการประมาณอายุของต้นไม้โดยจานวนวงปีจากวงในสุดออกมาจนถึงวงนอกสุดจะเท่ากับจานวนปีของ ต้นไม้ต้นนั้น ไผ่มหัศจรรย์ คนส่วนมากคิดว่าไผ่เป็นไม้พุ่มหรือต้นไม้แต่จริงๆแล้วไผ่เป็นหญ้าชนิดหนึ่ง สามารถสูงได้ถึง 35 เมตร และหนาได้ถึง 30 เซนติเมตร โดยมีการนาไผ่มาศึกษามากกว่า 600 ชนิด ไผ่ทุกชนิดมีลาต้น เรียบ แข็ง มี อัตราการเจริญเติบโตเร็วมากถึง 40 เซนติเมตร ต่อวัน และยังเคยมีการรายงานว่ามีการเจริญเติบโตถึง 90 เซนติเมตรต่อวัน ไผ่บางชนิดอาจใช้เวลาถึง 100 ปีในการแตกหน่อ เมื่อแตกหน่อแล้วต้นไผ่จะตาย และหน่อ นี้จะเจริญเติบโตขึ้นไปเป็นหน่อใหม่
  • 11. ยอดนักย่อยสลาย รามีหลายชนิดอย่างเช่น ดอกเห็ด ราบนขนมปัง ยีสต์ ซึ่งรานี้จะช่วยย่อยสลายพืชและสัตว์ที่ตายไป แล้วเป็นอาหาร ซึ่งเมื่อส่องดูราด้วยกล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้นใยสีดา เขียว เหลืองและน้าเงินเป็นจานวน มาก เส้นใยเหลานนี้มี 2 ส่วนคือ ไมซีเลียม ที่ขยายตัวเหมือนรากและดูดอาหารจากสิ่งที่มันเกาะอยู่ และอีก ส่วนหนึ่งรูปร่างกลม ซึ่งเก็บสปอร์เอาไว้และลอยภายในอากาศ โดยเริ่มขยายตัวเมื่อเกาะบนอาหาร ผลไม้ หรือในที่ร้อนและชื้น แมลงอายุยืน แมลงมักจะมีอายุสั้นเมื่อเทียบกับสัตว์ชนิดอื่น แต่แมลงบางชนิดก็มีอายุยืน เช่น นางพญาปลวก ซึ่ง มีอายุได้นานที่สุด 15ปี นอกจากนี้ยังมีจักจั่นที่มีอายุ 17 ปี โดยตัวเมียจางไข่บนกิ่งไม้เมื่อตัวอ่อนฝักตัวก็จะ ตกลงบนพื้นดิน จากนั้นจะเจริญเติบโตขึ้นมากับรากพืชและต้นไม้โดยไม่เคลื่อนที่เป็นเวลา 17 ปี แต่จะดูด อาหารจากพืช หลังจากนั้นก็จะปีนขึ้นไปบนต้นไม้เพื่อรับแสง แลละผิวหนังจะแตกออกกลายเป็นตัวเต็มวัย แต่อีก 5สัปดาห์ก็จะตาย ดั้งนั้นมันจึงใช้การเจริญเติบโตถึง 17 ปี และใช้ชีวิตจริงๆเพียง 5 สัปดาห์
  • 12. สัตว์ผลิตความหวาน ผึ้งรังหนึ่งจะมีพืชอยู่ 3 ชนิดหลักๆ คือ ผึ้งงาน ทาหน้าที่หาอาหารและปกป้ องัง ผึ้งราชินี ทาหน้าที่ วางไข่ และผึ้งตัวผู้ทาหน้าที่ผสมพันธุ์กับผึ้งราชินี โดยทั่วไปรังผึ้งจะมีราชินี 1 ตัว ผึ้งตัวผู้100 ตัว และผึ้ง งาน 60,000 ผึ้งราชินีจะวางไข่ได้มากกว่าวันละ 20,000 ฟอง ประมาณ 250,000 ฟองในหนึ่งฤดูกาล และ วางไข่ได้มากกว่า 1 ล้านฟองในช่วงอายุ โดยผึ้งส่วนมากจะมีอายุ 1- 2 ปี ผึ้งงานจะหาอาหารโดยดูดน้าหวาน ในดอกไม้และนามาใส่ถุงอาหารน้าผึ้งที่อยู่ในรังผึ้งโดยมันจะต้องดูดน้าหวานจากดอกไม้ประมาณ 1,000 ดอก น้าตาลี่อยู่ในน้าหวานของดอกไม้จะเกิดปฏิกิริยาเคมี และน้าจะระเหยออกไปเกิดเป็น น้าผึ้งที่สามารถ เก็บไว้เพื่อเป็นอาหารได้นานโดยไม่เสีย โดยน้าผึ้งจะประกอบด้วยสารอาหารหลายชนิด ได้แก่ แร่ธาตุ เอน ไซน์ โปรตีน และกรดต่างๆเล็กน้อย น้าผึ้งจึงเป็นอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพของเรา
  • 13. กองทัพมด มดเป็นแมลงชนิดหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ว่ามดมีมากกว่า 2,000 ชนิด เราสามารถพบมดได้เกือบทุก ส่วนบนโลก ส่วนใหญ่มดมีขนาดเล็กกว่า 1 นิ้ว ลักษณะลายบนลาตัวมดจะแตกต่างกันตามชนิดบางชนิดมี เขี้ยวสาหรับกัดแทะ บางชนิดไม่มี มดเป็นสัตว์สังคมที่มีอาณาจักรของตนเอง นั่นคือ มดจะอยู่ร่วมกันเป็น กลุ่มใหญ่ซึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่งล้านตัว โดยจะทารังใต้ดินหรือในต้นไม้ที่ตายแล้ว ในรังมดมีมดอยู่ 3 ประเภทคือ มดราชินี ทาหน้าที่วางไข่ มดตัวผู้ซึ่งจะไม่ทางาน และมดงานซึ่งเป็นมดตัวเมีย รังมดมีเซลล์ หรือห้องต่างๆ มากมาย เพื่อไว้ใช้งานตามแต่ละวัตถุประสงค์เช่นมดราชินีวางไข่ห้องหนึ่ง ห้องถัดไปจะเป็น ห้องฟักไข่ และห้องถัดไปจะเป็นห้องเสบียง เป็นต้น รังมดอาจมีมดราชะนีหลายตัว โดยแต่ละตัวจะอยู่ใน ห้องของตนเอง มดงานมีหน้าที่หาอาหารลี้ยงดูตัวอ่อนและสร้างรัง บางสายพันธุ์มีมดตัวเมียที่เป็นมดทหารที่ ปกป้ องรังด้วยตามปกติกองทัพทดในเขตป่าร้อนจะเดินทางไปตามที่ต่างๆ ทุกวัน มดเป็นพันๆตัวจะเดินไป เรื่อยๆ และหากพบซากสัตว์มันก็จะรุมกินอย่างรวดเร็ว มดเป็นสัตว์ที่ทาอะไรได้หลายอย่าง พวกมันสามารถเดินทางไกล และกลับมารังโดยจะปล่อย สารเคมีไว้ตามทาง นอกจากนี้พวกมันยังสามารถแบกน้าหนักที่มากกว่าน้าหนักตัวมันได้มากถึง 50 เท่า
  • 14. ข่า ชื่อวิทยาศาสตร์ : Languas galanga(Linn.) Stuntz วงศ์ : ZINGIBERACEAE ชื่อท้องถิ่น : กฎุกโรหินี ข่าหลวง ข่าตาแดง ลักษณะทั่วไป : ลาต้นจะเป็นไม้ลงหัวจาพวกกระวาน ชอบขึ้นตามที่ลุ่ม ใบรูปไข่ ยาว สลับๆกันรอบๆลาต้นบนดิน มีลักษณะเป็นกาบหุ้มรอบลาต้น ใบรูปร่างคล้ายพาย ออกดอกเป็นช่อสีขาว อาจะมีสีแดงปนอยู่ด้วยเล็กน้อย ดอกจะอยู่บริเวณตรงปลายยอด ดอกอ่อนจะมีกาบสีเขียวหุ้มอยู่ ผลกลมโตขนาดเท่าเม็ดบัว เมื่อผลสุกจะ เปลี่ยนเป็นสีดา มีรสขม เผ็ดร้อน สามารถขยายพันธ์ข่าด้วยเหง้าหรือหน่อก็ได้โดยปลูกหลุมละ 1 หน่อ ห่าง กันประมาณ 80 ซม. เพื่อรองรับกอที่จะขยายเพิ่มขึ้น ไม่ค่อยมีแมลงศัตรูพืชมารบกวน ข่านิยมนามาใช้เป็นเครื่องเทศสาหรับแต่งกลิ่นอาหารและดับกลิ่นคาวพวก เนื้อสัตว์ต่างๆ เช่น ต้มยาปลา ข้าวต้มปลา ต้มข่าไก่ ใช้เป็นส่วนผสมในน้าพริก เครื่องแกงต่างๆ นอกจากนี้ยังใช้เป็นส่วนผสมของลูกแป้ ง ที่ใช้ทาข้าวหมากและเหล้า ดอกและลาต้นอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด
  • 15. ส่วนที่นามาใช้ เหง้าอ่อน ลาต้น และ ดอก สรรพคุณและวิธีการใช้ ใช้เหง้าสดตาให้ละเอียด นามาผสมกับเหล้าขาว นามาทาบริเวณผิวหนัง เพื่อรักษาโรคกลาก เกลื้อน หรือ ลมพิษได้ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องเดิน โดยนาเหง้าสดมาตาให้ละเอียด ผสมกับน้าปูนใส ทานครั้งละประมาณครึ่งแก้ว ช่วยลดอาการปวดฟัน โดยนาเหง้าสดมาตา ผสมเกลือลงไปเล็กน้อย นาไปใส่ ในรูฟันที่ปวด หรือ อาจจะอมไว้ที่เหงือกก็ได้ สามารถนาสารสกัดจากข่า มาทาเป็นยารักษาโรคได้เช่น แก้ ปวดบวมข้อ หลอดลมอักเสบ ยาขับลม ยาธาตุ และยารักษาแผลสด ใช้เหง้าสดนามาตาให้ละเอียด นาไปวาง เพื่อไล่แมลง จากกลิ่นของน้ามันหอมระเหย สามารถใช้ผลข่า รักษาอาการปวดท้องและช่วยย่อยอาหารได้ ช่วยลดอาการไอ โดยนาข่ามาทุบ ฝานบางๆ บีบมะนาวลงไปเล็กน้อย เติมน้าตาล แล้วใช้อม เคี้ยว หรือกลืน เลยก็ได้ ช่วยลดอาการบวมช้า โดยใช้หัวข่าแก่ ทุบแล้วทาบริเวณที่บวมช้า เช้า-เย็น
  • 16. ผักกูด ผักกูด ผักกูด เป็นผักชนิดหนึ่งที่อยู่ในตระกูลเฟิร์นที่อยู่ในวงศ์ "Athyriaceae" ซึ่งจะเกิดขึ้นบริเวณที่มีความ ชุ่มชื้น หรือมีน้าท่วมขัง ตามลาห้วย ป่าเขาที่มีความอุดมสมบูรณ์ เติบโตในฤดูฝนในที่โล่งแจ้งมีน้าชื้นแฉะ จะพบมากกว่าที่ในป่าทึบ ชาวบ้านจะเข้าไปเด็ดยอดอ่อนๆของผักกูด ซึ่งคนเรานิยมนามาปรุงและประกอบ เป็นอาหารรับประทาน และสามารถนาไปขายตามตลาดได้อีกด้วย และยังเป็นผักพื้นบ้านที่มีประโยชน์อีก ด้วย โดยมีสรรพคุณแก้ไข้ตัวร้อน พิษอักเสบ บารุงสายตา บารุงโลหิต ความดันโลหิตสูง และมีวิตามินจาก ผักใบเขียว ผักกูดเป็นพืชตระกูลเฟิร์นที่สามารถกินได้ชนิดหนึ่ง มีเหง้าสูงประมาณ 1 เมตร ใบเป็นแผงรูปขนนก ตอน อายุยังน้อยจะแตกเป็นรูปขนนกชั้นเดียวคู่ขนานกันไปตั้งแต่โคนใบถึงปลายใบ เมื่ออายุมากขึ้นใบจะเปลี่ยนเป็นรูปขนนก 2 ชั้น ยอดอ่อนและปลายยอดม้วนงอแบบก้นหอย เติบโตในฤดู ฝนในที่โล่งแจ้งมีน้าชื้นแฉะ จะพบมากกว่าที่ในป่าทึบ ผักกูดมี 3 ชนิด แตกต่างกันเพียงสีของต้นและลักษณะใบเล็กน้อย รับประทานเป็นอาหารได้ทั้ง 3 ชนิด ชาวบ้านรุ่นเก่าๆ รู้จักผักกูดมาตั้งแต่โบราณแล้ว ส่วนคนรุ่นใหม่น้อยนักจะรู้จักและรู้จักรับประทาน มียอด อ่อนขายตามตลาดสดทั่วไป ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่าผักกูดเป็นผักบอกสภาวะแวดล้อมให้คนรู้ว่า บริเวณไหนอากาศไม่ดี ดินไม่บริสุทธิ์ มี สารเคมีเจือปนอยู่ ผักกูดจะไม่ยอมขึ้นหรือแตกต้นในบริเวณนั้นเด็ดขาด ผักกูดจึงถือได้ว่าเป็นอาหารพิเศษ อย่างหนึ่งจากธรรมชาติมีสารเบต้าแคโรทีนและธาตุเหล็กในตัวสูง เมื่อรับประทานแล้วจึงได้ประโยชน์ ใบของผักกูดใช้ต้มน้าดื่มหรือกินสด ช่วยแก้ไข้ตัวร้อน แก้พิษอักเสบ
  • 17. บารุงสายตา บารุงโลหิต แก้โลหิตจาง ป้ องกันเลือดออกตามไรฟันและขับปัสสาวะเด็ดขาดมาก ลดความดัน โลหิตสูง คอเลสเตอรอลในเม็ดเลือด ส่วนใหญ่จะนาใบอ่อน ช่ออ่อน ทาแกงกับปลาเนื้ออ่อนน้าจืด เช่นปลา ช่อนหรือลวกจิ้มน้าพริกชนิดต่างๆ ยาผักกูด ผักกูดผัดน้ามันหอย แกงกะทิกับปลาย่าง ลวกกะทิ ลวกกินกับ ส้มตาก็ได้ดี แต่ไม่นิยมกินสดๆ กันเพราะจะมียางเป็นเมือกอยู่ที่ก้าน ข้อมูล ผักกูด ชื่ออื่น กีบม้าลม ดูกู ชื่อวิทยาศาสตร์ Dryopteris amboinensis Ktze. F วงศ์ DRYOPTERIDACEAE ชื่อสามัญ Oak fern แหล่งที่พบ ทั่วไปทุกภาค ประเภทไม้เฟิร์น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น เป็นไม้ต้นเตี้ยพวกเดียวกับเฟิน ความสูง 6-18 ซม. โคนต้นพองออกมีขนสีน้าตาลแดงโดยรอบ ใบ ใบประกอบแบบขนนกสองหรือสามชั้น ยาว 1.8-4.5 เมตร ใบย่อยรูปขอบขนานกว้าง 1-4 ซม. ยาว 10-30 ซม.ปลายใบแหลมขอบใบเรียบเป็นหยักเล็กน้อย อับสปอร์แตกตามยาวอยู่ใต้ใบหัว เป็นเหง้า ส่วนที่ใช้บริโภค ยอดอ่อน ใบอ่อน การขยายพันธุ์ เหง้า สปอร์ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ริมห้วยริมน้าและชะง่อนหินที่มีความชันสูงของป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้งป่าดิบเขา และป่าผลัดใบ ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ ตลอดปี แต่นิยมรับประทานหน้าแล้งรสชาติอร่อยกว่าฤดูอื่น คุณค่าทางอาหาร คุณค่าทางอาหารในส่วนที่รับประทานได้ 100 กรัม ประกอบด้วย การปรุงอาหาร ยอดอ่อน ใบอ่อน นามาลวกหรือต้มให้สุก เป็นผักร่วมกับน้าพริก หรือนาไปปรุงเป็นอาหาร เช่น ยา ผัด ต้มกะทิ แกงจืด แกงเลียง แกงส้ม ลักษณะพิเศษ ผักกูด รสจืดอมหวาน กรอบ หยุ่น เป็นผักที่มีรสชาติดี ข้อควรระวัง ไม่ควรรับประทานดิบ เพราะว่าผักกูดมีสารออกซาเลตสูง ควรต้มให้สุกก่อน
  • 18. ผักนาม ผักหนามเป็นผักพื้นบ้านพื้นเมืองที่ขึ้นเองตามธรรมชาติอย่างแท้จริง แม้ว่าผักหนามจะเกิดขึ้นทุกภาค ของแผ่นดินไทย แต่ผักหนามเป็นที่รู้จักและนิยมกินกันอย่างมากในหมู่ชาวบ้านชนบทแถบภาคอีสาน และ ภาคเหนือ เป็นผักที่เก็บตามริมคลอง หนอง บึง ที่อยู่ตามป่าเขาลาเนาไพร ผักหนาม เรียกตามลักษณะของผักที่มีหนามเกาะเต็มลาต้น หนามอ่อนที่อยู่ตามยอดอ่อนกินได้เพราะ หนามนิ่ม หนามจะแข็งไปเรื่อยๆ ตามอายุความแก่ของลาต้น ผักหนาม มีลักษณะเป็นเหง้าเหมือนผัก ประเภทเหง้าทั่วไป เช่น กล้วย ต้นคูน ต้นบุก ต้นอีรอก เป็นต้น มีเหง้าฝังอยู่ในดิน ชอบความชุ่มชื้น ดังนั้น ผักหนามจึงเกิดและเติบโตตามแอ่งน้า ริมน้าทั่วไปในพื้นที่สูง ตามริมน้าบนภูเขา ถ้าบริเวณที่ผักหนามขึ้น น้าท่าอุดมสมบูรณ์ก็สามารถมียอดผักหนามให้กินกันทั้งปี แต่โดยทั่วไปน้าท่าชุ่มฉ่าก็เฉพาะหน้าฝน ดังนั้น ผักหนามจึงมีให้เก็บกินได้ถ้วนทั่วก็เฉพาะฤดูฝนเท่านั้น ผักหนาม ก็จะเป็นหนึ่งในผักพื้นบ้านที่เกิดตามธรรมชาติที่ชาวบ้านนิยมเข้าป่าหาผัก ผักที่ได้รวมกันมามี หลายชนิดในแต่ละฤดูกาล ฉะนั้นในฤดูกาลต้นหนาม ชาวบ้านก็จะเก็บผักหนาม ผักอีรอก เก็บเห็ดต่างๆ เรียกว่าเข้าป่าทีหนึ่งก็ได้ผักมาหลายชนิดทีเดียว ผักหนาม มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Lasia spinosa Thw. เป็นไม้ล้มลุก ลักษณะผักหนามจะแทงยอด ขึ้นมาจากเหง้า เลื้อยไปตามดิน บ้างก็แทงตรง บ้างก็งอหงิก ทั้งนี้เพราะลาต้นอวบน้า ไม่มีแก่นไม้คล้ายผัก ประเภทต้นคูน หรือลาต้นสายบัว คือเป็นโพรงอากาศอยู่ภายใน ใบมีขอบหยักเว้าลึกออกเป็นแฉกๆ รอยเว้า ลึกเข้าไปเกือบถึงเส้นกลางใบ แฉกใบกว้าง ก้านใบยาว ก้านใบมีสีเขียว สีแดงเลือดหมู ใบอ่อนจะม้วนเป็น แท่งกลม ปลายแหลม ช่อดอกเป็นแท่งและดอกย่อยอัดแน่น มีกาบหุ้มช่อดอกสีน้าตาล ก้านช่อดอกยาวมี หนามและไม่อร่อยเป็นที่สุด โดยทั่วไปชาวบ้านกินลาต้นอ่อนของผักหนาม จะกินแบบต้มแล้วเอาไปจิ้ม สารพัดน้าพริกประดามีของชาวบ้านเป็นหลักใหญ่ เพราะผักหนามที่สุกจะมีรสพิเศษของผัก คือออกรส
  • 19. หวานปนรสขม บางครั้งมีรสเปรี้ยวนิดๆ ขื่นหน่อยๆ ถือว่าอร่อยเป็นที่สุด เมื่อได้น้าพริกรสเข้มข้น เผ็ด เค็ม เปรี้ยว ที่ลงตัว หรือต้มกับหางกะทิ รสหวานมันของกะทิเพิ่มความนุ่มนวลและรสชาติให้กับผักอร่อยยิ่งขึ้น ข้อควรระวัง: ผักหนาม กินสดไม่ได้เพราะมียาง ทาให้คันคออย่างมากและมีพิษ เพราะมีสารชื่อ hydrocyanic acid
  • 20. ต้นกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocarpus tuberculatns Roxb. อันดับ ชื่อวงศ์ DIPTEROCARPACEAE ชื่อสามัญ พลวง ชื่ออื่น กุง (อุบลราชธานี, อุดรธานี, ปราจีนบุรี) คลง (เขมร) คลอง (เขมร) ควง (พิษณุโลก, สุโขทัย) ตึง, ตึง ขาว (ภาคเหนือ) พลวง, ยาง (ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ยางพลวง (ภาคกลาง) พลอง, แลเท้า (กะเหรี่ยง,แม่ฮ่องสอน) ประเภทไม้ ไม้ยืนต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลาง-ใหญ่ สูง 10-30 เมตร ผลัดใบ ลาต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้าตาลปนเทา อ่อน แตกเป็นร่องลึกไปตามยาวของลาต้น กิ่งอ่องเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง มีรอยแผลใบเห็นชัด ใบ เดี่ยว เรียง เวียนสลับ ใบรูปไข่กว้างขนาด 15-28 X 15-40 ซ.ม. โคนใบแผ่กว้าง แล้วหยักเว้า ปลายใบสอบทู่ เนื้อใบหนา เกลี้ยงหรืออาจมีขนกระจายห่างๆบ้าง ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย ก้านใบยาว 3-30 ซ.ม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ตอนปลายกิ่ง มีกาบหุ้มช่อดอกรูปขอบขนานแคบๆ หนึ่งกาบ กลีบเลี้ยงโคน เชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ ปลายกลีบบิดตามเข็มนาฬิกาเหมือนกังหัน ก่อนออกดอก จะทิ้งใบหมดหรือเกือบหมด สี ชมพู-ชมพูเข้ม ขอบกลีบสีขาว กลิ่น -
  • 21. ออกดอก เดือน ธ.ค.-เม.ย. ผล เป็นรูปกรวย มีสันด้านข้างผล 5 สัน และพองโตเป็นติ่ง 5 ติ่งตรงที่ติดกับโคนปีก มีปีกยาว 2 ปีก ยาว 10- 15 ซ.ม. มีเส้นปีกตามยาว 3 เส้น ผลแก่ ประมาณ ม.ค. - พ.ค. แหล่งที่พบ ป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าเต็งรัง หรือป่าแดง ที่พบขึ้นอยู่ทุกภาคของประเทศไทย ประโยชน์และความสาคัญ การใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้ เนื้อไม้ในระยะแรกๆ จะออกสีน้าตาลแกมแดง ถ้าทิ้งไว้นานจะเปลี่ยนเป็น สีน้าตาลเข้ม เสี้ยนตรงพอประมาณ เนื้อหยาบแต่สม่าเสมอ แข็ง เลื่อยผ่าไสกบตบแต่งง่าย ใช้ทาสิ่งปลูกสร้าง ต่างๆ ภายในร่ม เช่น เครื่องบน รอด ตง คาน พื้น ฝา ทาเครื่องมือทางการเกษตร หูกทอผ้า กังหันน้า ปาร์เก้ หรือกระเบื้องไม้ปูพื้น การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพร น้ามันใช้ทาแผลภายนอก โดยผสมกับมหาหิงคุ์ และน้ามันมะพร้าวก็ได้ ใบ เผาให้เป็นเถ้าผสมกับน้าปูนใส แก้บิดและถ่ายเป็นมูกเลือก ราก นามาต้มแล้วดื่มแก้ตับอักเสบ การใช้ประโยชน์ทางด้านอื่นๆ ชันใช้ทาไม้ยาเรือ หรือ ยาเครื่องจักสาน ทาไต้ใบแห้งใช้มุงหลังคา ฝา กั้นห้อง คลุมผิวดิน ปลูกผัก ปลูกสตรอเบอร์รี่ ใบสด ใช้ห่อของแทนถุงพลาสติก
  • 22. หญ้าเพ็ก ชื่อท้องถิ่น: หญ้าเพ็ก ชื่อสามัญ: ไผ่เพ็ด ชื่อวิทยาศาสตร์: Vietnamosasa pusilla (Chevlier a.Camus) Nguyen ชื่อวงศ์: GRAMINAE ลักษณะวิสัย/ประเภท: ไม้พุ่ม ลักษณะพืช: ป็นพืชอายุหลายปี แตกกอสูง 70 - 120 เซนติเมตร ลาต้นแข็ง เนื้อไม้เป็นเสี้ยนเหนียวแบบ ไม้ไผ่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 - 1.0 เซนติเมตร ใบหยาบกระด้าง แผ่นใบยาว 8 - 14 เซนติเมตร กว้าง 1 เซนติเมตร มีกิ่งก้านแตกจากข้อ ดอกเป็นช่อแยกแขนง (panicle) ระบบรากตื้น แต่มีเหง้าแข็งแรง แพร่พันธุ์ โดยหน่อหรือเหง้า ขึ้นในที่ดอนและในที่ร่มเงาของป่าโปร่ง เช่น ป่าพลวง ป่าเหียง ทนต่อสภาพแห้งแล้งและ การถูกไฟเผา แต่หญ้าชนิดนี้แก่เร็ว และเมื่อแก่ลาต้นจะแข็งแบบกิ่งไผ่ทาให้ระยะการใช้ประโยชน์เป็น อาหารสัตว์มีช่วงสั้น ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม ปริมาณที่พบ: มาก การขยายพันธุ์: ใช้หัว/เหง้า/หน่อ อธิบายวิธีการเพาะ/ขยายพันธุ์: ไผ่เพ็กนี้จะขยายพันธ์เองและรวดเร็ว การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นาไปใช้ประโยชน์: เป็นอาหารสัตว์โค กระบือ โดยปล่อยให้สัตว์แทะเล็มตาม ธรรมชาติ ลาต้นใช้เป็นวัตถุดิบทาเยื่อกระดาษ แหล่งที่พบ: ตามท้องนา
  • 23. อีกา อาณาจักร: Animalia ไฟลัม: Chordata ชั้น: Aves อันดับ: Passeriformes วงศ์: Corvidae สกุล: Corvus Linnaeus, 1758 นกกา หรือ อีกา (อังกฤษ: Crow) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์ปีก เป็นนกชนิดหนึ่งอยู่ ในสกุล Corvus ในวงศ์นกกา (Corvidae) พบกระจายพันธุ์ทั่วโลก ยกเว้นในทวีปอเมริกาใต้มีลักษณะเฉพาะตัวคือมีสีขนสีดาสนิทเป็นเงามันเลื่อม อยู่ รวมกันเป็นกลุ่มและออกหากินเวลากลางวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งวันที่แดดแรง กาจะหาอาหารโดยการซ่อนตัว ในเงาของต้นไม้สาหรับการจู่โจมเหยื่อ นกกามีลักษณะเหมือนนกอีกประเภทหนึ่งชื่อ นกเรเวน ซึ่งเป็นนกที่มีสีดาเหมือนกัน
  • 24. บทที่ 3 วัสดุ-อุปกรณ์และวิธีการดาเนินงาน วิธีการดาเนินงาน 1.การดาเนินการสารวจ 1. ร่วมกันวางแผนการทางานในกลุ่มเพื่อศึกษาป่าไม้ที่มีอยู่ในชุมชน 2. ออกกลุ่มสารวจป่าไม้ที่อยู่ในชุมชนที่กาหนดในเขตพื้นที่ในตาบลคานาดีพร้อมบันทึกผลการ สารวจ 3. นาผลจากการสารวจป่าไม้พืช สัตว์และบริเวณรอบๆ มาศึกษาถึงคุณประโยชน์ ความสัมพันธ์ทาง ธรรมชาติ ทั้งจากหนังสือ สืบค้นทาง Enternet สอบถามจากผู้เชี่ยวชาญทางป่าไม้รวมถึงสอบถาม จากครูที่ปรึกษาโครงงาน 4. สรุปผลจากการศึกษา 2. การจัดเตรียมระบบ 1.สมัคร Wordpress ผ่านระบบ Internet 2.นาเนื้อหาที่ต้องมานาเสนอ ไม่ว่าจะเป็น video เพลง เป็นต้นผ่านรูปแบบของ Blog ในกลุ่มของ ตนเอง 3.เผยแพร่ผลงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ 1. เว็บไซต์ออนไลน์ 2. สมุดบันทึก ปากกา ดินสอ ยางลบ 3. แว่นขยาย 4. กล้องถ่ายภาพ 5. Computer 6. หนังสือเกี่ยวกับป่าไม้ 7. โทรศัพท์มือถือ
  • 25. งบประมาณ 1,000 บาท ( หนึ่งพันบาทถ้วน ) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ที่ กิจกรรม/รายการปฏิบัติ ระยะเวลาการ ดาเนินงาน(เดือน) ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1. สารวจป่าไม้ในเขตบ้านสวน หญ้า 12-14 มกราคม พ.ศ. 2556 จินตนา – อาภัสรา 2. สารวจป่าไม้ในเขตบ้านคานาดี 15-16 มกราคม พ.ศ. 2556 จินตนา - อาภัสรา 3. สารวจป่าในเขตบ้านปากช่อง 17-18 มกราคม พ.ศ. 2556 จินตนา - อาภัสรา
  • 26. บทที่ 4 ผลการสารวจ รูปที่ 1 แสดงหน้าหลักของwordpress รูปที่ 2 แสดงหน้าเกี่ยวกับความรู้เรื่องธรรมชาติ
  • 28. รูปที่ 5 แสดงหน้าบุคคลที่อุทิศตนเพื่อป่ าไม้ รูปที่ 6 แสดงหน้าผู้จัดทา
  • 29. รูปที่ 7 แสดงหน้าครูที่ปรึกษาโครงงาน ลาดับ ป่าของหมู่บ้าน พืชและสัตว์ที่พบโดยส่วนใหญ่ 1 สวนหญ้า ต้นกุง ต้นชาติ ต้นยูคาลิปตัส ต้นสาน กระฐินนรงค์หญ้าเพก มด ปลวก แตน กะปอม นก 2 คานาดี ต้นกุง ผักนาม ผักกูด ใบบอน มด นก 3 ปากช่อง ต้นกุง ต้นสัก หญ้าเพก มด ปลวก นก
  • 30. บทที่ 5 สรุปผลการสารวจ 1.สรุปผลการสารวจ จากการสารวจป่าไม้ทั้ง 3 หมู่บ้านที่อยู่ในตาบลคานาดี โดยส่วนใหญ่พบว่า ป่าบ้านสวนหญ้ามี ความอุดมสมบูรณ์ของไม้ยืนต้นมากที่สุด ทั้งยังพื้นที่ป่าไม้เป็นจานวนมากและยังมีสัตว์จาพวกอาศัยอยู่มาก ด้วย จนได้รับรางวัลลูกโล่สีเขียวซึ่งเป็นโล่ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าไม้รองลงมาคือป่าของบ้านคานาดี มี ความอุดมสมบูรณ์ในเรื่องของพืชผักใช้ในการทาอาหารเนื่องมีความสมบูรณ์ของแหล่งน้า และสุดท้ายคือ ป่าบ้านปากช่อง ซึ่งค่อนข้างอยู่ในที่เนินสูงในช่วงนี้เป็นหน้าแล้งเลยทาให้มีความอุดมสมบูรณ์น้อยที่สุดโดย ส่วนใหญ่จะพบแต่พืชยืนต้นขนาดใหญ่ที่สามารถทนความแล้งอยู่ได้ 2.ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบว่าป่าไม้ในชุมชนมีพืชชนิดใดบ้าง 2. ได้ต่อยอดความรู้จากการศึกษาป่าไม้มาใช้ในการทาโครงงาน 3. ผู้ที่อ่านหรือศึกษาโครงงานนี้ได้ตระหนักถึงความสาคัญและความอัศจรรย์ของป่าไม้ 4. ทุกคนในชุมชนได้ร่วมกันอนุรักษ์ป่าไม้ในเขตพื้นที่ชุมชนของตน 3.ปัญหาและอุปสรรค 1.ปัญหาเรื่องการทา video ที่ใช้ulead video studeo เนื่องจากมีความรู้ไม่เพียงพอ 2.ปัญหาในการทา Wordpress ที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของผู้จัดทา 4.ข้อเสนอแนะ ควรสารวจพื้นที่ป่าไม้ให้หลายตาบลมากกว่านี้
  • 33.
  • 34.