SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การถนอมอาหาร(ผักกาด)
โดย
1.น.ส. พีรดา เชื้อสุข เลขที่ 23
2.น.ส. ญาณินท์ รักษาทรัพย์ เลขที่ 27
3.น.ส. ณัฐวรรณ ต่อกิจการเจริญ เลขที่ 34
4.น.ส. วีรยา ศรีรัตนาลิ้มวงศ์ เลขที่ 36
5.น.ส. นภัสวรรณ ศุภณรงค์พงศ์ เลขที่ 37
6.น.ส. กมลพร รอดคืน เลขที่ 38
7.น.ส. พินทุผล ทหราวานิช เลขที่ 40
8.น.ส. จิรัชญา สาครพานิช เลขที่ 43
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการงาน และเทคโนโลยี
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2559
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การถนอมอาหาร
โดย
1.น.ส. พีรดา เชื้อสุข เลขที่ 23
2.น.ส. ญาณินท์ รักษาทรัพย์ เลขที่ 27
3.น.ส. ณัฐวรรณ ต่อกิจการเจริญ เลขที่ 34
4.น.ส. วีรยา ศรีรัตนาลิ้มวงศ์ เลขที่ 36
5.น.ส. นภัสวรรณ ศุภณรงค์พงศ์ เลขที่ 37
6.น.ส. กมลพร รอดคืน เลขที่ 38
7.น.ส. พินทุผล ทหราวานิช เลขที่ 40
8.น.ส. จิรัชญา สาครพานิช เลขที่ 43
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการงาน และเทคโนโลยี
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2559
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
ชื่อโครงงาน การถนอมอาหาร(ผักกาด)
ประเภทของโครงงาน ประเภทการทดลอง
ผู้จัดทาโครงงาน 1.น.ส. พีรดา เชื้อสุข เลขที่ 23
2.น.ส. ญาณินท์ รักษาทรัพย์ เลขที่ 27
3.น.ส. ณัฐวรรณ ต่อกิจการเจริญ เลขที่ 34
4.น.ส. วีรยา ศรีรัตนาลิ้มวงศ์ เลขที่ 36
5.น.ส. นภัสวรรณ ศุภณรงค์พงศ์ เลขที่ 37
6.น.ส. กมลพร รอดคืน เลขที่ 38
7.น.ส. พินทุผล ทหราวานิช เลขที่ 40
8.น.ส. จิรัชญา สาครพานิช เลขที่ 43
ครูที่ปรึกษา มิส เขมจิรา ปลงไสว
ปีการศึกษา 2559
บทคัดย่อ
การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการทดลองวิธีการถนอมอาหารและสร้างบล็อก(Blogger)เพื่
อเผยแพร่และนาเสนอความรู้จากการปฏิบัติจริง
ผลการศึกษาและจัดทาโครงงานพบว่า การพัฒนาโครงสร้างบล็อก การถนอมอาหาร
เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวการถนอมอาหารของแต่ละวิธี และได้ความรู้และความเพลิดเพลิน
คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้วางแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่งานผ่านทางเครือข่
ายระบบอินเตอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่
ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และมีความรวดเร็วในการรับข้อมูล บุคคลทั่วไปสามารถเข้ารับชมได้
เพราะเป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ เหมาะแก่การศึกษา
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องนี้ประกอบด้วยการดาเนินงานหลายขั้นตอน นับตั้งแต่การศึกษาหาข้อมูลการทดลอง
การวิเคราะห์ผลการทดลอง การจัดทาโครงงานเป็นรูปเล่ม จนกระทั่งโครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
ตลอดระยะเวลาดังกล่าว คณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนาในด้านต่างๆ
ตลอดจนได้รับกาลังใจจากบุคคลหลายๆท่าน
คณะผู้จัดทาตระหนักและซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆท่านเป็นอย่างยิ่ง ณ โอกาสนี้
ขอขอบคุณทุกๆท่านดังนี้
กราบขอบพระคุณ มิส เขมจิรา ปลงไสว ครูที่ปรึกษากลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ผู้ที่ให้คาแนะนาและได้เมตตาให้ความช่วยเหลือในทุกๆด้าน
ตลอดจนให้ความคิดและแนะนาต่างๆ ที่ทาให้โครงงานการถนอมอาหารสาเร็จไปได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทา
6/9/59
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญภาพ ง
บทที่
1. บทนา 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขตของโครงงาน 1
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1
2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2
ผักกาดเขียวปลี 2
ความรู้ทั่วไปของการถนอมอาหาร 4
ประสิทธิภาพของการถนอมอาหารแต่ละวิธี 6
วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 11
3. อุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน 14
ขั้นตอนการดาเนินการ 14
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 14
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 14
4. ผลการดาเนินงาน 15
ผลการพัฒนาโครงงาน 15
ตัวอย่างผลลงาน 15
5. สรุปผลการทดลอง 17
การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 17
สรุปผลการดาเนินโครงงาน 17
ข้อเสนอแนะ 17
ภาคผนวก 19
บรรณานุกรม 20
สารบัญภาพ
หน้า
รูปที่ 1 ผักกาดเขียวปลี 2
รูปที่ 2 การตากแห้งของหมึก 6
รูปที่ 3 การดองของมะขาม 7
รูปที่ 4 การเชื่อม 8
รูปที่ 5 การแช่อิ่มของมะขาม 9
รูปที่ 6 การฉาบกล้วย 9
รูปที่ 7 การกวนทุเรียน 10
รูปที่ 8 การทาแยม 10
รูปที่ 9 การรมควัน 11
รูปที่ 10 ตัวอย่างเว็บบล็อก 15
บทที่1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันนี้ ผักกาดมีปริมาณในตลาดมากเกินกว่าความต้องการของผู้ซื้อ
ทาให้ต้องลดมูลค่าของผักกาดลง ทาให้พ่อค้าแม่ค้าขาดทุน ส่งผลให้เกิดสภาวะเศรษฐกิจตกต่า ดังนั้น
เราจึงต้องหาวิธีการเพิ่มมูลค่าของสินค้าให้มากขึ้น โดยการนาผักกาดมาแปรรูปในแบบต่างๆ
วัตถุประสงค์
เพื่อแปรรูปผักกาดให้มีมูลค่ามากขึ้น และลดปริมาณผักกาดในท้องตลาด
ขอบเขตของโครงงาน
สร้างเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหาร(ผักกาด)โดยจัดทาในบล็อกเกอร์
ในการสร้างเว็บไซต์และใช้โปรแกรม ในการตกแต่งและจัดเรียงเว็บไซต์ให้สวยงามและน่าสนใจ
เพื่อเป็นแรงจูงใจในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สนใจมีความเข้าใจในวิธีการถนอมผักกาดได้หลายวิธีและเกิดผลสาเร็จ
2.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างบล็อกเกอร์
3.ได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณภาพและเกิดประโยชน์
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์
กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาวิธีการถนอมอาหารแต่ละวิธีว่ามีความแตกต่างกันอย่าไรบ้าง
คณะผู้จะทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
2.1ผักกาดเขียวปลี
2.2ความรู้ทั่วไปของการถนอมอาหาร
2.3ประสิทธิของการถนอมอาหารแต่ละวิธี
2.4วิธีการสร้างบล็อกเกอร์
2.1 ผักกาดเขียวปลี
รูปที่ 1 ผักกาดเขียวปลี
ผักกาดเขียวปลี : (leaf mustard) Brassica juncea (L.) Czernjaew (Opena, 1994)
วงศ์ : CRUCIFERAE, BRASSICACEAE
ถิ่นกาเนิดและการแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์
ถิ่นกาเนิดของผักกาดเขียวปลีนั้นไม่ทราบแน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าอยู่ในเอเชียกลาง คือ
ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย และแหล่งที่มีความสาคัญรองลงมา
น่าจะเป็นตอนกลางและภาคตะวันตกของประเทศจีน
ทางตะวันออกของอินเดียจนถึงพม่าและบริเวณเอเชียไมเนอร์
ในปัจจุบันมีการปลูกผักกาดเขียวปลีแพร่หลายทั่วโลกตั้งแต่อินเดียจนถึงตอนเหนือของทวีปแอฟริกา
เอเชียกลางผ่านตอนใต้ของรัสเซียไปยังทวีปยุโรปและทวีปอเมริกาเหนือ ความหลากหลายทางพันธุ
กรรมพบมากในประเทศจีน ซึ่งมีการปลูกกันอย่างกว้างขวาง
และสันนิษฐานว่าเป็นแหล่งของพันธุ์ปลูกที่นามาแพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซึ่งนิยมปลูกผักกาดเขียวปลีชนิดกินใบ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพืชปีเดียว และสองปีไม่มีเนื้อไม้ ลาต้นตั้งตรง สูง 30-60 เซนติเมตร
ไม่มีการแตกกิ่งก้านสาขา ลาต้นค่อนข้างเรียบ มีนวลจับ ระบบรากเป็นแบบรากแก้ว
ใบมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไป ขอบใบเรียบหรือหยักเว้าแบบขนนก มีก้านใบ
ใบสีเขียวอ่อนจนถึงสีเขียวเข้ม อาจมีขนหรือไม่มีขน มีการห่อของปลีหรือไม่มีขึ้นกับพันธุ์
ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ดอกย่อยบานจากด้านล่างขึ้นไปยังด้านบน มีดอกย่อยจานวนมาก
ช่อดอกยาวได้ถึง 60 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ก้านดอกย่อยยาว 5-12 มิลลิเมตร
กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 4-6 มิลลิเมตร สีเขียว กลีบดอกสีเหลืองสดมี 4 กลีบ
มีลักษณะโค้ง รูปไข่กลับ ยาว 6-10 มิลลิเมตร มีเกสรเพศผู้ 6 อัน ยาวสี่อันสั้นสองอัน
เกสรเพศเมียมีลักษณะกลม ผลแตกแบบผักกาด ยาว 25-75 มิลลิเมตร กว้าง 2-3.5 มิลลิเมตร
ผลยาวตรง มีลักษณะพองและมีรอยคอด ปลายสอบเรียวหรืออาจเป็นจะงอยรูปกรวย
ผลแตกเมื่อแก่จัด มี 10-20 เมล็ด เมล็ดกลมสีน้าตาลจนถึงสีเทาดา เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 มิลลิเมตร
มีรอยร่างแหละเอียดบนเปลือกเมล็ด
การใช้ประโยชน์
นาส่วนต่างๆ ของลาต้นและใบมารับประทานสด หรือปรุงให้สุกเป็นอาหารคาว
และนามาทาผักกาดดองบรรจุกระป๋อง ไห และปีบในโรงงาน ซึ่งมีอยู่ทั่วประเทศประมาณ 20
โรงงาน
คุณค่าทางอาหาร
ส่วนที่รับประทานได้หนัก 100 กรัม ประกอบด้วยน้า 92 กรัม โปรตีน 2.4 กรัม ไขมัน 0.4
กรัม คาร์โบไฮเดรต 4 กรัม แคลเซียม 160 มิลลิกรัม เหล็ก 2.7 มิลลิกรัม วิตามินเอ 1.8 มิลลิกรัม
วิตามินซี 73 มิลลิกรัม เมล็ดหนักประมาณ 2 กรัมต่อ 1,000 เมล็ด
การขยายพันธุ์
ผักกาดเขียวเป็นพืชที่ไม่มีเนื้อไม้ มีอายุปีเดียว (annual) จนถึงสองปี (biennial)
ขึ้นกับสายพันธุ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ มรกต 2000 บลูซิน กู๊ดเวอร์
แม็ค
นิเวศวิทยา
ผักกาดเขียวปลีเป็นพืชที่ทนทานต่ออุณหภูมิและความชื้นสูงได้ดี
จึงสามารถเจริญเติบโตบนพื้นที่ราบที่มีอุณหภูมิสูงได้ตลอดปี ชอบดินร่วนที่มีการระบายน้าได้ดี
มีแร่ธาตุและอินทรียสารในดินสูง สามารถออกดอกและติดเมล็ดได้ในเขตอากาศแบบร้อนชื้น
โดยเมล็ดพัฒนาได้ดีในสภาพอากาศค่อนข้างเย็นและแห้งแล้ง
บนพื้นที่สูงระดับปานกลางจนกระทั่งสูงในเขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
พื้นที่ปลูกปี
พ.ศ. 2542-2543 ประมาณ 29,371 ไร่ ผลผลิตรวม 67,047 ตัน (กรมส่งเสริมการเกษตร,
2543)
การเก็บเกี่ยว
ทาการเก็บเกี่ยวโดยการตัดส่วนของลาต้นที่อยู่เหนือดินด้วยมีด
เมื่อพุ่มต้นมีความสูงประมาณ 20-30 เซนติเมตร ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวขณะที่แสงแดดจัด
เนื่องจากจะทาให้ต้นมีการสูญเสียน้าและมีการเหี่ยวเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
การส่งออก
มีการส่งออกในรูปผักกาดดองบรรจุกระป๋องและผักแช่แข็ง แต่ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจน
2.2 ความรู้ทั่วไปของการถนอมอาหาร
2.2.1ความหมายของการถนอมอาหาร (Food Preservation)
หมายถึง กระบวนการเก็บและรักษาอาหาร เพื่อชะลอการเน่าเสียของอาหาร
หรือป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ ในขณะที่ยังรักษาคุณค่าทางโภชนาการ สีสัน และกลิ่นให้คงอยู่
2.2.2 กระบวนการถนอมอาหาร
การถนอมอาหารมักจะเกี่ยวข้องกับ การยับยั้งการเติบโตของแบคทีเรีย เชื้อรา และจุลินทรี
อื่นๆ และการหน่วงปฏิกิริยาระหว่างไขมันกับออกซิเจนในอากาศ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเน่าเสีย
(rancidity) ของอาหาร
การถนอมอาหารนี้อาจรวมถึงการรักษาอายุตามธรรมชาติและสีสันของอาหารซึ่งเกิดจากการปรุงอาหาร เช่น
การเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลของเนื้อแอปเปิลเมื่อสัมผัสกับอากาศ
และการถนอมอาหารบางประเภทจาเป็นต้องปิดผนึกอาหารหลังจากที่ผ่านกระบวนการต่างๆ
เพื่อป้องกันการเกิดปัจจัยของการเน่าเสีย ทาให้อาหารนั้นสามารถเก็บไว้ได้นานมากกว่าปกติ
กระบวนการถนอมอาหารอาจประกอบด้วย
· การให้ความร้อนเพื่อกาจัดหรือทาจุลินทรีย์ให้เสื่อมสภาพ เช่น การต้ม
· การใช้สารเคมีเพื่อให้เกิดปฏิกิริยากับออกซิเจน เช่น การใช้ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
· การยับยั้งการเกิดสารพิษ เช่น การรมควัน การใช้คาร์บอนไดออกไซด์ น้าส้มสายชู แอลกอฮอล์
ฯลฯ
· การขจัดน้าออกจากอาหาร เช่น การตากแห้ง
· การยับยั้งการดูดซึมสารอาหารของจุลินทรีย์ เช่น การเชื่อม การดอง
· การเก็บรักษาอาหารในอุณหภูมิต่า เช่น การแช่แข็ง การทาให้เย็นขึ้น
· กระบวนการถนอมอาหารหลายๆ ข้อรวมกัน
2.2.3 ประโยชน์ของการถนอมอาหาร
1. ทาให้มีอาหารรับประทานทั้งในเวลาปกติและเวลาที่ขาดแคลน หรือนอกฤดูกาลของอาหารนั้น
2. เป็นการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติและรายจ่ายเนื่องจากมีอาหารสดตามฤดูกาลมาก
จนรับประทานไม่ทัน ถ้าปล่อยไว้จะเกิดอาการเน่าเสียตามธรรมชาติ แต่ถ้านามาถนอมไม่ให้เน่าเสีย
ก็จะสามารถเก็บอาหารนั้นไว้รับประทานในเวลาที่อาหารมีราคาแพง หรือหายากเมื่ออยู่นอกฤดูกาลได้
3.ทาให้ได้รับประทานอาหารที่มีรูปลักษณะและรสชาติที่แปลกออกไป เช่น ผลไม้กระป๋อง
และผลไม้กวน
4.ทาให้เกิดการกระจายอาหารไปยังชุมชนที่มีความอดอยากหรือขาดแคลนอย่างทั่วถึง
5.ทาให้มนุษย์สามารถควบคุมผักและผลไม้ให้สุกได้ตมเวลาที่ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีทางอาหาร
6.ทาให้เกิดอาชีพ และการเพิ่มพูนรายได้จากการอุตสาหกรรมการถนอมอาหารเพื่อการค้าขาย
2.3 ประสิทธิภาพของการถนอมอาหารแต่ละวิธี
2.3.1 การถนอมอาหารโดยตากแห้ง
การถนอมอาหารโดยตากแห้งเป็นวิธีที่ง่ายและประหยัดมากที่สุด ใช้ได้กับอาหารประเภทเนื้อสัตว์
ผักและผลไม้ เป็นวิธีที่ทาให้อาหารหมดความชื้นหรือมีความชื้นอยู่เพียงเล็กน้อย
เพื่อไม่ให้จุลินทรีย์สามารถเกาะอาศัยและเจริญเติบโตได้ ทาให้อาหารไม่เกิดการบูดเน่า
โดยการนาน้าหรือความชื้นออกจากอาหารให้มากที่สุด เช่น เนื้อเค็ม ปลาเค็ม กล้วยตาก เป็นต้น
รูปที่ 2 การตากแห้งของหมึก
ก่อนตากแห้งจะต้องล้างให้สะอาด ถ้าเป็นพวกผักมักลวกด้วยน้าเดือดเสียก่อน
ทาให้หยุดยั้งปฏิกิริยาเคมี บางรายนิยมนาเอาผลไม้ไปรมควันกามะถันอ่อน ๆ ก่อนที่จะตากแห้ง
ซึ่งจะช่วยให้มีสีและรสดีขึ้น ทั้งยังป้องกันไม่ให้เกิดรสเปรี้ยวและช่วยกันไม่ให้แมลงกัดกินอีกด้วย
อาหารที่นิยมถนอมโดยการตากแห้ง มักเป็นประเภทผัก ผลไม้ และเนื้อ เช่น ดีปลี พริก (พริกไทย)
เห็ดบางชนิด (เช่น เห็ดแครงที่ขึ้นตามต้นไม้มะขามที่ล้มตาย เป็นต้น) หมากแห้ง (ฝานก่อนตาม) กล้วยตาก
(กล้วยสุกปอกเปลือกแล้วตากแห้ง) ลูกหยี (ปอกเปลือกแล้วตากแห้ง) ส้มแขก (ผลไม้ชนิดหนึ่ง ผลกลม
หั่นเป็นชิ้นบาง ๆ แล้วตากแห้ง ใช้ในการปรุงอาหาร) เนื้อเค็ม ปลาเค็ม เป็นต้น
การตากแห้งอาหารประเภทเนื้อ มักใช้เกลือช่วยเพื่อกันการบูดเน่า และช่วยให้มีรสชาติดีขึ้น เช่น
หอยตาก (หอยน้าจืดชนิดหนึ่งคล้ายหอยแครงแต่ขนาดเล็กว่า ชอบอยู่ในทะเลสาบ
อาจลวกให้สุกด้วยน้าเกลือที่ร้อนจัด หรือคลุกเกลือแล้วตากแดด
โดยมากนิยมใช้วิธีหลังจึงเรียกหอยชนิดนี้ตามกรรมวิธีที่นิยมนั้นว่าหอยตาก) ปลาริ้ว (ปลาช่อนตัวโต ๆ
ที่นามาผ่าเป็นริ้ว ๆ แล้วตากแห้ง) ปลาแห้ง (ปลาเกลือ) เนื้อแห้ง (เนื้อเค็ม) เคย (กะปิ)
บางชนิดต้มให้สุกเสียก่อนแล้วนามาตากแห้ง เช่น สารกุ้ง (กุ้งแห้ง)
2.3.2 การถนอมอาหารโดยการดอง
การถนอมอาหารโดยการดอง โดยใช้จุลินทรีย์บางชนิดที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์
โดยจุลินทร์ทรีย์นั้นจะสร้างสารบางอย่างขึ้นมาในอาหาร
ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ตัวอื่นๆได้
ดังนั้นผลของการหมักดองจะทาให้อาหารปลอดภัยจากจุลินทร์ทรีย์ชนิดอื่นๆ
และยังทาให้เกิดอาหารชนิดใหม่ๆที่มีลักษณะแตกต่างไปจากเดิม เป็นการเพิ่มกลิ่น
และรสชาติของอาหารให้แปลกออกไป
รูปที่3 การดองของมะขาม
การถนอมอาหารโดยการดองมีหลายวิธีดังนี้
1.การดองเปรี้ยว ผักที่นิยมนามาดอง เช่น ผักกาดเขียว กะหล่าปลี ผักเสี้ยน ถั่วงอก เป็นต้น
วิธีทาคือนาเอาผักมาเคล้ากับเกลือ โดยผสมน้าเกลือกบน้าส้มต้มให้เดือด ทิ้งไว้ให้เย็น
นามาเทราดลงบนผักที่เรียงไว้ในภาชนะ เทให้ท่วมผักปิดฝาภาชนะไม่ให้ลมเข้าหมักทิ้งไว้4-
7วันก็นามารับประทานได้
2. การดอง 3 รส คือ รสเปรี้ยว เค็ม หวาน ผักที่นิยมดองแบบนี้คือ ขิงดอง กระเทียมสด ผักกาดเขียน
การดองชนิดนี้คือ นาเอาผักมาเคล้ากับเกลือแล้วผสมน้าส้ม น้าตาล เกลือ ต้มให้เดือด ทิ้งไว้ให้เย็น
แล้วนามาเทราดลงบนผักปิดฝาทิ้งไว้ประมาณ 2-3วันก็นามารับประทานได้
3.การดองหวาน ผักและผลไม้ที่นิยมนามาดอง เช่น มะละกอ หัวผักกาด กะหล่าปลี เป็นต้น
โดยต้มน้าตาล น้าส้มสายชู เกลือ ให้ออกรสหวานนาให้เดือดทิ้งไว้ให้เย็น เทราดลงบนผักผลไม้ ทิ้งไว้
2-3 วัน ก็นามารับประทานได้
4. การดองเค็ม อาหารที่นิยมส่วนใหญ่จะเป็นพวกเนื้อสัตว์และผัก เช่น ปูเค็ม ปลาเค็ม กะปิ
หัวผักกาดเค็ม ไข่เค็ม เป็นต้น ต้มน้าส้มสายชูและเกลือให้ออกรสเค็มจัดเล็กน้อยให้เดือดทิ้งไว้ให้เย็น
กรองใส่ภาชนะที่จะบรรจุอาหารดอง แล้วหมักทิ้งไว้ 4-9 เดือนจึงนามารับประทาน
5. การหมักดองที่ทาให้เกิดแอลกอฮอล์ คือการหมักอาหารพวกแป้ง น้าตาล
โดยใช้ยีสต์เป็นตัวช่วยให้เกิดแอลกอฮอล์ เช่น ข้าวหมาก
2.3.3 การถนอมอาหารโดยการเชื่อม
การเชื่อมและการกวนเป็นวิธีถนอมอาหาร โดยอาศัยสารน้าตาลป้องกันไม่ให้อาหารนั้น
เกิดการเปลี่ยนแปลงบูดเน่าเสียหาย
การถนอมอาหารโดยการเชื่อม 3 วิธี ดังนี้
1. การเชื่อมแบบธรรมดา อาจเคี่ยวจนน้าเชื่อมข้นเหนียว
น้าเชื่อมแทรกซึมเข้าในเนื้อของสิ่งที่เชื่อมแล้วใช้น้าเชื่อมที่เหลือแช่หล่อไว้อีกชั้นหนึ่ง เช่น กล้วยเชื่อม
สาเกเชื่อม ลูกตาลเชื่อม ขนุนเชื่อม เป็นต้น หรืออาจเคี่ยวต่อไปจนน้าเชื่อมแก่จัด
เมื่อเย็นลงจะแห้งและแข็งตัว
รูปที่ 4 การเชื่อม
2. การถนอมอาหารด้วยการแช่อิ่ม เป็นการถนอมอาหารโดยใช้น้าตาลปริมาณมาก คือ
นาอาหารมาแช่ในน้าเชื่อม และเปลี่ยนเพิ่มความเข้มข้นจนถึงจุดอิ่มตัวแล้วนามาทาแห้ง
มักใช้กับผลไม้ที่มีรสขม รสขื่น หรือรสเปรี้ยวจัด ทาให้สิ่งนั้นรสจืดลงเสียก่อนโดยวิธีต่าง ๆ เช่น แช่น้าเกลือ
แช่น้าปูน แช่สารส้ม เป็นต้น ผลไม้ที่นิยมนามาแช่อิ่ม เช่น มะม่วง มะขาม มะกอก มะยม เป็นต้น
รูปที่ 5 การแช่อิ่มของมะขาม
3. การฉาบ เป็นการนาเอาผักหรือผลไม้ที่ทาสุกแล้ว เช่น เผือกทอด มันทอด กล้วยทอด เป็นต้น
วิธีฉาบคือเคี่ยวน้าตาลให้เป็นน้าเชื่อมแก่จัดจนเป็นเกล็ด แล้วเทลงผสมคลุกเคล้ากับของที่ทอดไว้
ทิ้งไว้ให้เย็นจนน้าเชื่อมเกาะเป็นเกล็ดติดอยู่บนผิวอาหารที่ฉาบ
รูปที่ 6 การฉาบกล้วย
4. การถนอมอาหารด้วยวิธีการกวน คือ การที่นาเนื้อผลไม้ที่สุกแล้วผสมกับน้าตาล โดยใช้ความร้อน
เพื่อกวนผสมให้กลมกลืนกันโดยมีรสหวานและให้เข้มข้นขึ้น
การใส่น้าตาลในการกวนมี 2 วิธี คือ ใส่น้าตาลแต่น้อยใช้กวนผลไม้ เพื่อทาแยม เยลลี่ เป็นต้น
และการกวนโดยใช้ปริมาณน้าตาลมาก เช่น การกวนผลไม้แบบแห้ง เช่น กล้วยกวน สับปะรดกวน ทุเรียนกวน
เป็นต้น
รูปที่ 7 การกวนทุเรียน
5. การทาแยม
การทาแยม เป็นการต้มเนื้อผลไม้ปนกับน้าตาลด้วยไฟอ่อนในระยะแรก แล้วค่อย ๆ
เพิ่มไฟขึ้นทีละน้อย หมั่นคนสม่าเสมอ
จนกระทั่งแยมเหนียวตามต้องการ กล่าวคือ เมื่อใช้ช้อนตักขึ้นแล้ว
รูปที่ 8 การทาแยม
6. การรมควัน
การรมควันเป็นการถนอมอาหารที่ต่างไปจากการ ตากแห้งธรรมดา นอกจากจะทาให้อาหารแห้งแล้ว
ยังช่วยรักษาให้อาหารเก็บได้นาน มีกลิ่นหอมและรสชาติแปลกซึ่งเป็นที่นิยมกันมาก
การรมควันที่สามารถทาได้ในครอบครัวจะเป็นแบบธรรมชาติโดยการสุมไฟด้วยไม้กาบมะพร้าว ขี้เลื่อย
ซางข้าวโพด
ให้แขวนอาหารไว้เหนือกองไฟใช้ไฟอ่อนๆเพื่อให้รมควันอาหารไปพร้อมกับไอร้อนจะช่วยทาให้อาหารแห้งเร็ว
เช่น รมควันปลา เป็นต้น
รูปที่ 9 การรมควัน
2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์
ขั้นตอนที่ 1 เข้าไปที่เว็บ http://www.blogger.com จะขึ้นหน้าจอตามรูปตรับ
ขั้นตอนที่ 2 จากนั้นทาการสมัคร (สาหรับบุคคลที่ยังไม่มี Gmail ) ถ้ามีแล้วให้ล๊อกอินได้เลยครับ
ขั้นตอนที่ 3 ให้กรอกข้อมูลตามความเป็นจริงนะครับ
ขั้นตอนที่ 4 คลิกที่ปุ่มสร้างบล๊อกใหม่ตามรูปครับ
ขั้นตอนที่ 5 พอคลิกแล้วจะขึ้นตามรูปนะครับ จากนั้นให้กรอกข้อมูลลงไปครับ
เลือกแม่แบบตามใจชอบได้เลยครับ
ขั้นตอนที่ 6 คลิกปุ่มตามรูปเลยครับ
ขั้นตอนที่ 7 ใส่ข้อมูลต่างๆเลยครับ
ขั้นตอนที่ 8 คลิกปุ่ม "แสดงตัวอย่าง" ถ้าชอบแล้วกดบันทึกได้เลยครับ
บทที่ 3
อุปกรณ์ และ วิธีดาเนินงาน
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ การถนอมอาหาร(ผักกาด)
โดยคณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีการทาและดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนต่อไปนี้
3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ
1.คิดค้นหาหัวข้อโครงงานและนาไปปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา
2.วางแผนขั้นตอนการทาโครงงานและดาเนินงาน
3.ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ที่เกี่ยวกับโครงงาน
4.เริ่มลงมือปฏิบัติตามแบบแผนที่กาหนดไว้
5.จัดทาโครงงานบล็อกเพื่อการเรียนรู้เรื่องการถนอมอาหาร(ผักกาด)
6.เผยแพร่ข้อมูลและบล็อกสู่สาธารณะ บนเครือข่ายระบบอินเตอร์เน็ต
7.สรุปและ ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน
3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.ศึกษาเรื่องการถนอมอาหารและความหมายของมัน
2.ศึกษาเรื่องวิธีการถนอมอาหารของแต่ละวิธี
3.ศึกษาเรื่อง การทาบล็อกเกอร์ เพื่อทาสื่อที่จะไปพัฒนาโครงงาน
3.3 วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
2.ซอฟต์แวร์
- Microsoft word
-Adobe photoshop
-ผัดกาดและอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเป็นภาชนะ
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาสื่อการศึกษา สร้างเว็บไซต์ การถนอมอาหาร(ผักกาด)
เนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร วิธีการถนอมอาหารในรูปแบบต่างๆ และประโยชน์ของการถนอมอาหาร
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการถนอมอาหาร ซึ่งมีผลการดาเนินโครงงานดังนี้
4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนและแบบแผนที่ได้วางไว้
และได้ทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ การถนอมอาหาร
บนระบบอินเตอร์เน็ตโดยการสร้างเว็บไซต์ด้วยBloggerและใช้ซอฟต์แวร์อื่นๆ เพื่อช่วยเพิ่มความน่าสนใจ
โดยเว็บไซต์นั้นสามารถที่จะเข้าไปศึกษาค้นคว้าได้ทุกที่ ทุกเวลาและ รวดเร็ว
4.2 ตัวอย่างผลงาน
ตัวอย่างเว็บบล็อก
http://lettucevegetable.blogspot.com
รูปที่ 10 ตัวอย่างเว็บบล็อก
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน และ ข้อเสนอแนะ
การจัดทาโครงคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์
การถนอมอาหาร(ผักกาด)สามารถาสรุปผลการดาเนินโครงงานและได้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน
5.1.1วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อแปรรูปผักกาดให้มีมูลค่ามากขึ้น และลดปริมาณผักกาดในท้องตลาด
2.อาจนาไปต่อยอดเป็นธุรกิจทางการค้าได้
5.1.2วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
2.ซอฟต์แวร์
- Microsoft word
-Adobe photoshop
-ผัดกาดและอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเป็นภาชนะ
5.2 สรุปผลการดาเนินโครงงาน
การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้คือ
เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สนใจเกี่ยวกับวิธีการถนอมผัดกาดในวิธีต่างๆโครงงานนี้จัดทาขึ้น
เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารแต่ละวิธี ทาให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าใจได้ง่ายมากขึ้น
เล็งเห็นถึงความสาคัญของวิธีการถนอมอาหารที่ทาอย่างไรที่จะยืนอายุของอาหารได้
โครงงานนี้จึงเป็นโครงงานที่มีประโยชน์
และเป็นการนาผักกาดที่เยอะจนล้นตลาดมาแปรรูปและเป็นการยืนอายุของผักกาดและทาให้เกิดประโยชน์มา
กขึ้น
5.3 ข้อเสนอแนะ
1.ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายครบถ้วนมากกว่านี้
2.ควรมีการจัดทาวิธีการถนอมอาหารต่างๆให้มากขึ้น และทาการเผยแพร่ข้อมูล
3.ควรมีการเผยแพร่ข้อมูลเพิ่มขึ้นในช่องทางอื่น เช่น แผ่นพับ เป็นต้น
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม
https://th.search.yahoo.com.
http://www.thaikasetsart.com.
http://www.vegetweb.com.

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
รายงานบูรณาการ
รายงานบูรณาการรายงานบูรณาการ
รายงานบูรณาการnatcha khongmanacharn
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน Jaturaphun Boontom
 
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3Khunnawang Khunnawang
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านTeacher Sophonnawit
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)Tanutcha Pintong
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานBest Naklai
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalizationskiats
 
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดโครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดWannwipha Kanjan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นschool
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
โครงงานถั่วงอกหอมใบเตย
โครงงานถั่วงอกหอมใบเตยโครงงานถั่วงอกหอมใบเตย
โครงงานถั่วงอกหอมใบเตยspayjang
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
รายงานบูรณาการ
รายงานบูรณาการรายงานบูรณาการ
รายงานบูรณาการ
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน
 
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การ Normalization
การ Normalizationการ Normalization
การ Normalization
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดโครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
สอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียนสอบก่อนเรียน
สอบก่อนเรียน
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
โครงงานถั่วงอกหอมใบเตย
โครงงานถั่วงอกหอมใบเตยโครงงานถั่วงอกหอมใบเตย
โครงงานถั่วงอกหอมใบเตย
 

Similar to รุปเล่มโครงงานคอมM5

รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1Sircom Smarnbua
 
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22LoudwarunBunyaviroch
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Sathitalookmai
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานduckbellonly
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6NutchaWarapho
 

Similar to รุปเล่มโครงงานคอมM5 (20)

รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
รายงานโครงการเห็ดสุดยอดผู้ย่อยสลายสายสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2557ศพว 1
 
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Plumeria
PlumeriaPlumeria
Plumeria
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
 
932 pre9
932 pre9932 pre9
932 pre9
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 

More from Tewit Chotchang

อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3Tewit Chotchang
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3Tewit Chotchang
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2Tewit Chotchang
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2Tewit Chotchang
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222Tewit Chotchang
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลเรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลTewit Chotchang
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1Tewit Chotchang
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1Tewit Chotchang
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียนโครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียนTewit Chotchang
 

More from Tewit Chotchang (20)

พรบคอม
พรบคอมพรบคอม
พรบคอม
 
Like&share13
Like&share13Like&share13
Like&share13
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลเรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเล
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียนโครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
 
Web board
Web  boardWeb  board
Web board
 

รุปเล่มโครงงานคอมM5

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การถนอมอาหาร(ผักกาด) โดย 1.น.ส. พีรดา เชื้อสุข เลขที่ 23 2.น.ส. ญาณินท์ รักษาทรัพย์ เลขที่ 27 3.น.ส. ณัฐวรรณ ต่อกิจการเจริญ เลขที่ 34 4.น.ส. วีรยา ศรีรัตนาลิ้มวงศ์ เลขที่ 36 5.น.ส. นภัสวรรณ ศุภณรงค์พงศ์ เลขที่ 37 6.น.ส. กมลพร รอดคืน เลขที่ 38 7.น.ส. พินทุผล ทหราวานิช เลขที่ 40 8.น.ส. จิรัชญา สาครพานิช เลขที่ 43 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/1 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการงาน และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2559 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การถนอมอาหาร โดย 1.น.ส. พีรดา เชื้อสุข เลขที่ 23 2.น.ส. ญาณินท์ รักษาทรัพย์ เลขที่ 27 3.น.ส. ณัฐวรรณ ต่อกิจการเจริญ เลขที่ 34 4.น.ส. วีรยา ศรีรัตนาลิ้มวงศ์ เลขที่ 36 5.น.ส. นภัสวรรณ ศุภณรงค์พงศ์ เลขที่ 37 6.น.ส. กมลพร รอดคืน เลขที่ 38 7.น.ส. พินทุผล ทหราวานิช เลขที่ 40 8.น.ส. จิรัชญา สาครพานิช เลขที่ 43 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/1 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการงาน และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2559 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
  • 3. ชื่อโครงงาน การถนอมอาหาร(ผักกาด) ประเภทของโครงงาน ประเภทการทดลอง ผู้จัดทาโครงงาน 1.น.ส. พีรดา เชื้อสุข เลขที่ 23 2.น.ส. ญาณินท์ รักษาทรัพย์ เลขที่ 27 3.น.ส. ณัฐวรรณ ต่อกิจการเจริญ เลขที่ 34 4.น.ส. วีรยา ศรีรัตนาลิ้มวงศ์ เลขที่ 36 5.น.ส. นภัสวรรณ ศุภณรงค์พงศ์ เลขที่ 37 6.น.ส. กมลพร รอดคืน เลขที่ 38 7.น.ส. พินทุผล ทหราวานิช เลขที่ 40 8.น.ส. จิรัชญา สาครพานิช เลขที่ 43 ครูที่ปรึกษา มิส เขมจิรา ปลงไสว ปีการศึกษา 2559 บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการทดลองวิธีการถนอมอาหารและสร้างบล็อก(Blogger)เพื่ อเผยแพร่และนาเสนอความรู้จากการปฏิบัติจริง ผลการศึกษาและจัดทาโครงงานพบว่า การพัฒนาโครงสร้างบล็อก การถนอมอาหาร เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวการถนอมอาหารของแต่ละวิธี และได้ความรู้และความเพลิดเพลิน คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ได้วางแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่งานผ่านทางเครือข่ ายระบบอินเตอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และมีความรวดเร็วในการรับข้อมูล บุคคลทั่วไปสามารถเข้ารับชมได้ เพราะเป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ เหมาะแก่การศึกษา
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่องนี้ประกอบด้วยการดาเนินงานหลายขั้นตอน นับตั้งแต่การศึกษาหาข้อมูลการทดลอง การวิเคราะห์ผลการทดลอง การจัดทาโครงงานเป็นรูปเล่ม จนกระทั่งโครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ตลอดระยะเวลาดังกล่าว คณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือและคาแนะนาในด้านต่างๆ ตลอดจนได้รับกาลังใจจากบุคคลหลายๆท่าน คณะผู้จัดทาตระหนักและซาบซึ้งในความกรุณาจากทุกๆท่านเป็นอย่างยิ่ง ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณทุกๆท่านดังนี้ กราบขอบพระคุณ มิส เขมจิรา ปลงไสว ครูที่ปรึกษากลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ผู้ที่ให้คาแนะนาและได้เมตตาให้ความช่วยเหลือในทุกๆด้าน ตลอดจนให้ความคิดและแนะนาต่างๆ ที่ทาให้โครงงานการถนอมอาหารสาเร็จไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา 6/9/59
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1. บทนา 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตของโครงงาน 1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2 ผักกาดเขียวปลี 2 ความรู้ทั่วไปของการถนอมอาหาร 4 ประสิทธิภาพของการถนอมอาหารแต่ละวิธี 6 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 11 3. อุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน 14 ขั้นตอนการดาเนินการ 14
  • 6. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 14 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 14 4. ผลการดาเนินงาน 15 ผลการพัฒนาโครงงาน 15 ตัวอย่างผลลงาน 15 5. สรุปผลการทดลอง 17 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 17 สรุปผลการดาเนินโครงงาน 17 ข้อเสนอแนะ 17 ภาคผนวก 19 บรรณานุกรม 20
  • 7. สารบัญภาพ หน้า รูปที่ 1 ผักกาดเขียวปลี 2 รูปที่ 2 การตากแห้งของหมึก 6 รูปที่ 3 การดองของมะขาม 7 รูปที่ 4 การเชื่อม 8 รูปที่ 5 การแช่อิ่มของมะขาม 9 รูปที่ 6 การฉาบกล้วย 9 รูปที่ 7 การกวนทุเรียน 10 รูปที่ 8 การทาแยม 10 รูปที่ 9 การรมควัน 11 รูปที่ 10 ตัวอย่างเว็บบล็อก 15
  • 8. บทที่1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันนี้ ผักกาดมีปริมาณในตลาดมากเกินกว่าความต้องการของผู้ซื้อ ทาให้ต้องลดมูลค่าของผักกาดลง ทาให้พ่อค้าแม่ค้าขาดทุน ส่งผลให้เกิดสภาวะเศรษฐกิจตกต่า ดังนั้น เราจึงต้องหาวิธีการเพิ่มมูลค่าของสินค้าให้มากขึ้น โดยการนาผักกาดมาแปรรูปในแบบต่างๆ วัตถุประสงค์ เพื่อแปรรูปผักกาดให้มีมูลค่ามากขึ้น และลดปริมาณผักกาดในท้องตลาด ขอบเขตของโครงงาน สร้างเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหาร(ผักกาด)โดยจัดทาในบล็อกเกอร์ ในการสร้างเว็บไซต์และใช้โปรแกรม ในการตกแต่งและจัดเรียงเว็บไซต์ให้สวยงามและน่าสนใจ เพื่อเป็นแรงจูงใจในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้สนใจมีความเข้าใจในวิธีการถนอมผักกาดได้หลายวิธีและเกิดผลสาเร็จ 2.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างบล็อกเกอร์ 3.ได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณภาพและเกิดประโยชน์
  • 9. บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ กลุ่มของข้าพเจ้าได้ศึกษาวิธีการถนอมอาหารแต่ละวิธีว่ามีความแตกต่างกันอย่าไรบ้าง คณะผู้จะทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 2.1ผักกาดเขียวปลี 2.2ความรู้ทั่วไปของการถนอมอาหาร 2.3ประสิทธิของการถนอมอาหารแต่ละวิธี 2.4วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ 2.1 ผักกาดเขียวปลี รูปที่ 1 ผักกาดเขียวปลี
  • 10. ผักกาดเขียวปลี : (leaf mustard) Brassica juncea (L.) Czernjaew (Opena, 1994) วงศ์ : CRUCIFERAE, BRASSICACEAE ถิ่นกาเนิดและการแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ ถิ่นกาเนิดของผักกาดเขียวปลีนั้นไม่ทราบแน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าอยู่ในเอเชียกลาง คือ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย และแหล่งที่มีความสาคัญรองลงมา น่าจะเป็นตอนกลางและภาคตะวันตกของประเทศจีน ทางตะวันออกของอินเดียจนถึงพม่าและบริเวณเอเชียไมเนอร์ ในปัจจุบันมีการปลูกผักกาดเขียวปลีแพร่หลายทั่วโลกตั้งแต่อินเดียจนถึงตอนเหนือของทวีปแอฟริกา เอเชียกลางผ่านตอนใต้ของรัสเซียไปยังทวีปยุโรปและทวีปอเมริกาเหนือ ความหลากหลายทางพันธุ กรรมพบมากในประเทศจีน ซึ่งมีการปลูกกันอย่างกว้างขวาง และสันนิษฐานว่าเป็นแหล่งของพันธุ์ปลูกที่นามาแพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งนิยมปลูกผักกาดเขียวปลีชนิดกินใบ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นพืชปีเดียว และสองปีไม่มีเนื้อไม้ ลาต้นตั้งตรง สูง 30-60 เซนติเมตร ไม่มีการแตกกิ่งก้านสาขา ลาต้นค่อนข้างเรียบ มีนวลจับ ระบบรากเป็นแบบรากแก้ว ใบมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกันไป ขอบใบเรียบหรือหยักเว้าแบบขนนก มีก้านใบ ใบสีเขียวอ่อนจนถึงสีเขียวเข้ม อาจมีขนหรือไม่มีขน มีการห่อของปลีหรือไม่มีขึ้นกับพันธุ์ ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ดอกย่อยบานจากด้านล่างขึ้นไปยังด้านบน มีดอกย่อยจานวนมาก ช่อดอกยาวได้ถึง 60 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ก้านดอกย่อยยาว 5-12 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงมี 4 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 4-6 มิลลิเมตร สีเขียว กลีบดอกสีเหลืองสดมี 4 กลีบ มีลักษณะโค้ง รูปไข่กลับ ยาว 6-10 มิลลิเมตร มีเกสรเพศผู้ 6 อัน ยาวสี่อันสั้นสองอัน เกสรเพศเมียมีลักษณะกลม ผลแตกแบบผักกาด ยาว 25-75 มิลลิเมตร กว้าง 2-3.5 มิลลิเมตร ผลยาวตรง มีลักษณะพองและมีรอยคอด ปลายสอบเรียวหรืออาจเป็นจะงอยรูปกรวย ผลแตกเมื่อแก่จัด มี 10-20 เมล็ด เมล็ดกลมสีน้าตาลจนถึงสีเทาดา เส้นผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 มิลลิเมตร มีรอยร่างแหละเอียดบนเปลือกเมล็ด การใช้ประโยชน์ นาส่วนต่างๆ ของลาต้นและใบมารับประทานสด หรือปรุงให้สุกเป็นอาหารคาว
  • 11. และนามาทาผักกาดดองบรรจุกระป๋อง ไห และปีบในโรงงาน ซึ่งมีอยู่ทั่วประเทศประมาณ 20 โรงงาน คุณค่าทางอาหาร ส่วนที่รับประทานได้หนัก 100 กรัม ประกอบด้วยน้า 92 กรัม โปรตีน 2.4 กรัม ไขมัน 0.4 กรัม คาร์โบไฮเดรต 4 กรัม แคลเซียม 160 มิลลิกรัม เหล็ก 2.7 มิลลิกรัม วิตามินเอ 1.8 มิลลิกรัม วิตามินซี 73 มิลลิกรัม เมล็ดหนักประมาณ 2 กรัมต่อ 1,000 เมล็ด การขยายพันธุ์ ผักกาดเขียวเป็นพืชที่ไม่มีเนื้อไม้ มีอายุปีเดียว (annual) จนถึงสองปี (biennial) ขึ้นกับสายพันธุ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ มรกต 2000 บลูซิน กู๊ดเวอร์ แม็ค นิเวศวิทยา ผักกาดเขียวปลีเป็นพืชที่ทนทานต่ออุณหภูมิและความชื้นสูงได้ดี จึงสามารถเจริญเติบโตบนพื้นที่ราบที่มีอุณหภูมิสูงได้ตลอดปี ชอบดินร่วนที่มีการระบายน้าได้ดี มีแร่ธาตุและอินทรียสารในดินสูง สามารถออกดอกและติดเมล็ดได้ในเขตอากาศแบบร้อนชื้น โดยเมล็ดพัฒนาได้ดีในสภาพอากาศค่อนข้างเย็นและแห้งแล้ง บนพื้นที่สูงระดับปานกลางจนกระทั่งสูงในเขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้น พื้นที่ปลูกปี พ.ศ. 2542-2543 ประมาณ 29,371 ไร่ ผลผลิตรวม 67,047 ตัน (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2543) การเก็บเกี่ยว ทาการเก็บเกี่ยวโดยการตัดส่วนของลาต้นที่อยู่เหนือดินด้วยมีด เมื่อพุ่มต้นมีความสูงประมาณ 20-30 เซนติเมตร ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวขณะที่แสงแดดจัด เนื่องจากจะทาให้ต้นมีการสูญเสียน้าและมีการเหี่ยวเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว การส่งออก มีการส่งออกในรูปผักกาดดองบรรจุกระป๋องและผักแช่แข็ง แต่ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจน
  • 12. 2.2 ความรู้ทั่วไปของการถนอมอาหาร 2.2.1ความหมายของการถนอมอาหาร (Food Preservation) หมายถึง กระบวนการเก็บและรักษาอาหาร เพื่อชะลอการเน่าเสียของอาหาร หรือป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ ในขณะที่ยังรักษาคุณค่าทางโภชนาการ สีสัน และกลิ่นให้คงอยู่ 2.2.2 กระบวนการถนอมอาหาร การถนอมอาหารมักจะเกี่ยวข้องกับ การยับยั้งการเติบโตของแบคทีเรีย เชื้อรา และจุลินทรี อื่นๆ และการหน่วงปฏิกิริยาระหว่างไขมันกับออกซิเจนในอากาศ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเน่าเสีย (rancidity) ของอาหาร การถนอมอาหารนี้อาจรวมถึงการรักษาอายุตามธรรมชาติและสีสันของอาหารซึ่งเกิดจากการปรุงอาหาร เช่น การเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลของเนื้อแอปเปิลเมื่อสัมผัสกับอากาศ และการถนอมอาหารบางประเภทจาเป็นต้องปิดผนึกอาหารหลังจากที่ผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อป้องกันการเกิดปัจจัยของการเน่าเสีย ทาให้อาหารนั้นสามารถเก็บไว้ได้นานมากกว่าปกติ กระบวนการถนอมอาหารอาจประกอบด้วย · การให้ความร้อนเพื่อกาจัดหรือทาจุลินทรีย์ให้เสื่อมสภาพ เช่น การต้ม · การใช้สารเคมีเพื่อให้เกิดปฏิกิริยากับออกซิเจน เช่น การใช้ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ · การยับยั้งการเกิดสารพิษ เช่น การรมควัน การใช้คาร์บอนไดออกไซด์ น้าส้มสายชู แอลกอฮอล์ ฯลฯ · การขจัดน้าออกจากอาหาร เช่น การตากแห้ง · การยับยั้งการดูดซึมสารอาหารของจุลินทรีย์ เช่น การเชื่อม การดอง · การเก็บรักษาอาหารในอุณหภูมิต่า เช่น การแช่แข็ง การทาให้เย็นขึ้น · กระบวนการถนอมอาหารหลายๆ ข้อรวมกัน 2.2.3 ประโยชน์ของการถนอมอาหาร 1. ทาให้มีอาหารรับประทานทั้งในเวลาปกติและเวลาที่ขาดแคลน หรือนอกฤดูกาลของอาหารนั้น 2. เป็นการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติและรายจ่ายเนื่องจากมีอาหารสดตามฤดูกาลมาก
  • 13. จนรับประทานไม่ทัน ถ้าปล่อยไว้จะเกิดอาการเน่าเสียตามธรรมชาติ แต่ถ้านามาถนอมไม่ให้เน่าเสีย ก็จะสามารถเก็บอาหารนั้นไว้รับประทานในเวลาที่อาหารมีราคาแพง หรือหายากเมื่ออยู่นอกฤดูกาลได้ 3.ทาให้ได้รับประทานอาหารที่มีรูปลักษณะและรสชาติที่แปลกออกไป เช่น ผลไม้กระป๋อง และผลไม้กวน 4.ทาให้เกิดการกระจายอาหารไปยังชุมชนที่มีความอดอยากหรือขาดแคลนอย่างทั่วถึง 5.ทาให้มนุษย์สามารถควบคุมผักและผลไม้ให้สุกได้ตมเวลาที่ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีทางอาหาร 6.ทาให้เกิดอาชีพ และการเพิ่มพูนรายได้จากการอุตสาหกรรมการถนอมอาหารเพื่อการค้าขาย 2.3 ประสิทธิภาพของการถนอมอาหารแต่ละวิธี 2.3.1 การถนอมอาหารโดยตากแห้ง การถนอมอาหารโดยตากแห้งเป็นวิธีที่ง่ายและประหยัดมากที่สุด ใช้ได้กับอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ผักและผลไม้ เป็นวิธีที่ทาให้อาหารหมดความชื้นหรือมีความชื้นอยู่เพียงเล็กน้อย เพื่อไม่ให้จุลินทรีย์สามารถเกาะอาศัยและเจริญเติบโตได้ ทาให้อาหารไม่เกิดการบูดเน่า โดยการนาน้าหรือความชื้นออกจากอาหารให้มากที่สุด เช่น เนื้อเค็ม ปลาเค็ม กล้วยตาก เป็นต้น รูปที่ 2 การตากแห้งของหมึก ก่อนตากแห้งจะต้องล้างให้สะอาด ถ้าเป็นพวกผักมักลวกด้วยน้าเดือดเสียก่อน ทาให้หยุดยั้งปฏิกิริยาเคมี บางรายนิยมนาเอาผลไม้ไปรมควันกามะถันอ่อน ๆ ก่อนที่จะตากแห้ง ซึ่งจะช่วยให้มีสีและรสดีขึ้น ทั้งยังป้องกันไม่ให้เกิดรสเปรี้ยวและช่วยกันไม่ให้แมลงกัดกินอีกด้วย อาหารที่นิยมถนอมโดยการตากแห้ง มักเป็นประเภทผัก ผลไม้ และเนื้อ เช่น ดีปลี พริก (พริกไทย)
  • 14. เห็ดบางชนิด (เช่น เห็ดแครงที่ขึ้นตามต้นไม้มะขามที่ล้มตาย เป็นต้น) หมากแห้ง (ฝานก่อนตาม) กล้วยตาก (กล้วยสุกปอกเปลือกแล้วตากแห้ง) ลูกหยี (ปอกเปลือกแล้วตากแห้ง) ส้มแขก (ผลไม้ชนิดหนึ่ง ผลกลม หั่นเป็นชิ้นบาง ๆ แล้วตากแห้ง ใช้ในการปรุงอาหาร) เนื้อเค็ม ปลาเค็ม เป็นต้น การตากแห้งอาหารประเภทเนื้อ มักใช้เกลือช่วยเพื่อกันการบูดเน่า และช่วยให้มีรสชาติดีขึ้น เช่น หอยตาก (หอยน้าจืดชนิดหนึ่งคล้ายหอยแครงแต่ขนาดเล็กว่า ชอบอยู่ในทะเลสาบ อาจลวกให้สุกด้วยน้าเกลือที่ร้อนจัด หรือคลุกเกลือแล้วตากแดด โดยมากนิยมใช้วิธีหลังจึงเรียกหอยชนิดนี้ตามกรรมวิธีที่นิยมนั้นว่าหอยตาก) ปลาริ้ว (ปลาช่อนตัวโต ๆ ที่นามาผ่าเป็นริ้ว ๆ แล้วตากแห้ง) ปลาแห้ง (ปลาเกลือ) เนื้อแห้ง (เนื้อเค็ม) เคย (กะปิ) บางชนิดต้มให้สุกเสียก่อนแล้วนามาตากแห้ง เช่น สารกุ้ง (กุ้งแห้ง) 2.3.2 การถนอมอาหารโดยการดอง การถนอมอาหารโดยการดอง โดยใช้จุลินทรีย์บางชนิดที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ โดยจุลินทร์ทรีย์นั้นจะสร้างสารบางอย่างขึ้นมาในอาหาร ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ตัวอื่นๆได้ ดังนั้นผลของการหมักดองจะทาให้อาหารปลอดภัยจากจุลินทร์ทรีย์ชนิดอื่นๆ และยังทาให้เกิดอาหารชนิดใหม่ๆที่มีลักษณะแตกต่างไปจากเดิม เป็นการเพิ่มกลิ่น และรสชาติของอาหารให้แปลกออกไป รูปที่3 การดองของมะขาม การถนอมอาหารโดยการดองมีหลายวิธีดังนี้
  • 15. 1.การดองเปรี้ยว ผักที่นิยมนามาดอง เช่น ผักกาดเขียว กะหล่าปลี ผักเสี้ยน ถั่วงอก เป็นต้น วิธีทาคือนาเอาผักมาเคล้ากับเกลือ โดยผสมน้าเกลือกบน้าส้มต้มให้เดือด ทิ้งไว้ให้เย็น นามาเทราดลงบนผักที่เรียงไว้ในภาชนะ เทให้ท่วมผักปิดฝาภาชนะไม่ให้ลมเข้าหมักทิ้งไว้4- 7วันก็นามารับประทานได้ 2. การดอง 3 รส คือ รสเปรี้ยว เค็ม หวาน ผักที่นิยมดองแบบนี้คือ ขิงดอง กระเทียมสด ผักกาดเขียน การดองชนิดนี้คือ นาเอาผักมาเคล้ากับเกลือแล้วผสมน้าส้ม น้าตาล เกลือ ต้มให้เดือด ทิ้งไว้ให้เย็น แล้วนามาเทราดลงบนผักปิดฝาทิ้งไว้ประมาณ 2-3วันก็นามารับประทานได้ 3.การดองหวาน ผักและผลไม้ที่นิยมนามาดอง เช่น มะละกอ หัวผักกาด กะหล่าปลี เป็นต้น โดยต้มน้าตาล น้าส้มสายชู เกลือ ให้ออกรสหวานนาให้เดือดทิ้งไว้ให้เย็น เทราดลงบนผักผลไม้ ทิ้งไว้ 2-3 วัน ก็นามารับประทานได้ 4. การดองเค็ม อาหารที่นิยมส่วนใหญ่จะเป็นพวกเนื้อสัตว์และผัก เช่น ปูเค็ม ปลาเค็ม กะปิ หัวผักกาดเค็ม ไข่เค็ม เป็นต้น ต้มน้าส้มสายชูและเกลือให้ออกรสเค็มจัดเล็กน้อยให้เดือดทิ้งไว้ให้เย็น กรองใส่ภาชนะที่จะบรรจุอาหารดอง แล้วหมักทิ้งไว้ 4-9 เดือนจึงนามารับประทาน 5. การหมักดองที่ทาให้เกิดแอลกอฮอล์ คือการหมักอาหารพวกแป้ง น้าตาล โดยใช้ยีสต์เป็นตัวช่วยให้เกิดแอลกอฮอล์ เช่น ข้าวหมาก 2.3.3 การถนอมอาหารโดยการเชื่อม การเชื่อมและการกวนเป็นวิธีถนอมอาหาร โดยอาศัยสารน้าตาลป้องกันไม่ให้อาหารนั้น เกิดการเปลี่ยนแปลงบูดเน่าเสียหาย การถนอมอาหารโดยการเชื่อม 3 วิธี ดังนี้ 1. การเชื่อมแบบธรรมดา อาจเคี่ยวจนน้าเชื่อมข้นเหนียว น้าเชื่อมแทรกซึมเข้าในเนื้อของสิ่งที่เชื่อมแล้วใช้น้าเชื่อมที่เหลือแช่หล่อไว้อีกชั้นหนึ่ง เช่น กล้วยเชื่อม สาเกเชื่อม ลูกตาลเชื่อม ขนุนเชื่อม เป็นต้น หรืออาจเคี่ยวต่อไปจนน้าเชื่อมแก่จัด เมื่อเย็นลงจะแห้งและแข็งตัว
  • 16. รูปที่ 4 การเชื่อม 2. การถนอมอาหารด้วยการแช่อิ่ม เป็นการถนอมอาหารโดยใช้น้าตาลปริมาณมาก คือ นาอาหารมาแช่ในน้าเชื่อม และเปลี่ยนเพิ่มความเข้มข้นจนถึงจุดอิ่มตัวแล้วนามาทาแห้ง มักใช้กับผลไม้ที่มีรสขม รสขื่น หรือรสเปรี้ยวจัด ทาให้สิ่งนั้นรสจืดลงเสียก่อนโดยวิธีต่าง ๆ เช่น แช่น้าเกลือ แช่น้าปูน แช่สารส้ม เป็นต้น ผลไม้ที่นิยมนามาแช่อิ่ม เช่น มะม่วง มะขาม มะกอก มะยม เป็นต้น รูปที่ 5 การแช่อิ่มของมะขาม 3. การฉาบ เป็นการนาเอาผักหรือผลไม้ที่ทาสุกแล้ว เช่น เผือกทอด มันทอด กล้วยทอด เป็นต้น วิธีฉาบคือเคี่ยวน้าตาลให้เป็นน้าเชื่อมแก่จัดจนเป็นเกล็ด แล้วเทลงผสมคลุกเคล้ากับของที่ทอดไว้ ทิ้งไว้ให้เย็นจนน้าเชื่อมเกาะเป็นเกล็ดติดอยู่บนผิวอาหารที่ฉาบ
  • 17. รูปที่ 6 การฉาบกล้วย 4. การถนอมอาหารด้วยวิธีการกวน คือ การที่นาเนื้อผลไม้ที่สุกแล้วผสมกับน้าตาล โดยใช้ความร้อน เพื่อกวนผสมให้กลมกลืนกันโดยมีรสหวานและให้เข้มข้นขึ้น การใส่น้าตาลในการกวนมี 2 วิธี คือ ใส่น้าตาลแต่น้อยใช้กวนผลไม้ เพื่อทาแยม เยลลี่ เป็นต้น และการกวนโดยใช้ปริมาณน้าตาลมาก เช่น การกวนผลไม้แบบแห้ง เช่น กล้วยกวน สับปะรดกวน ทุเรียนกวน เป็นต้น รูปที่ 7 การกวนทุเรียน 5. การทาแยม การทาแยม เป็นการต้มเนื้อผลไม้ปนกับน้าตาลด้วยไฟอ่อนในระยะแรก แล้วค่อย ๆ เพิ่มไฟขึ้นทีละน้อย หมั่นคนสม่าเสมอ จนกระทั่งแยมเหนียวตามต้องการ กล่าวคือ เมื่อใช้ช้อนตักขึ้นแล้ว
  • 18. รูปที่ 8 การทาแยม 6. การรมควัน การรมควันเป็นการถนอมอาหารที่ต่างไปจากการ ตากแห้งธรรมดา นอกจากจะทาให้อาหารแห้งแล้ว ยังช่วยรักษาให้อาหารเก็บได้นาน มีกลิ่นหอมและรสชาติแปลกซึ่งเป็นที่นิยมกันมาก การรมควันที่สามารถทาได้ในครอบครัวจะเป็นแบบธรรมชาติโดยการสุมไฟด้วยไม้กาบมะพร้าว ขี้เลื่อย ซางข้าวโพด ให้แขวนอาหารไว้เหนือกองไฟใช้ไฟอ่อนๆเพื่อให้รมควันอาหารไปพร้อมกับไอร้อนจะช่วยทาให้อาหารแห้งเร็ว เช่น รมควันปลา เป็นต้น รูปที่ 9 การรมควัน
  • 19. 2.3 วิธีการสร้างบล็อกเกอร์ ขั้นตอนที่ 1 เข้าไปที่เว็บ http://www.blogger.com จะขึ้นหน้าจอตามรูปตรับ ขั้นตอนที่ 2 จากนั้นทาการสมัคร (สาหรับบุคคลที่ยังไม่มี Gmail ) ถ้ามีแล้วให้ล๊อกอินได้เลยครับ ขั้นตอนที่ 3 ให้กรอกข้อมูลตามความเป็นจริงนะครับ
  • 20. ขั้นตอนที่ 4 คลิกที่ปุ่มสร้างบล๊อกใหม่ตามรูปครับ ขั้นตอนที่ 5 พอคลิกแล้วจะขึ้นตามรูปนะครับ จากนั้นให้กรอกข้อมูลลงไปครับ เลือกแม่แบบตามใจชอบได้เลยครับ
  • 21. ขั้นตอนที่ 6 คลิกปุ่มตามรูปเลยครับ ขั้นตอนที่ 7 ใส่ข้อมูลต่างๆเลยครับ ขั้นตอนที่ 8 คลิกปุ่ม "แสดงตัวอย่าง" ถ้าชอบแล้วกดบันทึกได้เลยครับ
  • 22. บทที่ 3 อุปกรณ์ และ วิธีดาเนินงาน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ การถนอมอาหาร(ผักกาด) โดยคณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีการทาและดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ 1.คิดค้นหาหัวข้อโครงงานและนาไปปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา 2.วางแผนขั้นตอนการทาโครงงานและดาเนินงาน 3.ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ที่เกี่ยวกับโครงงาน 4.เริ่มลงมือปฏิบัติตามแบบแผนที่กาหนดไว้ 5.จัดทาโครงงานบล็อกเพื่อการเรียนรู้เรื่องการถนอมอาหาร(ผักกาด) 6.เผยแพร่ข้อมูลและบล็อกสู่สาธารณะ บนเครือข่ายระบบอินเตอร์เน็ต 7.สรุปและ ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน 3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.ศึกษาเรื่องการถนอมอาหารและความหมายของมัน 2.ศึกษาเรื่องวิธีการถนอมอาหารของแต่ละวิธี 3.ศึกษาเรื่อง การทาบล็อกเกอร์ เพื่อทาสื่อที่จะไปพัฒนาโครงงาน 3.3 วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 2.ซอฟต์แวร์ - Microsoft word -Adobe photoshop -ผัดกาดและอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเป็นภาชนะ
  • 23. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาสื่อการศึกษา สร้างเว็บไซต์ การถนอมอาหาร(ผักกาด) เนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร วิธีการถนอมอาหารในรูปแบบต่างๆ และประโยชน์ของการถนอมอาหาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการถนอมอาหาร ซึ่งมีผลการดาเนินโครงงานดังนี้ 4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนและแบบแผนที่ได้วางไว้ และได้ทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ การถนอมอาหาร บนระบบอินเตอร์เน็ตโดยการสร้างเว็บไซต์ด้วยBloggerและใช้ซอฟต์แวร์อื่นๆ เพื่อช่วยเพิ่มความน่าสนใจ โดยเว็บไซต์นั้นสามารถที่จะเข้าไปศึกษาค้นคว้าได้ทุกที่ ทุกเวลาและ รวดเร็ว 4.2 ตัวอย่างผลงาน ตัวอย่างเว็บบล็อก http://lettucevegetable.blogspot.com รูปที่ 10 ตัวอย่างเว็บบล็อก
  • 24.
  • 25. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน และ ข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ การถนอมอาหาร(ผักกาด)สามารถาสรุปผลการดาเนินโครงงานและได้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.เพื่อแปรรูปผักกาดให้มีมูลค่ามากขึ้น และลดปริมาณผักกาดในท้องตลาด 2.อาจนาไปต่อยอดเป็นธุรกิจทางการค้าได้ 5.1.2วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 2.ซอฟต์แวร์ - Microsoft word -Adobe photoshop -ผัดกาดและอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเป็นภาชนะ 5.2 สรุปผลการดาเนินโครงงาน การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้คือ เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สนใจเกี่ยวกับวิธีการถนอมผัดกาดในวิธีต่างๆโครงงานนี้จัดทาขึ้น เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารแต่ละวิธี ทาให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าใจได้ง่ายมากขึ้น เล็งเห็นถึงความสาคัญของวิธีการถนอมอาหารที่ทาอย่างไรที่จะยืนอายุของอาหารได้ โครงงานนี้จึงเป็นโครงงานที่มีประโยชน์ และเป็นการนาผักกาดที่เยอะจนล้นตลาดมาแปรรูปและเป็นการยืนอายุของผักกาดและทาให้เกิดประโยชน์มา กขึ้น 5.3 ข้อเสนอแนะ