SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน Let The World Go Green
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว กิตติกานต์ อ่อนพุ่ม เลขที่ 49 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว กิตติกานต์ อ่อนพุ่ม เลขที่ 49
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โลกสวยด้วยมือเรา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Let The World Go Green
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ และรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กิตติกานต์ อ่อนพุ่ม
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากสถานการณ์ของการทาลายป่าไม้อย่างต่อเนื่องในอดีตในหลายพื้นที่ทั่วประเทศไทย ซึ่งการ
ทาลายป่านั้นทาให้ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว ทาให้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อทางธรรมชาติ และวิถีชีวิตของประชาชน
โดยเฉพาะชาวเกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา ซึ่งเป็นประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นภัยพิบัติต่างๆ เช่น ปัญหา
น้าท่วม น้าป่าไหลหลาก ฝนแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล เป็นต้น รวมทั้งการบุกรุกพื้นที่ป่าในหลายพื้นที่ เป็นเงื่อนไขของ
ความขัดแย้งในสังคม ระหว่างกลุ่มผู้บุกรุกและเจ้าหน้าที่ของรัฐอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหากปัญหาต่าง ๆนั้น ไม่ได้รับการ
แก้ไข ความขัดแย้งอาจจะพัฒนาไปสู่ความแตกแยกของคนในชาติได้ ทาให้ไม่เกิดความเป็นสันติภาพรวมทั้งความ
สมดุลของสภาวะแวดล้อม อันเนื่องมาจากการทาลายป่าไม้อย่างไม่หยุดยั้ง การทาลายป่าและการเสื่อมสภาพของป่า
เป็นทั้งสาเหตุของและผลกระทบของภาวะโลกร้อน ต้นไม้ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และใช้มันเพื่อเจริญเติบโต แต่
เมื่อต้นไม้เหี่ยวตายไปหรือถูกเผา คาร์บอนไดออกไซด์ก็ถูกปล่อยออกมาอีกครั้ง นอกจากนี้ต้นไม้ที่กาลังย่อยสลายยัง
ผลิตก๊าซมีเทน ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีผลกระทบรุนแรงกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ เราควรจะแก้ปัญหาด้วยวิธีการ
อื่น ๆ ด้วย เช่น การประหยัดพลังงาน การปลูกต้นไม้ การลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จะเห็นได้ว่า
ประชาคมโลกได้เริ่มเห็นความสาคัญของปัญหาและเริ่มหาทางแก้ไข ทว่าปัญหานี้เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบถึงกันทั่ว
โลก ดังนั้นประเทศต่าง ๆ จะต้องร่วมมือกันและช่วยเหลือกัน ประเทศที่ร่ารวยควรช่วยเหลือประเทศที่ยากจน
ประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีควรนาเทคโนโลยีของตนไปเผยแพร่ให้กับประเทศที่กาลังพัฒนา มีการจัดเก็บ
ภาษีเพื่อนาไปปลูกป่า เนื่องจากบางประเทศมีเงินแต่ไม่มีพื้นที่ ในขณะที่อีกประเทศมีพื้นที่แต่ไม่มีเงิน นอกจากนี้ เรา
ยังควรค่อย ๆ ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต จากการดาเนินชีวิตอย่างบริโภคนิยม พยายามที่จะตอบสนองความต้องการของ
ตนเองในทุก ๆ เรื่อง สภาพปัญหาดังกล่าว ผู้จัดทาโครงงานนี้จึงมีความสนใจที่จะศึกษา เรื่อง การทาลายป่าไม้ ซึ่งผล
3
การศึกษาครั้งนี้จะเป็นข้อมูลในการแก้ไขปัญหาเรื่องการทาลายป่าไม้อันจะส่งผลให้เกิดผลกระทบหลายๆอย่าง
เกี่ยวกับโลกของเรา เช่น สภาวะโลกร้อน น้าป่าไหลหลาก น้าท่วม
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อหาทางแก้ไขปัญหาการทาลายป่าไม้
2. เพื่อรณรงค์เรื่องการปลูกต้นไม้ทดแทนป่าที่สูญเสียไป
3. เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของการทาลายป่าไม้
4. เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบจากการทาลายป่าไม้
5. เพื่อให้ทุกคนมีจิตสานึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ศึกษาสาเหตุการตัดไม้ทาลายป่า
2. ศึกษาผลกระทบที่ได้รับจากการตัดไม้ทาลายป่า
3. ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการทาลายป่าไม้
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การทาลายป่า คือ สภาวะของป่าตามธรรมชาติที่ถูกทาลายโดยการตัดไม้และการเผาป่า เกิดขึ้นได้จากหลาย
สาเหตุ เช่น การนาต้นไม้และถ่านไม้มาใช้หรือจาหน่ายเป็นโภคภัณฑ์ ในระหว่างที่ทาการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก และตั้ง
ถิ่นฐาน บนพื้นที่ว่าง การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจานวนที่เพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย ต่อ
ความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใน
บรรยากาศโดยพืช พื้นที่ป่าที่ถูกทาลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจากการพังทลายของหน้าดิน และพื้นที่มักด้อย
คุณภาพลงจนกลายเป็นที่ดินที่ทาประโยชน์มิได้ และ ไม่มีรากไม้ที่ใช้ยึดหน้าดิน
สาเหตุของการสูญเสียทรัพยากรป่าไม้
1. การทาไม้ ความต้องการไม้เพื่อทากิจการต่าง ๆ เช่น ทาอุตสาหกรรม โรงเลื่อย โรงงานกระดาษ สร้าง
ที่อยู่อาศัยหรือร้านค้า ทาให้ต้นไม้ถูกลอบตัดหรือตัดไม้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย
2. การเพิ่มจานวนประชากรของประเทศ ทาให้ความต้องการจากภาคเกษตรกรรมมากขึ้น ความจาเป็นที่
ต้องการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น พื้นที่ป่าไม้ในเขตภูเขาจึงเป็นเป้าหมายของการขยายพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก
3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มันสาปะหลัง ปอ ฯลฯ โดยไม่
ส่งเสริมการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้ง ๆ ที่พื้นที่ป่าบางแห่งไม่เหมาะที่จะนามาใช้ในการเกษตรกรรมเพาะปลูก
4.การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่า กระทาไม่ชัดเจนหรือไม่กระทาเลยในหลายๆ ป่า ทาให้ราษฎรเกิดความ
สับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา
4
5.การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ อาทิ เขื่อน อ่างเก็บน้า เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลาน้า
จะทาให้พื้นที่เก็บน้าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถูกตัดโค่นมาใช้ประโยชน์ ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรือที่ทาการย้ายออกมา
ไม่ทันจะถูกน้าท่วมตาย
6.ไฟไหม้ป่า ประเทศไทยมักเกิดไฟไหม้ป่าในฤดูร้อนเป็นประจาทุกปี เพราะในฤดูร้อนพวกวัชพืชในป่า
หรือจากการผลัดใบของต้นไม้ ใบไม้จะแห้งแล้งและติดไฟง่าย
7.การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบในบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องเปิดหน้าดินก่อน
จึงทาให้ป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง
8.การทาลายของสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง
9.การทาลายของเชื้อโรคและแมลง ต้นไม้ในป่าเป็นจานวนมากที่ถูกทาลายโดยเชื้อโรคและแมลง จะเกิด
การเหี่ยวเฉาแคระแกร็นไม่เจริญเติบโต บางชนิดต้องสูญพันธุ์
10.ความตระหนักและความร่วมมือของประชาชนต่อการอนุรักษ์ยังมีน้อย
รูปแบบการทาลายป่าที่สาคัญ
1. การทาไร่เลื่อนลอย - ชาวเขาแผ้วถางป่าเพื่อปลูกพืชไร่อยู่ตามภูเขาสูง โดยเฉพาะป่าดงดิบเขาบริเวณต้นน้า
ลาธาร
2. การบุกรุกป่าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ –พบได้ทั่วไปในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค
ตะวันออก มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไม้อันอุดมมาเป็นไร่ข้าวโพด มันสาปะหลัง หรือปอ เป็นการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมที่รุนแรงและมีอยู่กว้างขวางมากทั้งในสามภาคของประเทศไทย
3. การบุกรุกป่าเพื่อเข้าไปตั้งถิ่นฐานใหม่ – การทาลายป่าในรูปลักษณะนี้มองได้ชัดเจนจากการจัดที่ดินทากิน
ของนิคมต่างๆ เช่นนิคมสหกรณ์ที่ดิน นิคมชาวเขา ฯลฯ นอกจากนี้ ในภาคเหนือ มีพื้นที่ราบค่อนข้างจากัด
เมื่อประชากรเพิ่มขึ้น จึงมีการขยายพื้นที่ทามาหากินจากที่ราบขึ้นไปบนเขา
4. ไฟป่า – มีผลทาลายเศษไม้ ใบไม้ ลูกไม้ เมล็ดไม้ สัตว์และแมลง กระทั่งต้นไม้ในป่าไปพร้อมกัน ทาให้ผิวดิน
ในป่าที่ถูกไฟไหม้แข็ง ขาดคุณภาพในการดูดซึมและซับน้า จึงทาให้เกิดน้าไหลบ่าหน้าดิน (surface runoff)
มากเมื่อฝนตก เมื่อน้าไหลบ่าหน้าดินมาก น้าฝนที่ตกลงมาจะท่วมท้นฝั่งลาห้วย นอกจากนี้ยังทาให้เกิดการ
กัดเซาะตามลาน้า ทาให้น้าขุ่น ผิวหน้าดินบริเวณเดิมก็จะขาดความโอชะไป น้าพัดพาเอาตะกอนไปท่วมไร่นา
พืชผลเสียหาย เป็นการเพิ่มความเสียหายแก่ทรัพย์สินและพืชผลเป็นทวีคูณ
5. การทาไม้ออกเกินกาลังของป่า
6. การทาเหมืองเปิด (Strip Mining) – การทาลายป่ารูปแบบนี้นับว่าร้ายแรงมาก มีการเปิดหน้าดินออกเพื่อขุด
หาแร่ เมื่อพื้นดินปราศจากสิ่งปกคลุม ฝนตกลงมากระทบกับพื้นดินโดยตรง ไม่มีต้นไม้ที่จะสกัดหรือสิ่งปก
คลุมดินที่จะซับหรือดูดซึมน้าเอาไว้ ทาให้เกิดน้าไหลบ่าหน้าดินมาก และมีการกัดเซาะที่รุนแรงตามลาห้วย
ลาธาร หรือบริเวณใกล้เคียงที่ท่วมท้นถึง มีความขุ่นทาความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ไร่นา และนาความ
เดือดร้อนมาสู่ผู้บริโภคอย่างเห็นได้ชัด
การแก้ไขปัญหาป่าไม้
1. การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการที่ชาวเขาทาลายป่า และต้นน้าลาธาร อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจสังคม
และการเมืองนี้ มีหน่วยราชการหลายหน่วยดาเนินการอยู่ คือ กรมป่าไม้ ปลูกสร้างสวนป่าในบริเวณที่ป่าถูกทาลาย
5
กรมประชาสงเคราะห์ได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาในเขตท้องที่จังหวัดที่มีชาวเขาอยู่หนาแน่น จานวน
11 แห่ง เพื่อเป็นศูนย์กลางจัดส่งหน่วยชาวเขาเคลื่อนที่ออกไปพัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา โครงการพระธรรมจาริก
กรมพัฒนาที่ดิน โดยสานักงานที่ดินเขต 6 เชียงใหม่ ดาเนินการสารวจดิน พัฒนาที่ดิน อนุรักษ์ดิน และน้า ในที่ดินที่
จัดให้ชาวเขา และชาวไทยในที่ราบ กรมส่งเสริมการเกษตร และมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ส่งเสริมให้ชาวเขานาพืชเมือง
หนาวที่มีราคามาปลูกทดแทนขึ้น ที่สาคัญก็คือ โครงการพัฒนาต้นน้า หรือแผนไร่นาป่าผสมตามพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งปัจจุบันมีอยู่ถึง 71 โครงการ ถ้าหากโครงการต่างๆ ได้รับการสนับสนุนในด้าน
งบประมาณ และความร่วมมือจากชาวเขาเป็นอย่างดี ก็จะสามารถแก้ไขได้ แต่ต้องใช้ระยะเวลาที่ยาวนานอยู่บ้าง
2. การแก้ไขปัญหาป่าไม้ในที่ราบ หรือที่เนินซึ่งถูกทาลาย เพื่อทาไร่พืชผลเศรษฐกิจ จนป่าเสื่อมโทรมลงนั้น
กองจัดที่ดินป่าสงวนแห่งชาติ กรมป่าไม้ก็ดาเนินการสอบสวนสิทธิของราษฎรในเขตป่าสงวนแห่งชาติ จัดที่ดินป่าสงวน
ที่เสื่อมโทรมให้ราษฎรได้เข้าอยู่อาศัยในรูปหมู่บ้านป่าไม้ เพื่อให้มีที่ทากิน และได้แรงงานปลูกป่าขึ้นทดแทนป่าไม้ที่
เสื่อมโทรม ปรากฏว่า ได้มีเกษตรกรหลายรายขออนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในป่าสงวนที่เสื่อมโทรม เพื่อปลูกป่า และทา
กสิกรรมไปด้วย
3. ปัญหาการลักตัดไม้ เพื่อทาฟืน เผาถ่าน และทาไม้ออกป้อนความต้องการของโรงเลื่อย และเป็นสินค้านั้น
กรมป่าไม้ก็ได้แก้ไขโดยปรังปรุงการอนุญาตแบบรายย่อย หรือผูกขาดไปเป็นสัมปทานระยะยาวทั้งป่าเลน และป่าบก
มีบริษัททาไม้จังหวัด ที่เป็นผู้รับอนุญาตก็ได้ป้องกันรักษา และปลูกป่าให้ด้วย ทั้งยังได้นาเงินผลกาไรประมาณร้อยละ
10-15 บารุงสาธารณูปโภคท้องที่ที่ป่านั้นๆ ตั้งอยู่ นับว่าได้ผลดีพอสมควร
นอกจากนี้กรมป่าไม้ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ บริษัททาไม้จังหวัด ฯลฯ ได้ปลูกสวนป่าตั้งแต่ต้นจนถึงปี
2562 ได้ประมาณ 3 ล้านไร่ โครงการป่าชุมชนที่ส่งเสริมให้ราษฎรและชาวไร่ ปลูกป่าในที่รกร้างว่าเปล่าหรือที่หัวไร่
ปลายนา เมื่อดาเนินการเต็มรูปแล้ว ปัญหาเรื่องการขาดแคลนไม้ ไม้ฟืน และไม้ใช้สอยก็จะบรรเทาเบาบางลงได้
วิธีอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
1. การกาหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาติ นโยบายป่าไม้แห่งชาติ มีอยู่ 20 ข้อที่สาคัญ คือ การกาหนดให้มีพื้นที่
ป่าไม้ทั่วประเทศอย่างน้อยในอัตราร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เป็นการกาหนดแนวทางการจัดการและ การพัฒนา
ป่าไม้ในระยะยาว
2. การปลูกป่า เป็น การดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ป่าไม้อย่างหนึ่ง เมื่อป่าไม้ในพื้นที่ถูกตัดฟันลงไม่ว่ากรณีใด
ก็ตาม
นโยบายการรักษาป่าไม้จะกาหนดให้มีการปลูกป่าขึ้นทดแทนและส่งเสริมให้มีการ ปลูกสร้างสวนป่าทุกรูปแบบ
3. การป้องกันไฟไหม้ป่า ไฟไหม้ป่าถือว่าเป็นอันตรายร้ายแรงที่เกิดขึ้นกับป่าไม้การฟื้นฟูกระทาได้ ยากมาก
ไฟไหม้ป่าเกิดจากการกระทาของมนุษย์ จากความประมาทเลินเล่อ ทาให้ต้นไม้บางส่วนอาจตาย บางส่วนอาจชะงัก
การเจริญเติบโต และบางแห่งอาจตายหมด หากเกิดซ้าแล้วซ้าเล่าจนพืชหมดโอกาสแพร่พันธุ์ได้
4. การป้องกันการบุกรุกทาลายป่า การบุกรุกการทาลายป่าไม้ในปัจจุบัน จะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น การ
ป้องกันทาได้โดย การทาหลักเขตป้ายหรือเครื่องหมายให้ชัดเจนเพื่อบอกให้รู้ว่า เป็นเขตป่าประเภทใด การแก้ปัญหานี้
สาคัญที่สุดอยู่ที่ การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็นไปด้วยความเที่ยงตรง เอาจริงเอาจัง และมีความซื่อสัตย์ต่อ
อาชีพและหน้าที่ปฏิบัติตามตัวบทกฎหมายและพระราชบัญญัติป่าไม้อย่าง เคร่งครัด
6
5. การใช้วัสดุทดแทนไม้ ในการก่อสร้างต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบ้านเรือน หรือสิ่งก่อสร้างอื่นที่เคยใช้ไม้ดั้งเดิม
เช่น การสร้างสะพานเพื่อทดแทนสะพานเก่าที่ชารุด ควรจะใช้เหล็กทาสะพานให้รถวิ่งชั่วคราว ก่อนจะมีสะพานใหม่ที่
ถาวรและสร้างได้ด้วยวัสดุอื่นแทนไม้
6. การใช้ไม้อย่างมีประสิทธิภาพ / ประหยัด เป็น การนาเนื้อไม้มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด โดยใช้ทุกส่วน
ของต้นเช่น ไม้ที่เหลือจากการแปรรูป นามาใช้เป็นวัสดุก่อสร้างแล้วสามารถนา ไปเป็นวัตถุดิบทาไม้อัด ไม้ปาร์เก้ชิ้นไม้
สับ (Chip board) ไม้ประสาน (Particle board) ทาเครื่อง
ใช้ขนาดเล็ก เช่น แจกัน ที่เขี่ยบุหรี่ ของชาร่วย เป็นต้น ส่วนไม้ที่นามาแปรรูปเพื่อใช้ในการก่อสร้างหรือเพื่อการอื่น
ควรปรับปรุง คุณภาพไม้ ก่อนนามาใช้ประโยชน์ เช่น การอาบน้ายาไม้อบให้แห้งเพื่อยึดอายุการใช้งานให้ยาวนาน
ออกไป
7. การพยายามนาไม้ที่ไม่เคยใช้ประโยชน์มาใช้ ไม้ที่ไม่เคยนามาใช้ประโยชน์มาก่อน เช่น ไม้มะพร้าว ต้นตาล
ไม้ยางพารา นามาทาเครื่องใช้ในครัวเรือนได้หลายชนิด อาทิ ตู้ เตียง โต๊ะ ก่อนนามาใช้ประโยชน์ ควรปรับปรุง
คุณภาพไม้ก่อน
8. ส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ ให้การศึกษา ให้เยาวชนและประชาชนได้ตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้ สร้าง
จิตสานึกในการอนุรักษ์ และช่วยกันดูแลในการรักษาทรัพยากรป่าไม้ เหมือนกับที่เรารักษาและหวงแหนสิ่งของที่เป็น
สมบัติของเราเอง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่างๆ
3. ทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา
4. ลงมือทาโครงงาน
5. ตรวจสอบผลและแก้ไขข้อผิดพลาดของโครงงาน
6. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. ข้อมูลเอกสาร แหล่งอ้างอิงจากเว็บไซต์
3. Power Point
4. Internet
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่ายสาหรับทาโครงงาน
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน กิตติกานต์
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
กิตติกานต์
3 จัดทาโครงร่างงาน กิตติกานต์
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
กิตติกานต์
5 ปรับปรุงทดสอบ กิตติกานต์
6 การทา
เอกสารรายงาน
กิตติกานต์
7 ประเมินผลงาน กิตติกานต์
8 นาเสนอโครงงาน กิตติกานต์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้คนได้ทราบถึงสาเหตุของการทาลายป่าไม้ที่แท้จริง
2. ผู้คนได้ตระหนักถึงผลกระทบจากการทาลายป่าไม้
3. ผู้คนมีจิตสานึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและวัฒนธรรม ( สาระภูมิศาสตร์ )
8
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ.(2559).การแก้ไขปัญหาป่าไม้ [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก:
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&cha (วันที่สืบค้นข้อมูล 28 กันยายน 2562).
อรุณีย์ วงษ์ศรีปาน.(2551).สาเหตุของการสูญเสียทรัพยากรป่าไม้ [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก:
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/arunee_w/cheevit/sec05p03.h
tml (วันที่สืบค้นข้อมูล 28 กันยายน 2562).
Wikipedia.(2560).รูปแบบการทาลายป่าที่สาคัญ [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก:
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0
%B8%A5%E0%B8%B2%E0% (วันที่สืบค้นข้อมูล 30 กันยายน 2562).
ราตรี ภารา.(2550).วิธีอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก:
https://sites.google.com/site/pitchathak78/kar-xnuraks-sing-waedlxm/withi-xnuraks-thraphyakr-pa-
mi (วันที่สืบค้นข้อมูล 30 กันยายน 2562).

More Related Content

Similar to at 1

โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
Scott Tape
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kansiri Sai-ud
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
beller47131
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
jokercoke
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
KuNg Pw
 

Similar to at 1 (20)

โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectf
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectf
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
Jame
JameJame
Jame
 
Jame
JameJame
Jame
 
งานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอมงานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอม
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Save wolrd , save energy com58 - project
Save wolrd , save energy   com58 - projectSave wolrd , save energy   com58 - project
Save wolrd , save energy com58 - project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

at 1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน Let The World Go Green ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว กิตติกานต์ อ่อนพุ่ม เลขที่ 49 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว กิตติกานต์ อ่อนพุ่ม เลขที่ 49 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โลกสวยด้วยมือเรา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Let The World Go Green ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ และรวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว กิตติกานต์ อ่อนพุ่ม ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากสถานการณ์ของการทาลายป่าไม้อย่างต่อเนื่องในอดีตในหลายพื้นที่ทั่วประเทศไทย ซึ่งการ ทาลายป่านั้นทาให้ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว ทาให้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อทางธรรมชาติ และวิถีชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะชาวเกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา ซึ่งเป็นประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นภัยพิบัติต่างๆ เช่น ปัญหา น้าท่วม น้าป่าไหลหลาก ฝนแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล เป็นต้น รวมทั้งการบุกรุกพื้นที่ป่าในหลายพื้นที่ เป็นเงื่อนไขของ ความขัดแย้งในสังคม ระหว่างกลุ่มผู้บุกรุกและเจ้าหน้าที่ของรัฐอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหากปัญหาต่าง ๆนั้น ไม่ได้รับการ แก้ไข ความขัดแย้งอาจจะพัฒนาไปสู่ความแตกแยกของคนในชาติได้ ทาให้ไม่เกิดความเป็นสันติภาพรวมทั้งความ สมดุลของสภาวะแวดล้อม อันเนื่องมาจากการทาลายป่าไม้อย่างไม่หยุดยั้ง การทาลายป่าและการเสื่อมสภาพของป่า เป็นทั้งสาเหตุของและผลกระทบของภาวะโลกร้อน ต้นไม้ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และใช้มันเพื่อเจริญเติบโต แต่ เมื่อต้นไม้เหี่ยวตายไปหรือถูกเผา คาร์บอนไดออกไซด์ก็ถูกปล่อยออกมาอีกครั้ง นอกจากนี้ต้นไม้ที่กาลังย่อยสลายยัง ผลิตก๊าซมีเทน ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีผลกระทบรุนแรงกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ เราควรจะแก้ปัญหาด้วยวิธีการ อื่น ๆ ด้วย เช่น การประหยัดพลังงาน การปลูกต้นไม้ การลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จะเห็นได้ว่า ประชาคมโลกได้เริ่มเห็นความสาคัญของปัญหาและเริ่มหาทางแก้ไข ทว่าปัญหานี้เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบถึงกันทั่ว โลก ดังนั้นประเทศต่าง ๆ จะต้องร่วมมือกันและช่วยเหลือกัน ประเทศที่ร่ารวยควรช่วยเหลือประเทศที่ยากจน ประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีควรนาเทคโนโลยีของตนไปเผยแพร่ให้กับประเทศที่กาลังพัฒนา มีการจัดเก็บ ภาษีเพื่อนาไปปลูกป่า เนื่องจากบางประเทศมีเงินแต่ไม่มีพื้นที่ ในขณะที่อีกประเทศมีพื้นที่แต่ไม่มีเงิน นอกจากนี้ เรา ยังควรค่อย ๆ ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต จากการดาเนินชีวิตอย่างบริโภคนิยม พยายามที่จะตอบสนองความต้องการของ ตนเองในทุก ๆ เรื่อง สภาพปัญหาดังกล่าว ผู้จัดทาโครงงานนี้จึงมีความสนใจที่จะศึกษา เรื่อง การทาลายป่าไม้ ซึ่งผล
  • 3. 3 การศึกษาครั้งนี้จะเป็นข้อมูลในการแก้ไขปัญหาเรื่องการทาลายป่าไม้อันจะส่งผลให้เกิดผลกระทบหลายๆอย่าง เกี่ยวกับโลกของเรา เช่น สภาวะโลกร้อน น้าป่าไหลหลาก น้าท่วม วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อหาทางแก้ไขปัญหาการทาลายป่าไม้ 2. เพื่อรณรงค์เรื่องการปลูกต้นไม้ทดแทนป่าที่สูญเสียไป 3. เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุของการทาลายป่าไม้ 4. เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบจากการทาลายป่าไม้ 5. เพื่อให้ทุกคนมีจิตสานึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ศึกษาสาเหตุการตัดไม้ทาลายป่า 2. ศึกษาผลกระทบที่ได้รับจากการตัดไม้ทาลายป่า 3. ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการทาลายป่าไม้ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การทาลายป่า คือ สภาวะของป่าตามธรรมชาติที่ถูกทาลายโดยการตัดไม้และการเผาป่า เกิดขึ้นได้จากหลาย สาเหตุ เช่น การนาต้นไม้และถ่านไม้มาใช้หรือจาหน่ายเป็นโภคภัณฑ์ ในระหว่างที่ทาการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก และตั้ง ถิ่นฐาน บนพื้นที่ว่าง การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจานวนที่เพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย ต่อ ความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใน บรรยากาศโดยพืช พื้นที่ป่าที่ถูกทาลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจากการพังทลายของหน้าดิน และพื้นที่มักด้อย คุณภาพลงจนกลายเป็นที่ดินที่ทาประโยชน์มิได้ และ ไม่มีรากไม้ที่ใช้ยึดหน้าดิน สาเหตุของการสูญเสียทรัพยากรป่าไม้ 1. การทาไม้ ความต้องการไม้เพื่อทากิจการต่าง ๆ เช่น ทาอุตสาหกรรม โรงเลื่อย โรงงานกระดาษ สร้าง ที่อยู่อาศัยหรือร้านค้า ทาให้ต้นไม้ถูกลอบตัดหรือตัดไม้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย 2. การเพิ่มจานวนประชากรของประเทศ ทาให้ความต้องการจากภาคเกษตรกรรมมากขึ้น ความจาเป็นที่ ต้องการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น พื้นที่ป่าไม้ในเขตภูเขาจึงเป็นเป้าหมายของการขยายพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก 3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มันสาปะหลัง ปอ ฯลฯ โดยไม่ ส่งเสริมการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้ง ๆ ที่พื้นที่ป่าบางแห่งไม่เหมาะที่จะนามาใช้ในการเกษตรกรรมเพาะปลูก 4.การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่า กระทาไม่ชัดเจนหรือไม่กระทาเลยในหลายๆ ป่า ทาให้ราษฎรเกิดความ สับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา
  • 4. 4 5.การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ อาทิ เขื่อน อ่างเก็บน้า เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลาน้า จะทาให้พื้นที่เก็บน้าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถูกตัดโค่นมาใช้ประโยชน์ ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรือที่ทาการย้ายออกมา ไม่ทันจะถูกน้าท่วมตาย 6.ไฟไหม้ป่า ประเทศไทยมักเกิดไฟไหม้ป่าในฤดูร้อนเป็นประจาทุกปี เพราะในฤดูร้อนพวกวัชพืชในป่า หรือจากการผลัดใบของต้นไม้ ใบไม้จะแห้งแล้งและติดไฟง่าย 7.การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบในบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องเปิดหน้าดินก่อน จึงทาให้ป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง 8.การทาลายของสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง 9.การทาลายของเชื้อโรคและแมลง ต้นไม้ในป่าเป็นจานวนมากที่ถูกทาลายโดยเชื้อโรคและแมลง จะเกิด การเหี่ยวเฉาแคระแกร็นไม่เจริญเติบโต บางชนิดต้องสูญพันธุ์ 10.ความตระหนักและความร่วมมือของประชาชนต่อการอนุรักษ์ยังมีน้อย รูปแบบการทาลายป่าที่สาคัญ 1. การทาไร่เลื่อนลอย - ชาวเขาแผ้วถางป่าเพื่อปลูกพืชไร่อยู่ตามภูเขาสูง โดยเฉพาะป่าดงดิบเขาบริเวณต้นน้า ลาธาร 2. การบุกรุกป่าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ –พบได้ทั่วไปในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค ตะวันออก มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไม้อันอุดมมาเป็นไร่ข้าวโพด มันสาปะหลัง หรือปอ เป็นการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมที่รุนแรงและมีอยู่กว้างขวางมากทั้งในสามภาคของประเทศไทย 3. การบุกรุกป่าเพื่อเข้าไปตั้งถิ่นฐานใหม่ – การทาลายป่าในรูปลักษณะนี้มองได้ชัดเจนจากการจัดที่ดินทากิน ของนิคมต่างๆ เช่นนิคมสหกรณ์ที่ดิน นิคมชาวเขา ฯลฯ นอกจากนี้ ในภาคเหนือ มีพื้นที่ราบค่อนข้างจากัด เมื่อประชากรเพิ่มขึ้น จึงมีการขยายพื้นที่ทามาหากินจากที่ราบขึ้นไปบนเขา 4. ไฟป่า – มีผลทาลายเศษไม้ ใบไม้ ลูกไม้ เมล็ดไม้ สัตว์และแมลง กระทั่งต้นไม้ในป่าไปพร้อมกัน ทาให้ผิวดิน ในป่าที่ถูกไฟไหม้แข็ง ขาดคุณภาพในการดูดซึมและซับน้า จึงทาให้เกิดน้าไหลบ่าหน้าดิน (surface runoff) มากเมื่อฝนตก เมื่อน้าไหลบ่าหน้าดินมาก น้าฝนที่ตกลงมาจะท่วมท้นฝั่งลาห้วย นอกจากนี้ยังทาให้เกิดการ กัดเซาะตามลาน้า ทาให้น้าขุ่น ผิวหน้าดินบริเวณเดิมก็จะขาดความโอชะไป น้าพัดพาเอาตะกอนไปท่วมไร่นา พืชผลเสียหาย เป็นการเพิ่มความเสียหายแก่ทรัพย์สินและพืชผลเป็นทวีคูณ 5. การทาไม้ออกเกินกาลังของป่า 6. การทาเหมืองเปิด (Strip Mining) – การทาลายป่ารูปแบบนี้นับว่าร้ายแรงมาก มีการเปิดหน้าดินออกเพื่อขุด หาแร่ เมื่อพื้นดินปราศจากสิ่งปกคลุม ฝนตกลงมากระทบกับพื้นดินโดยตรง ไม่มีต้นไม้ที่จะสกัดหรือสิ่งปก คลุมดินที่จะซับหรือดูดซึมน้าเอาไว้ ทาให้เกิดน้าไหลบ่าหน้าดินมาก และมีการกัดเซาะที่รุนแรงตามลาห้วย ลาธาร หรือบริเวณใกล้เคียงที่ท่วมท้นถึง มีความขุ่นทาความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ไร่นา และนาความ เดือดร้อนมาสู่ผู้บริโภคอย่างเห็นได้ชัด การแก้ไขปัญหาป่าไม้ 1. การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการที่ชาวเขาทาลายป่า และต้นน้าลาธาร อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจสังคม และการเมืองนี้ มีหน่วยราชการหลายหน่วยดาเนินการอยู่ คือ กรมป่าไม้ ปลูกสร้างสวนป่าในบริเวณที่ป่าถูกทาลาย
  • 5. 5 กรมประชาสงเคราะห์ได้จัดตั้งศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาในเขตท้องที่จังหวัดที่มีชาวเขาอยู่หนาแน่น จานวน 11 แห่ง เพื่อเป็นศูนย์กลางจัดส่งหน่วยชาวเขาเคลื่อนที่ออกไปพัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา โครงการพระธรรมจาริก กรมพัฒนาที่ดิน โดยสานักงานที่ดินเขต 6 เชียงใหม่ ดาเนินการสารวจดิน พัฒนาที่ดิน อนุรักษ์ดิน และน้า ในที่ดินที่ จัดให้ชาวเขา และชาวไทยในที่ราบ กรมส่งเสริมการเกษตร และมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ส่งเสริมให้ชาวเขานาพืชเมือง หนาวที่มีราคามาปลูกทดแทนขึ้น ที่สาคัญก็คือ โครงการพัฒนาต้นน้า หรือแผนไร่นาป่าผสมตามพระราชดาริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งปัจจุบันมีอยู่ถึง 71 โครงการ ถ้าหากโครงการต่างๆ ได้รับการสนับสนุนในด้าน งบประมาณ และความร่วมมือจากชาวเขาเป็นอย่างดี ก็จะสามารถแก้ไขได้ แต่ต้องใช้ระยะเวลาที่ยาวนานอยู่บ้าง 2. การแก้ไขปัญหาป่าไม้ในที่ราบ หรือที่เนินซึ่งถูกทาลาย เพื่อทาไร่พืชผลเศรษฐกิจ จนป่าเสื่อมโทรมลงนั้น กองจัดที่ดินป่าสงวนแห่งชาติ กรมป่าไม้ก็ดาเนินการสอบสวนสิทธิของราษฎรในเขตป่าสงวนแห่งชาติ จัดที่ดินป่าสงวน ที่เสื่อมโทรมให้ราษฎรได้เข้าอยู่อาศัยในรูปหมู่บ้านป่าไม้ เพื่อให้มีที่ทากิน และได้แรงงานปลูกป่าขึ้นทดแทนป่าไม้ที่ เสื่อมโทรม ปรากฏว่า ได้มีเกษตรกรหลายรายขออนุญาตเข้าใช้ประโยชน์ในป่าสงวนที่เสื่อมโทรม เพื่อปลูกป่า และทา กสิกรรมไปด้วย 3. ปัญหาการลักตัดไม้ เพื่อทาฟืน เผาถ่าน และทาไม้ออกป้อนความต้องการของโรงเลื่อย และเป็นสินค้านั้น กรมป่าไม้ก็ได้แก้ไขโดยปรังปรุงการอนุญาตแบบรายย่อย หรือผูกขาดไปเป็นสัมปทานระยะยาวทั้งป่าเลน และป่าบก มีบริษัททาไม้จังหวัด ที่เป็นผู้รับอนุญาตก็ได้ป้องกันรักษา และปลูกป่าให้ด้วย ทั้งยังได้นาเงินผลกาไรประมาณร้อยละ 10-15 บารุงสาธารณูปโภคท้องที่ที่ป่านั้นๆ ตั้งอยู่ นับว่าได้ผลดีพอสมควร นอกจากนี้กรมป่าไม้ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ บริษัททาไม้จังหวัด ฯลฯ ได้ปลูกสวนป่าตั้งแต่ต้นจนถึงปี 2562 ได้ประมาณ 3 ล้านไร่ โครงการป่าชุมชนที่ส่งเสริมให้ราษฎรและชาวไร่ ปลูกป่าในที่รกร้างว่าเปล่าหรือที่หัวไร่ ปลายนา เมื่อดาเนินการเต็มรูปแล้ว ปัญหาเรื่องการขาดแคลนไม้ ไม้ฟืน และไม้ใช้สอยก็จะบรรเทาเบาบางลงได้ วิธีอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ 1. การกาหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาติ นโยบายป่าไม้แห่งชาติ มีอยู่ 20 ข้อที่สาคัญ คือ การกาหนดให้มีพื้นที่ ป่าไม้ทั่วประเทศอย่างน้อยในอัตราร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เป็นการกาหนดแนวทางการจัดการและ การพัฒนา ป่าไม้ในระยะยาว 2. การปลูกป่า เป็น การดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ป่าไม้อย่างหนึ่ง เมื่อป่าไม้ในพื้นที่ถูกตัดฟันลงไม่ว่ากรณีใด ก็ตาม นโยบายการรักษาป่าไม้จะกาหนดให้มีการปลูกป่าขึ้นทดแทนและส่งเสริมให้มีการ ปลูกสร้างสวนป่าทุกรูปแบบ 3. การป้องกันไฟไหม้ป่า ไฟไหม้ป่าถือว่าเป็นอันตรายร้ายแรงที่เกิดขึ้นกับป่าไม้การฟื้นฟูกระทาได้ ยากมาก ไฟไหม้ป่าเกิดจากการกระทาของมนุษย์ จากความประมาทเลินเล่อ ทาให้ต้นไม้บางส่วนอาจตาย บางส่วนอาจชะงัก การเจริญเติบโต และบางแห่งอาจตายหมด หากเกิดซ้าแล้วซ้าเล่าจนพืชหมดโอกาสแพร่พันธุ์ได้ 4. การป้องกันการบุกรุกทาลายป่า การบุกรุกการทาลายป่าไม้ในปัจจุบัน จะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น การ ป้องกันทาได้โดย การทาหลักเขตป้ายหรือเครื่องหมายให้ชัดเจนเพื่อบอกให้รู้ว่า เป็นเขตป่าประเภทใด การแก้ปัญหานี้ สาคัญที่สุดอยู่ที่ การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็นไปด้วยความเที่ยงตรง เอาจริงเอาจัง และมีความซื่อสัตย์ต่อ อาชีพและหน้าที่ปฏิบัติตามตัวบทกฎหมายและพระราชบัญญัติป่าไม้อย่าง เคร่งครัด
  • 6. 6 5. การใช้วัสดุทดแทนไม้ ในการก่อสร้างต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบ้านเรือน หรือสิ่งก่อสร้างอื่นที่เคยใช้ไม้ดั้งเดิม เช่น การสร้างสะพานเพื่อทดแทนสะพานเก่าที่ชารุด ควรจะใช้เหล็กทาสะพานให้รถวิ่งชั่วคราว ก่อนจะมีสะพานใหม่ที่ ถาวรและสร้างได้ด้วยวัสดุอื่นแทนไม้ 6. การใช้ไม้อย่างมีประสิทธิภาพ / ประหยัด เป็น การนาเนื้อไม้มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด โดยใช้ทุกส่วน ของต้นเช่น ไม้ที่เหลือจากการแปรรูป นามาใช้เป็นวัสดุก่อสร้างแล้วสามารถนา ไปเป็นวัตถุดิบทาไม้อัด ไม้ปาร์เก้ชิ้นไม้ สับ (Chip board) ไม้ประสาน (Particle board) ทาเครื่อง ใช้ขนาดเล็ก เช่น แจกัน ที่เขี่ยบุหรี่ ของชาร่วย เป็นต้น ส่วนไม้ที่นามาแปรรูปเพื่อใช้ในการก่อสร้างหรือเพื่อการอื่น ควรปรับปรุง คุณภาพไม้ ก่อนนามาใช้ประโยชน์ เช่น การอาบน้ายาไม้อบให้แห้งเพื่อยึดอายุการใช้งานให้ยาวนาน ออกไป 7. การพยายามนาไม้ที่ไม่เคยใช้ประโยชน์มาใช้ ไม้ที่ไม่เคยนามาใช้ประโยชน์มาก่อน เช่น ไม้มะพร้าว ต้นตาล ไม้ยางพารา นามาทาเครื่องใช้ในครัวเรือนได้หลายชนิด อาทิ ตู้ เตียง โต๊ะ ก่อนนามาใช้ประโยชน์ ควรปรับปรุง คุณภาพไม้ก่อน 8. ส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ ให้การศึกษา ให้เยาวชนและประชาชนได้ตระหนักถึงความสาคัญของป่าไม้ สร้าง จิตสานึกในการอนุรักษ์ และช่วยกันดูแลในการรักษาทรัพยากรป่าไม้ เหมือนกับที่เรารักษาและหวงแหนสิ่งของที่เป็น สมบัติของเราเอง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่างๆ 3. ทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา 4. ลงมือทาโครงงาน 5. ตรวจสอบผลและแก้ไขข้อผิดพลาดของโครงงาน 6. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. ข้อมูลเอกสาร แหล่งอ้างอิงจากเว็บไซต์ 3. Power Point 4. Internet งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่ายสาหรับทาโครงงาน
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน กิตติกานต์ 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล กิตติกานต์ 3 จัดทาโครงร่างงาน กิตติกานต์ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน กิตติกานต์ 5 ปรับปรุงทดสอบ กิตติกานต์ 6 การทา เอกสารรายงาน กิตติกานต์ 7 ประเมินผลงาน กิตติกานต์ 8 นาเสนอโครงงาน กิตติกานต์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้คนได้ทราบถึงสาเหตุของการทาลายป่าไม้ที่แท้จริง 2. ผู้คนได้ตระหนักถึงผลกระทบจากการทาลายป่าไม้ 3. ผู้คนมีจิตสานึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและวัฒนธรรม ( สาระภูมิศาสตร์ )
  • 8. 8 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ.(2559).การแก้ไขปัญหาป่าไม้ [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&cha (วันที่สืบค้นข้อมูล 28 กันยายน 2562). อรุณีย์ วงษ์ศรีปาน.(2551).สาเหตุของการสูญเสียทรัพยากรป่าไม้ [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/arunee_w/cheevit/sec05p03.h tml (วันที่สืบค้นข้อมูล 28 กันยายน 2562). Wikipedia.(2560).รูปแบบการทาลายป่าที่สาคัญ [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0 %B8%A5%E0%B8%B2%E0% (วันที่สืบค้นข้อมูล 30 กันยายน 2562). ราตรี ภารา.(2550).วิธีอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก: https://sites.google.com/site/pitchathak78/kar-xnuraks-sing-waedlxm/withi-xnuraks-thraphyakr-pa- mi (วันที่สืบค้นข้อมูล 30 กันยายน 2562).