SlideShare a Scribd company logo
1 of 195
Download to read offline
Free Powerpoint Templates
Page 1
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
(Plant Structure and Function)
รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Free Powerpoint Templates
Page 2
ครูผู้สอน
• นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
– พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
– พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
– พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
– พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
Free Powerpoint Templates
Page 3
Free Powerpoint Templates
Page 4
Free Powerpoint Templates
Page 5
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 6
Free Powerpoint Templates
Page 7
Free Powerpoint Templates
Page 8
Free Powerpoint Templates
Page 9
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 10
โครงสร้างภายในลาต้น
ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ : เมื่อตัดลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ที่ยังอ่อนอยู่ตามขวาง แล้วนามา
ศึกษาจะพบลักษณะการเรียงตัวของลาต้นและรากคล้ายกันและลาต้นมีการเรียงตัว ดังนี้
1) เอพิเดอร์มิส ( Epidermis ) อยู่ชั้นนอกสุด ปกติเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียว ไม่มี
คลอโรฟิ ลล์ อาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นขน หนาม หรือเซลล์คุม ( Guard Cell ) ผิวด้าน
นอกของเอพิดอร์มิสมักมีสารพวกคิวทิน เคลือบอยู่เพื่อป้องกันการระเหยของน้า
Free Powerpoint Templates
Page 11
2) คอร์เทกซ์ ( Cortex ) มีอาณาเขตแคบกว่าในรากเซลล์ ส่วนนี้ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรงคิมาเรียง
ตัวกันหลายชั้น เซลล์พวกนี้มักมีสีเขียวและสังเคราะห์ด้วยแสงได้ด้วย นอกจากนี้ยังช่วยสะสมน้า
และอาหารให้แก่พืช เซลล์ชั้นคอร์เทกซ์ที่อยู่ติดกับเอพิเดอร์มิสเป็นเซลล์เล็กๆ 2-3 แถว คือ เซลล์
พวกคอลเลงคิมา และมีเซลล์สเกลอเรงคิมาแทรกอยู่ช่วยให้ลาต้นแข็งแรงขึ้น การแตกกิ่งของพืชจะ
แตกในชั้นนี้เรียกว่า “ เอกโซจีนัสบรานชิ่ง ( Exogenous branching )” ซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งเป็น
เอนโดจีนัสบรานชิ่ง ชั้นในของคอร์เทกซ์ คือ เอนโดเดอร์มิสเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวในลาต้น
พืชส่วนใหญ่มักเห็นชั้นเอนโดเดอร์มิสได้ไม่ชัดเจนหรือไม่เห็นเลยซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งมีและเห็น
ชัดเจน เซลล์ที่ทาหน้าที่ในการหลั่งสาร ( Secretory Cell ) เช่น เรซิน ( Resin ) น้ายาง ( Latex ) ก็
อยู่ในชั้นนี้
โครงสร้างภายในลาต้น
Free Powerpoint Templates
Page 12
คอร์เทกซ์ ( Cortex )
Free Powerpoint Templates
Page 13
3) สตีล ( Stele ) ในลาต้นฃั้นสองของสตีลจะแคบมากและแบ่งออกจากชั้นของคอร์เทกซ์
ได้ไม่ชัดเจนนัก และแตกต่างจากในราก ประกอบด้วย
3.1 มัดท่อลาเลียง อยู่เป็นกลุ่มๆ ด้านในเป็นไซเลม ด้านนอกเป็นโฟลเอ็มเรียงตัวในแนว
รัศมีเดียวกัน
โครงสร้างภายในลาต้น
Free Powerpoint Templates
Page 14
3.2 วาสคิวลาร์เรย์ (vascular ray) เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมา (parenchyma) ที่อยู่ระหว่าง
มัดท่อลาเลียง เชื่อมต่อระหว่างคอร์เทกซ์และพิธ
โครงสร้างภายในลาต้น
Free Powerpoint Templates
Page 15
3.3 พิธ (Pith) อยู่ชั้นในสุดเป็นไส้ในของลาต้นประกอบด้วยเนื้อเยื่อพาเรงคิมา ทาหน้าที่
สะสมแป้งหรือสารต่างๆ เช่น ผลึกแทนนิน ( Tannin ) พิธที่แทรกอยู่ในมัดท่อลาเลียงจะ
ดูดคล้ายรัศมี เรียกว่า พิธเรย์ ( Pith Ray ) ทาหน้าที่สะสมอาหาร ช่วยลาเลียงน้า เกลือแร่
และอาหารไปทางด้านข้างของลาต้น
โครงสร้างภายในลาต้น
Free Powerpoint Templates
Page 16
ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว : ส่วนใหญ่มีการเจริญเติบโตขั้นต้น ( Primary Growth ) เท่านั้น มีชั้น
ต่างๆเช่นเดียวกับพืชใบเลี้ยงคู่ต่างกันที่มัดท่อลาเลียงรวมกันเป็นกลุ่มๆประกอบด้วยเซลล์
ค่อนข้างกลมขนาดใหญ่ 2 เซลล์ ซึ่งได้แก่ไซเลมและเซลล์เล็กๆ ด้านบนคือโฟลเอ็ม ส่วนทาง
ด้านล่างของไซเลมเป็นช่องกลมๆ เช่นกันคือช่องอากาศมัดท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมี
บันเดิลชีท ( Bundle Sheath ) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อพวกพาเรงคิมาที่มีแป้งสะสมหรืออาจเป็นเนื้อเยื่อ
สเกลอเรงคิมามาหุ้มล้อมรอบเอาไว้
โครงสร้างภายในลาต้น
Free Powerpoint Templates
Page 17
กลุ่มของมัดท่อลาเลียงจะกระจายทุกส่วนของลาต้น แต่มักอยู่รอบนอกมากว่ารอบในและมัดท่อ
ลาเลียงไม่มีเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างหรือแคมเบียมคั่นอยู่ พืชพวกนี้จึงเจริญเติบโตด้านข้างจากัด แต่
มักจะสูงขึ้นได้มาก เนื่องจากพืชใบเลี้ยเดี่ยวมีเนื้อเยื่อเจริญบริเวณข้อทาให้ปล้องยืดยาวขึ้น ในพืช
บางชนิดส่วนของพืชจะสลายไปกลายเป็นช่องกลวงอยู่กลางลาต้น เรียกว่า “ ช่องพิธ ( Pith
Cavity ) ” เช่น ในลาต้นของไผ่ หญ้า เป็นต้น
โครงสร้างภายในลาต้น
Free Powerpoint Templates
Page 18
Free Powerpoint Templates
Page 19
ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
กับลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
1. มีข้อและปล้องเห็นได้ชัดเจน
2. ไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา
3.มัดท่อน้าท่ออาหารกระจายไปทั่วลาต้น
4. ส่วนมากไม่มีแคมเบียม
5. ส่วนมากไม่มีการเจริญขั้นที่สอง
6. ส่วนมากไม่มีวงปี
7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการในการทางาน
1. เห็นได้ไม่ชัดเจนนัก
2. มีกิ่งก้านสาขามาก
3. มัดท่อน้าท่ออาหารเรียงตัวเป็นวงรอบ
ลาต้น
4. ส่วนมากมีแคมเบียม นอกจากพืชล้มลุก
บางชนิดไม่มี
5. ส่วนมากมีการเจริญขั้นที่สองและเจริญ
ไปเรื่อยๆสัมพันธ์กับความสูง
6. ส่วนมากมีวงปี
7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการทางานสั้น
แต่จะมีการสร้างขึ้นมาทดแทนอยู่เรื่อยๆ
โดยแคมเบียม
Free Powerpoint Templates
Page 20
Free Powerpoint Templates
Page 21
Shoot Development
Free Powerpoint Templates
Page 22
Free Powerpoint Templates
Page 23
Free Powerpoint Templates
Page 24
Free Powerpoint Templates
Page 25
Free Powerpoint Templates
Page 26
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Lenticel Cork
Free Powerpoint Templates
Page 27
Free Powerpoint Templates
Page 28
Free Powerpoint Templates
Page 29
การเจริญระยะทุติยภูมิ (Secondary growth)
ของลาต้น แสดงวงปี (Annual ring)
1
2 3
Pith
Annual ring
(2 xylem)
Free Powerpoint Templates
Page 30
Free Powerpoint Templates
Page 31
Free Powerpoint Templates
Page 32
Free Powerpoint Templates
Page 33
Free Powerpoint Templates
Page 34
Free Powerpoint Templates
Page 35
Free Powerpoint Templates
Page 36
ชนิดของลาต้น
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลา
ต้นใต้ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
1) ต้นไม้ยืนต้น (tree) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักต้นเดียว จากนั้นจึงแตกกิ่งก้านสาขาบริเวณ
ยอด ลักษณะเนื้อแข็ง ลาต้นมีขนาดใหญ่ อายุยืนหลายปี
Free Powerpoint Templates
Page 37
ชนิดของลาต้น
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลา
ต้นใต้ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
2) ต้นไม้พุ่ม (shrub) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักหลายต้น มักมีเนื้อไม้แข็งแต่มีขนาดเล็กว่าไม้ยืน
ต้น แตกกิ่งก้านสาขาใกล้บริเวณผิวดิน
Free Powerpoint Templates
Page 38
ชนิดของลาต้น
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้
ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
3) ต้นไม้ล้มลุก (herb) เป็นต้นไม้ที่มีเนื้อไม้อ่อนหรือไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใหญ่มีอายุปีเดียว บางชนิดอาจ
อยู่ได้สองปี เมื่อครบวัฏจักรชีวิตจะตายไป ไม้ล้มลุกบางชนิดที่มีลาต้นอยู่ใต้ดิน เมื่อส่วนที่อยู่เหนือ
ดินตายส่วนที่อยู่ใต้ดินจะพักตัวอยู่และงอกในฤดูถัดไป
Free Powerpoint Templates
Page 39
ชนิดของลาต้น
จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้
1) ลาต้นที่มีเนื้อไม้ (woody stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม
Free Powerpoint Templates
Page 40
ชนิดของลาต้น
จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้
2) ลาต้นที่ไม่มีเนื้อไม้ (herbaceous stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภท ไม้ล้มลุก
Free Powerpoint Templates
Page 41
Free Powerpoint Templates
Page 42
Free Powerpoint Templates
Page 43
Free Powerpoint Templates
Page 44
ลาต้นเลื้อยขนานไปกับผิวดิน หรือผิวน้า (Prostrate หรือ Creeping stem)
ส่วนใหญ่ของพืชพวกนี้มีลาต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้ จึงต้องเลื้อยขนานไปกับผิวดิน เช่น ผักบุ้ง หญ้า แตงโม บัวบก
ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็นต้นบริเวณข้อมีรากแตกเป็นแขนงออกมาแล้วปักลงดินเพื่อยึดลาต้นให้
ติดแน่นกับที่มีการแตกแขนงลาต้นออกจากตาบริเวณที่เป็นข้อ ทาให้มีลาต้นแตกแขนงออกไป ซึ่งเป็นการแพร่
พันธุ์วิธีหนึ่ง แขนงที่แตกออกมาเลื้อยขนานไปกับผิวดินหรือน้านี้เรียกว่า สโตลอน (Stolon) หรือรันเนอร์
(Runner) ที่ตรงกับภาษาไทยว่า ไหล
Free Powerpoint Templates
Page 45
ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber)
1) ใช้ลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไป
(Twining stem หรือ Twiner) การพัน
อาจเวียนซ้าย หรือเวียนขวา เช่น ต้นถั่ว
ฝอยทอง เถาวัลย์ชนิดต่าง ๆ ผักบุ้งฝรั่ง
บอระเพ็ด
พืชพวกนี้มีลำต้นอ่อนเช่นเดียวกับพวกแรก แต่ไต่ขึ้นสูงโดยขึ้นไปตำมหลักหรือต้นไม้ที่อยู่
ติดกันวิธีกำรไต่ขึ้นสูงนั้นมีอยู่หลำยวิธีคือ
แสดงลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไปพวกเถาวัลย์
Free Powerpoint Templates
Page 46
Free Powerpoint Templates
Page 47
ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber)
2) ลาต้นเปลี่ยนเป็นมือเกาะ
(Stem tendril หรือ Tendril climber) มือเกาะจะบิดเป็น
เกลียวคล้ายสปริงเพื่อให้มีการยืดหยุ่น เมื่อลมพัดผ่านมือ
เกาะจะยืดหดได้ตัวอย่างเช่น ต้นบวบ น้าเต้า ฟักทอง องุ่น
แตงกวา ตาลึง พวงชมพู กะทกรก ลัดดาลิ้นมังกร เสาวรส
โคกกระออม เป็นต้น (บางครั้ง Tendril อาจเกิดจากใบที่
เปลี่ยนแปลงไปจะทราบจากการสังเกต เช่น ใบถั่วลันเตา
บริเวณปลายใบเปลี่ยนไปเป็นมือเกาะ) แสดงลาต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลง
ไปเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ
Tendril climber) ของต้นพวงชมพู
Free Powerpoint Templates
Page 48
Free Powerpoint Templates
Page 49
ใช้รากพัน (Root climber)
เป็นลาต้นที่ไต่ขึ้นสูงโดยงอกรากออกมาบริเวณข้อยึดกับ
หลักหรือต้นไม้ต้นอื่น ตัวอย่างเช่น ต้นพลู พลูด่าง
พริกไทยรากพืชเหล่านี้หากยึดติดกับต้นไม้จะไม่แทงราก
เข้าไปในลาต้นของพืชที่เกาะ ไม่เหมือนพวกกาฝากหรือ
ฝอยทองซึ่งเป็นพืชปรสิตที่แทงรากเข้าไปในมัดท่อ
ลาเลียงของพืชที่เกาะ
แสดงใช้รากพัน (Root climber) ของต้นพลูด่าง
Free Powerpoint Templates
Page 50
ลาต้นเปลี่ยนเป็นหนาม (Stem spine หรือ Stem thorn)
หรือขอเกี่ยว (Hook) บางทีเรียกลาต้นชนิดนี้ว่า
สแครมเบลอร์ (Scrambler) เพื่อใช้ในการไต่ขึ้นที่
สูง และยังทาหน้าที่ป้องกันอันตรายอีกด้วย เช่น
หนามของต้นเฟื่องฟ้าหรือตรุษจีนมะนาว มะกรูด
และส้มชนิดต่าง ๆ หนามเหล่านี้จะแตกออกมาจาก
ตาที่อยู่บริเวณซอกใบ
หนามบางชนิดเปลี่ยนแปลงมาจากใบ หนามบาง
ชนิดไม่ใช่ทั้งลาต้น ใบและกิ่งที่เปลี่ยนแปลงไป แต่
เกิดจากผิวนอกของลาต้นงอกออกมาเป็นหนาม
เช่น หนามกุหลาบส่วนต้นกระดังงา และการเวก มี
ขอเกี่ยวที่เปลี่ยนแปลงมาจากลาต้นแล้วยังมีดอก
ออกมาจากขอเกี่ยวได้ด้วย
Free Powerpoint Templates
Page 51
Free Powerpoint Templates
Page 52
Free Powerpoint Templates
Page 53
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบ (Cladophyll หรือPhylloclade หรือ Cladode)
ลาต้นที่เปลี่ยนไปอาจแผ่แบนคล้ายใบ หรือเป็นเส้นเล็กยาวและยังมีสีเขียว ทาให้
เข้าใจผิดว่าเป็นใบ เช่น สนทะเล หรือ สนประดิพัทธ์ ที่มีสีเขียวต่อกันเป็นท่อน ๆ
นั้นเป็นส่วนของลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไป ส่วนใบที่แท้จริงเป็นแผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่รอบ
ๆ ข้อ เรียกว่า ใบเกล็ด (Scale leaf) เช่นเดียวกับต้นโปร่งฟ้า (Asparcus) ที่เห็นเป็น
เส้นฝอยแผ่กระจายอยู่เป็นแผงและมีสีเขียวนั้นเป็นลาต้น ส่วนใบเป็นใบเกล็ดเล็กๆ
ติดอยู่ตรงข้อ
นอกจากนั้นยังมีลาต้นอวบน้า (Succulent) เป็นลาต้นของพืชที่อยู่ในที่แห้งแล้ง
กันดารน้า จึงมีการสะสมน้าไว้ในลาต้น เช่น ต้นกระบองเพชร สลัดได และ
พญาไร้ใบ ลาต้นบางชนิดอาจเกิดจากตาหรือหน่อเล็กๆ ที่อยู่เป็นยอดอ่อนหรือใบ
เล็ก ๆประมาณ 2-3 ใบที่แตกออกบริเวณซอกใบกับลาต้น หรือแตกออกจากยอดลา
ต้นแทนดอก เมื่อหลุดออกจากต้นเดิมร่วงลงดินสามารถเจริญไปเป็นต้นใหม่ได้
ตัวอย่างเช่นหอม กระเทียม ตะเกียงสับปะรด ศรนารายณ์ เป็นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 54
Free Powerpoint Templates
Page 55
Free Powerpoint Templates
Page 56
Free Powerpoint Templates
Page 57
Free Powerpoint Templates
Page 58Phylloclade
Free Powerpoint Templates
Page 59
แง่งหรือเหง้า (Rhizome)
ลาต้นใต้ดินจะอยู่ขนานกับผิวดินเห็นข้อปล้องได้ชัดเจน
ตามข้อมีใบสีน้าตาลที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีลักษณะเป็นเกล็ด
เรียกว่าใบเกล็ด หุ้มตาเอาไว้ มีรากงอกออกจากเหง้า หรือ
แง่งนั้น ๆ ตาอาจแตกแขนงเป็นใบอยู่เหนือดิน หรือเป็นลา
ต้นอยู่ใต้ดินก็ได้ เช่นหญ้าแห้วหมู ขิง ข่า ขมิ้น มันฝรั่ง ว่าน
สะระแหน่ หญ้าแพรก พุทธรักษา กล้วย เป็นต้น
แสดงลาต้นใต้ดินชนิด แง่งหรือเหง้า
(Rhizome) ของต้นว่านมหาปราบ
Free Powerpoint Templates
Page 60
Free Powerpoint Templates
Page 61
ทูเบอร์ (Tuber)
เป็นลาต้นใต้ดินที่งอกออกมาจากปลายไรโซมมีปล้อง
เพียง 3-4 ปล้อง ตามข้อไม่มีใบเกล็ดและรากสะสม
อาหารเอาไว้มากในลาต้นส่วนใต้ดิน จึงดูอ้วนใหญ่กว่า
หัวชนิดไรโซม แต่บริเวณที่เป็นตาจะบุ๋มลงไป
ตัวอย่างเช่นมันฝรั่ง เหนือดินมีลาต้น และใต้ดินมีไร
โซม ซึ่งบริเวณปลายพองออกเป็นทูเบอร์ ดังในรูปที่ชี้
ว่าเป็น “Eye” นั้นคือตานั่นเองถ้ามีความชื้นพอเพียง
ต้นใหม่จะงอกออกมาจากบริเวณตา ซึ่งผิดกับหัวมัน
เทศซึ่งเป็นรากไม่สามารถงอกต้นใหม่จากบริเวณหัวที่
มีรอยบุ๋มได้ เพราะไม่ใช่ตา ตัวอย่างอื่น ๆ ของหัวชนิดทู
เบอร์ ได้แก่ หญ้าแห้วหมู หัวมันมือเสือ มันกลอย
Free Powerpoint Templates
Page 62
Free Powerpoint Templates
Page 63
หัวกลีบ หรือบัลบ์ (Bulb)
เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง อาจมีส่วนพ้นดินขึ้นมาบ้างก็ได้ ลาต้นมี
ขนาดเล็กที่มีปล้องที่สั้นมากบริเวณปล้องมีใบเกล็ดที่ซ้อนกันหลาย
ชั้นจนเห็นเป็นหัว เช่น หัวหอม หัวกระเทียม อาหารสะสมอยู่ในใบ
เกล็ดในลาต้นไม่มีอาหารสะสมบริเวณส่วนล่างของลาต้นมีรากเส้น
เล็ก ๆ แตกออกมาหลายเส้นเมื่อนาหัวหอมมาผ่าตามยาวจะพบใบ
เกล็ดเป็นชั้น ๆ ชั้นนอกสุดเป็นแผ่นบาง ๆเนื่องจากไม่มีอาหารสะสม
ชั้นถัดเข้าไปมีอาหารสะสม จึงมีความหนากว่าแผ่นนอกชั้นในสุด
ของลาต้นเป็นส่วนยอด ถ้าเอาหัวชนิดนี้ไปปลูกส่วนยอดจะงอก
ออกมาเป็นใบสีเขียว
แสดงลาต้นใต้ดิน ชนิดหัวกลีบหรือบัลบ์ (Bulb)
ของต้นแสนพันล้อม
Free Powerpoint Templates
Page 64
Free Powerpoint Templates
Page 65
Free Powerpoint Templates
Page 66
คอร์ม (Corm)
ลักษณะของลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรงเช่นเดียวกับหัว
กลีบ ลักษณะที่แตกต่างกันคือเก็บอาหารไว้ในลา
ต้นแทนที่จะเก็บไว้ในใบเกล็ดลาต้นจึงมีลักษณะ
อวบใหญ่ ทางด้านล่างของลาต้นมีรากเส้นเล็ก ๆ
หลาย ๆ เส้นที่ข้อมีใบเกล็ดบาง ๆ หุ้ม ตาแตก
ออกมาจากข้อเป็นใบชูขึ้นสูงหรืออาจเป็นลาต้น
ใต้ดินต่อไป ตัวอย่างเช่น เผือก ซ่อนกลิ่นฝรั่ง
และแห้ว เป็นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 67
Free Powerpoint Templates
Page 68
ใบ ( Leaves) เป็น อวัยวะที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้างโดยมีตาเหน่งอยู่ที่ข้อปล้อง
ของต้นและ กิ่ง ใบส่วนใหญ่มักแผ่แบน มีสีเขียวของคลอโรฟิ ลล์ ทาหน้าที่หลักใน
การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) และคายน้า (transpiration) รูปร่างและ
ขนาดของใบแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช หน้าที่หลักของใบคือใช้ในการ
สังเคราะห์แสง การหายใจและการคายน้า
Free Powerpoint Templates
Page 69
ใบ ( Leaves)
Free Powerpoint Templates
Page 70
การเรียงของใบ (Leaf Arrangement)
Free Powerpoint Templates
Page 71
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
1. แผ่นใบหรือตัวใบ (leaf blade or lamina) มักแผ่แบน มีสีเขียว ส่วนใหญ่มีรูปร่างรี บาง
ชนิดอาจมีรูปร่างกลม รูปหัวใจ รูปพัด ในใบหญ้าแผ่นใบมักจะเรียวยาว แผ่นใบเป็นส่วน
สาคัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่สร้างอาหาร บางชนิดมีขนาดเล็กเป็นใบเกล็ด (scale leaf)
หรือม้วนเป็นท่อ เช่นในใบหอม
Free Powerpoint Templates
Page 72
Free Powerpoint Templates
Page 73
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
• 1.1 เส้นใบ ( vein ) ให้สังเกตเส้นกลางใบ ( midrib ) ซึ่งต่อเป็นเนื้อเดียวกับก้านใบ จาก
เส้นกลางใบแยกออกเป็นเส้นใบ ซึ่งจะแยกแขนงออกไปอีกเป็นเส้นแขนงใบ ( vientet )
การเรียงของใบ ( venation ) เส้นใบแบบขนาน ( parallel venation )พบในพืชใบเลี้ยง
เดี่ยว แบ่งเป็นเรียงตามยาวของใบ (plamately parallel venation) และเส้นใบขนานกัน
ตามขวางของใบ ( pinately parallel venation )
Free Powerpoint Templates
Page 74
เส้นใบ ( vein )
• Parallel venation ลักษณะเส้นใบขนานกัน ถ้ามีเส้นกลางใบและมีเส้นใบย่อย
แตกออกจากเส้นกลางใบขนานกัน ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า Costal parallel เช่น
ใบหญ้า อ้อย ข้าว ถ้าเส้นใบขนานกันตั้งแต่โคนใบ ไม่มีเส้นใบกลางใบ แบบนี้
เรียกว่า Basal parallel เช่น ใบ พุทธรักษา ใบตอง
Free Powerpoint Templates
Page 75
เส้นใบ ( vein )
• Reticulate venation หรือ netted venation ลักษณะคล้ายร่างแห สานกัน ถ้ามี
เส้นกลางใบและมีเส้นใบย่อยแตกออกจากเส้นกลางใบ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า
pinnately netted venation ถ้าแตกจากโคนของใบ ไม่มีเส้นใบกลางใบ แบบนี้
เรียกว่า palmately
Free Powerpoint Templates
Page 76
เส้นใบ ( vein )
Free Powerpoint Templates
Page 77
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
• 1.2 ส่วนของใบเลี้ยงคู่เป็นแบบตาข่าย (netted หรือ recticulated
venation) ซึ่งมี 2 แบบคือ แบบตาข่ายขนนก ( pinnately netted venation )
ตาข่ายแบบรูปมือ ( palmately netted venation )
Free Powerpoint Templates
Page 78
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
• 2. ก้านใบ (petiole) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างตัวใบกับลาต้น มีลักษณะเป็น
ก้านสั้นๆ ในใบหญ้าก้านใบมักจะแบนบางโอบส่วนลาต้นไว้ ซึ่งนิยมเรียกว่ากาบ
หรือ sheath พืชบางชนิดอาจไม่มีก้านใบ เรียกใบแบบนี้ว่า sessile leaf ถ้ามี
ก้านใบเรียกว่า petiolate
Free Powerpoint Templates
Page 79
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
• 3. หูใบ (stipule) เป็นส่วนของระยางค์ที่ยื่นออกมาตรงโคนใบที่ติดกับลาต้น หูใบ
มักมีอายุไม่นานและจะลดร่วงไป หูใบมักมีสีเขียวแต่อาจมีสีเช่น หูใบของต้นยาง
อินเดียหูใบมีสีสันสวยงามหุ้มยอดอ่อนเอาไว้ พืชบางชนิดอาจไม่มีหูใบ เรียกใบ
แบบนี้ว่า exstipulate leaf ถ้ามีหูใบเรียกว่า stipulate leaf เช่น เข็ม พุดน้าบุด มี
หูใบอยู่ระหว่างใบทั้งสองข้าง กุหลาบมีหูใบเชื่อมติดต่อกับก้านใบ ชบามีหูใบอยู่
บริเวณซอกใบ
Free Powerpoint Templates
Page 80
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
• 4. ขอบใบ (Leaf margin) หมายถึงส่วนริมสุดของตัวใบตั้งแต่โคนใบจนถึงปลาย
ใบ พืชแต่ละชนิดจะมีลักษณะขอบใบแตกต่างกันไป เช่น ขอบใบเรียบ ขอบใบ
หยัก ขอบใบเว้า
Free Powerpoint Templates
Page 81
Free Powerpoint Templates
Page 82
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
• 5. โคนใบ หรือฐานใบ (Leaf base) คือส่วนที่อยู่ล่างสุดของแผ่นใบที่ติดกับก้าน
ใบหรือกิ่ง
Free Powerpoint Templates
Page 83
Leaf base
Free Powerpoint Templates
Page 84
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
• 6. ปลายใบ (Leaf apex) ส่วนของแผ่นใบที่อยู่ปลายสุดตรงข้ามกับก้านใบ
ปลายใบของพืชแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกันไป
Free Powerpoint Templates
Page 85
Free Powerpoint Templates
Page 86
ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf
• 7. เส้นกลางใบ (Midrib) คือ ส่วนที่ยื่นต่อจากก้านใบเข้าไปในตัวใบ มีลักษณะเป็น
สันนูน แบ่งใบออกเป็นสองซีก เส้นกลางใบจะแตกแขนงมากมายกระจายไปทั่วแผ่น
ใบ เรียกว่า เส้นใบ (Vein) ซึ่งจะช่วยให้แผ่นใบกางอยู่ได้
Free Powerpoint Templates
Page 87
Free Powerpoint Templates
Page 88
Free Powerpoint Templates
Page 89
Free Powerpoint Templates
Page 90
Free Powerpoint Templates
Page 91
ใบพืช C3 ใบพืช C4
Free Powerpoint Templates
Page 92
Free Powerpoint Templates
Page 93
Free Powerpoint Templates
Page 94
การจัดประเภทของใบ
• 1. ใบแท้ (Foliage leaf) คือใบไม้ปกติทั่วๆ ไป มีสีเขียวและแผ่นเป็นแผ่นกว้าง
แบนเพื่อทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง หายใจ และคายน้า แบ่งออกเป็น 2 พวก
ใหญ่ๆ คือ ใบเดี่ยว และใบประกอบ
• 2. ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf) พืช
บางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วย
แสง ได้แก่ มือเกาะ หนาม สะสมอาหาร เป็นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 95
ใบแท้ (Foliage leaf)
• 1. ใบเดี่ยว (simple leaf) ใบที่มีตัวใบแผ่นเดียว เช่น ใบน้อยหน่า มะม่วง ชมพู่
พืชบางชนิดตัวใบเว้า โค้งไปมา จึงทาให้ดูคล้ายมีตัวใบหลายแผ่นแต่บางส่วนของ
ตัวใบยังเชื่อมกันอยู่ถือว่า เป็นใบเดี่ยว เช่น ใบมะละกอ ใบฟักทอง ตัวใบมักติด
กับก้านใบ ถ้าใบที่ไม่มีก้านใบเรียก sessile leaves เช่น บานชื่น
Free Powerpoint Templates
Page 96
ใบแท้ (Foliage leaf)
• 2. ใบประกอบ (compound leaf) ใบที่มีตัวใบหลายแผ่นติดอยู่กับก้านใบเดียว เช่น ขี้เหล็ก ใบ
จามจุรี ใบย่อย เรียกว่า leaflets ใบประกอบจะมีตาที่ซอกใบที่ติดกับลาต้นเท่านั้น (แต่ส่วนที่
เป็นก้านใบย่อยจะไม่พบตา) ใบประกอบยังสามารถแบ่งเป็นประเภทย่อยๆ ได้ 2 ประเภทดังนี้
Free Powerpoint Templates
Page 97
ใบประกอบ (compound leaf)
• Pinnately compound leaf (ใบประกอบแบบขนนก) ใบที่ประกอบด้วยหลายใบ
ย่อย (leaflets) แต่ละใบย่อยมีก้านใบย่อย (petiolule) ออกจากแกนกลาง
(rachis) เป็นคู่ๆ คล้ายขนนก
Free Powerpoint Templates
Page 98
Pinnately compound leaf
• ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว (Pinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วย
ใบย่อยแตกออกจากก้านใบเพียงครั้งเดียว ใบย่อยแต่ละใบจะมีก้านใบย่อย เรียกว่า
petiolue ได้แก่ ใบกุหลาบ ใบมะขาม ใบขี้เหล็ก ใบสะเดา ใบทองอุไร ใบกาลพฤกษ์
Free Powerpoint Templates
Page 99
Pinnately compound leaf
• ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น (bipinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วย
ใบย่อยแตกออกจากก้านใบเพียง 2 ครั้ง และมีช่วงของก้านใบหรือแกนกลาง 2 แห่ง
คือ rachis และ rachilla เช่น ใบหางนกยูงฝรั่ง จามจุรี กระถิน
Free Powerpoint Templates
Page 100
Pinnately compound leaf
• ใบประกอบแบบขนนกสามชั้น (tripinnately compound leaf) ใบที่
ประกอบด้วยใบย่อยแตกออกจากก้านใบเพียง 3ครั้ง และมีช่วงของก้านใบหรือ
แกนกลาง 2 แห่ง คือ rachis และ rachilla แต่แกนกลางที่ 3 อาจเรียกรวมว่า
rachilla ตัวอย่าง เช่น ใบมะรุม บีบ
Free Powerpoint Templates
Page 101
ใบประกอบ (compound leaf)
• Palmately compound leaf (ใบประกอบแบบฝ่ามือ) ใบที่ประกอบด้วยหลายใบ
ย่อย (leaflets) แตกออกจากส่วนก้านใบลักษณะคล้ายนิ้วมือ ซึ่งแบ่งเป็น
ประเภทต่างๆ ดังนี้ bifoliage ใบที่ประกอบด้วยใบย่อย 2 ใบ trifoliage ใบที่
ประกอบด้วยใบย่อย 3 ใบ
Free Powerpoint Templates
Page 102
Palmately compound leaf
bifoliage trifoliage
Free Powerpoint Templates
Page 103
Free Powerpoint Templates
Page 104
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์
ด้วยแสง ได้แก่
1. มือเกาะ (leaf tendril) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อยึดและพยุงลาต้นให้ไต่ขึ้นที่สูง
ได้ เช่น ถั่วลันเตา มะระ ตาลึง เป็นต้น โดยอาจเปลี่ยนแปลงมาจากทั้งใบหรือส่วนต่าง
ๆ ของใบ เช่น หูใบ ก้านใบ ปลายใบ หรือใบย่อย
Free Powerpoint Templates
Page 105
มือเกาะ (Leaf tendril)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นมือเกาะเพื่อยึด
และพยุงลาต้นให้ขึ้นสูง มือเกาะอาจ
เปลี่ยนมาจากใบบางส่วน หรือใบทั้งใบก็
ได้ ตัวอย่างมือเกาะของถั่วลันเตา ถั่วหอม
บานบุรีสีม่วง พวงแก้วดุรั่น มะระ
กะทกรก ดองดึง หวายลิง เป็นต้น
แสดงมือเกาะ (Leaf tendrill) ของต้นกะทกรก
Free Powerpoint Templates
Page 106
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์
ด้วยแสง ได้แก่
2. หนาม (Leaf spine) เป็นใบที่เปลี่ยนเป็นหนาม เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ที่
จะมากัดกิน และช่วยลดการคายน้าอีกด้วย เช่น มะขามเทศ กระบองเพชร ป่าน
ศรนารายณ์ สับปะรด เป็นต้น
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 107
หนาม (Leaf spine)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงเป็นหนาม เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ที่มากัดกิน
พร้อมกับป้องกันการคายน้า เนื่องจากปากใบลดน้อยลงกว่าปกติ หนาม
ที่เกิดอาจมีการเปลี่ยนแปลงทั้งใบกลายเป็นหนาม หรือบางส่วนของใบ
กลายเป็นหนามก็ได้ตัวอย่างเช่น หนามของต้นเหงือกปลาหมอ
เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบและหูใบ หนามของต้นกระบองเพชร
เปลี่ยนแปลงมาจากใบหนามมะขามเทศเปลี่ยนแปลงมาจากหูใบ หนาม
ของศรนารายณ์ (หรือต้นร้อยปี) เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบ เป็นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 108
Free Powerpoint Templates
Page 109
แสดงใบเปลี่ยนแปลงเป็นหนามของต้นกระบองเพชร
Free Powerpoint Templates
Page 110
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง
ได้แก่
3. ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่สะสมอาหารและน้า จึงมี
ลักษณะอวบอ้วนเนื่องจากสะสมน้าและอาหารไว้มาก เช่น ใบเลี้ยงของพืชต่างๆ ใบว่านหาง
จระเข้ กาบกล้วย
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 111
ใบสะสมอาหาร (Storage leaf)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นที่เก็บสะสมอาหาร จึง
มีลักษณะอวบหนา ได้แก่ใบเลี้ยง (Cotyledon)
และใบพืชอีกหลายชนิด เช่น ใบว่านหางจระเข้ หัว
หอม หัวกระเทียม กาบกล้วย ส่วนกะหล่าปลีเก็บ
อาหารสะสมไว้ที่เส้นใบ และก้านใบ
อนึ่งใบเลี้ยงเป็นใบใบแรกที่อยู่ในเมล็ด พืชบาง
ชนิดมีใบเลี้ยงขนาดใหญ่เนื่องจากการสะสมอาหาร
ไว้ โดยดูดอาหารมาจากเอนโดสเปิร์ม
(Endosperm) เพื่อนาไปใช้ในการงอกของต้นอ่อน
ใบเลี้ยงจึงมีลักษณะอวบใหญ่ ใบเลี้ยงยังมีหน้าที่
ปกคลุมเพื่อป้องกันยอดอ่อนไม่ให้เป็นอันตราย เมื่อ
ยอดอ่อนแทงทะลุดินขึ้นมา และเมื่อพ้นดินแล้วยัง
ช่วยสังเคราะห์อาหารอีกด้วย ในพืชบางชนิด
แสดงใบสะสมอาหารของต้นว่านหางจระเข้
Free Powerpoint Templates
Page 112
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์
ด้วยแสง ได้แก่
4. ใบเกล็ด (Scale leaf) มีลักษณะเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีคลอโรฟิ ลล์ เช่น ใบเกล็ดของ
สนทะเล โปร่งฟ้า ขิง ข่า เผือก แห้ว เป็นต้น
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 113
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์
ด้วยแสง ได้แก่
5. เกล็ดหุ้มตา (Bud scale) มีลักษณะเป็นแผ่นหุ้มตาไว้ เมื่อตาเจริญเติบโตก็จะดัน
ให้เกล็ดหุ้มตากางออกหรือหลุดร่วงไป เช่น ในต้นสาเก จาปี และยาง เป็นต้น
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 114
เกล็ดหุ้มตา (Bud scale)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่หุ้ม
ตาหรือคลุมตาไว้ เมื่อตาเจริญเติบโต
ออกมา จึงดันให้เกล็ดหุ้มตาหลุดไป
พบในต้นยาง จาปี สาเก เป็นต้น
แสดง เกล็ดตา (Bud scale)
Free Powerpoint Templates
Page 115
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง
ได้แก่
6. ฟิ ลโลด (Phyllode) หรือ Phyllodium (Gr. phyllon = ใบ) เป็นส่วนต่างๆ ของใบ
ที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นแบนคล้ายตัวใบ พืชที่มีใบแบบนี้มักจะไม่มีใบที่แท้จริง เช่น
ใบกระถินณรงค์เปลี่ยนแปลงมาจากก้านใบ
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 116
ฟิลโลด (Phyllode หรือ Phyllodium )
บางส่วนของใบเปลี่ยนแปลงไปเป็น
แผ่นแบนคล้ายใบแต่แข็งแรงกว่าปกติ
ทาให้ไม่มีตัวใบที่แท้จริง จึงลดการ
คายน้าได้ด้วย เช่น ใบกระถินณรงค์
ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากก้านใบ
แสดงใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นคล้ายใบ ของ
ต้นระถินรณงค์ (Rakbankerd Limited,2006)
Free Powerpoint Templates
Page 117
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์
ด้วยแสง ได้แก่
7. ทุ่นลอย (Floating leaf) พืชน้าบางชนิด เช่น ผักตบชวา จะมีก้านใบที่พองออก
ภายในมีช่องว่างให้อากาศแทรกอยู่มาก จึงช่วยพยุงลาต้นทาให้สามารถลอยน้าได้
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 118
ทุ่นลอย (Floating leaf)
พืชน้าบางชนิดมีการเปลี่ยนแปลงก้านใบ
ให้พองโตคล้ายทุ่น ภายในมีเนื้อเยื่อที่จัด
ตัวอย่างหลวม ๆ ทาให้มีช่องอากาศกว้าง
ใหญ่ สามารถพยุงลาต้นให้ลอยน้ามาได้
เช่น ผักตบชวา
แสดงทุนลอย (Floating leaf) ของผักตบชวา
Free Powerpoint Templates
Page 119
Free Powerpoint Templates
Page 120
ใบประดับ (Bract)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไป ทาหน้าที่
ช่วยรองรับดอกหรือช่อดอก อยู่
บริเวณซอกใบ และมักมีสีเขียว แต่
อาจมีสีอื่นก็ได้ ใบประดับมิได้เป็น
ส่วนใดส่วนหนึ่งของดอก
ตัวอย่างเช่น กาบปลีของกล้วย
กาบเขียงของมะพร้าวและหมากซึ่ง
มีสีเขียว บางท่านจัดรวมใบดอก
และใบประดับไว้เป็นชนิดเดียวกัน
แต่ถ้ามีสีสวยงามเรียกว่า ใบดอก
แสดง ใบประดับที่เรียกว่า กาบเขียงของต้นหมาก
Free Powerpoint Templates
Page 121
แสดง ใบประดับที่เรียกว่ากาบเขียงของ
ต้นมะพร้าว
แสดง ใบประดับที่เรียกว่ากาบปลี
ของต้นกล้วย
Free Powerpoint Templates
Page 122
Free Powerpoint Templates
Page 123
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง
ได้แก่
8. ใบประดับหรือใบดอก (Floral leaf หรือ Bract: L. bractea = แผ่นโลหะ) เป็นใบ
ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่ช่วยรองรับดอก มักมีสีเขียว แต่พืชหลายชนิดมีใบ
ประดับเป็นสีอื่นๆ คล้ายกลีบดอก เพื่อช่วยล่อแมลงสาหรับผสมเกสร เช่น เฟื่องฟ้า
คริสต์มาส หน้าวัว เป็นต้น
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 124
ใบดอก (Floral leaf)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปมีสีสวยงาม
คล้ายกลีบดอก ทาหน้าที่ช่วยล่อ
แมลง เช่น หน้าวัว (เป็นส่วนที่เป็น
แผ่นสีแดงเรียกว่า Spathe) อุตพิด
คริสต์มาส เฟื่องฟ้า
แสดงใบดอกของต้นหน้าวัวและต้นเฟื่องฟ้า
Free Powerpoint Templates
Page 125
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
9. ใบสืบพันธุ์ (Vegetative reproductive leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อ
ช่วยในการแพร่พันธุ์ เช่น ใบคว่าตายหงายเป็น
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 126
ใบแพร่พันธุ์ (Vegetative reproductive organ)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อช่วยแพร่พันธุ์
โดยบริเวณของใบที่มีลักษณะเว้าเข้า
เล็กน้อย มีตา (Aventitious bud) ที่งอก
ต้นเล็ก ๆ ออกมาได้ ตัวอย่างเช่น ใบของ
ต้นตายใบเป็น (หรือคว่าตายหงายเป็น)
ต้นเศรษฐีพันล้าน ต้นโคมญี่ปุ่ น
แสดงใบแพร่พันธุ์ (Vegetative reproductive organ)
ของต้นโคมญี่ปุ่ น
Free Powerpoint Templates
Page 127
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์
ด้วยแสง ได้แก่
10. กับดักแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) เป็นใบที่
เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่ดักจับแมลงหรือสัตว์เล็กๆ โดยมีการสร้างเอนไซม์สาหรับ
ย่อยแล้วดูดซึมแร่ธาตุไปใช้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น หยาดน้าค้าง กาบหอยแครง และ
หม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นต้น
ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 128
ใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf)
เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดักแมลง หรือ
สัตว์ขนาดเล็ก ภายในกับดักมีต่อมสร้าง
เอนไซม์ประเภทโพรทีเอส (Protease) ที่ย่อย
โปรตีนสัตว์ที่ติดอยู่ในกับดักได้ พืชชนิดนี้มี
ใบปกติที่สามารถสังเคราะห์แสงได้เหมือนพืช
ทั่ว ๆ ไป แต่พืชเหล่านี้มักอยู่ในที่มีความชื้น
มากกว่าปกติ อาจขาดธาตุอาหารบางชนิดจึง
ต้องมีส่วนที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดัก เช่น
ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง (หรือน้าเต้าฤๅษี) ต้น
กาบหอยแครง ต้นหยาดน้าค้างต้นสาหร่าย
ข้าวเหนียวหรือสาหร่ายนา (ไม่ใช่สาหร่าย
แต่เป็นพืชน้าขนาดเล็ก)เป็นต้น
แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) ของ
ต้นหม้อข่าวหม้อแกงลิง (Carnivorous Plant Website, 2006)
Free Powerpoint Templates
Page 129
แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf)
ของต้นหยาดน้าค้าง (Carnivorous Plant Website, 2006)
แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf)
ของต้นกาบหอยแครง (Carnivorous Plant Website, 2006)
Free Powerpoint Templates
Page 130
ใบเกล็ด (Scale leaf)
เป็นใบที่เปลี่ยนมาจากใบแท้ เพื่อทา
หน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ตาและยอด
อ่อน ใบเกล็ดไม่มีสีเขียว เพราะไม่มี
คลอโรฟิลล์ เช่น ใบเกล็ดของสนทะเลที่
เป็นแผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่รอบ ๆ ข้อใบเกล็ด
ของโปร่งฟ้าเป็นแผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่ตรงข้อ
เช่นเดียวกัน ใบเกล็ด ของขิงข่า เผือก
แห้วจีน เป็นต้น นอกจากนี้ใบเกล็ดบาง
ชนิดยังสะสมอาหารไว้ด้วย ใบเกล็ดจึงมี
ขนาดใหญ่ เช่น หัวหอม หัวกระเทียม
แสดง ใบเกล็ด (Scale leaf)
Free Powerpoint Templates
Page 131
Free Powerpoint Templates
Page 132
ข้อควรจา !!!
ส่วนสะสมอาหารของพืชดอก
ต้น : ขิง ข่า ขมิ้น มันฝรั่ง เผือก แห้ว ใบ : หอมหัวใหญ่ส่วนที่เรากิน
ราก : แครอท หัวไชเท้า กระชาย มันแกว มันเทศ มันสาปะหลัง
สารในพืชที่เราควรรู้จัก
1. ที่ cell wall : pectin cellulose hemicellulose lignin 3. ฉาบอยู่บนใบ : cutin wax
2. ที่ cork และ endodermis : suberin 4. พอกอยู่ในเนื้อไม้ : lignin suberin tannin resin ฯลฯ
เนื้อเยื่อถาวรบางที่เปลี่ยนกลับเป็นเนื้อเยื่อเจริญแล้วสร้าง
1. รากแขนง เกิดจาก pericycle 2. กิ่งแขนงเกิดจาก cortex
3. Cork cambium 4. Vascular cambium
Free Powerpoint Templates
Page 133
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 134
Free Powerpoint Templates
Page 135
Free Powerpoint Templates
Page 136
Free Powerpoint Templates
Page 137
Free Powerpoint Templates
Page 138
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 139
Free Powerpoint Templates
Page 140
Free Powerpoint Templates
Page 141
Free Powerpoint Templates
Page 142
Free Powerpoint Templates
Page 143
• การคายน้าคือการสูญเสียน้าของพืชในรูปของไอน้า น้าที่พืชดูดขึ้นไปจะใช้ในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงเพียงร้อยละ 1 - 2 เท่านั้น น้าส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 98 - 99 จะสูญเสียไปในรูป
ของการคายน้าโดยน้าเปลี่ยนเป็นไอและระเหยออกไป น้าส่วนใหญ่จะระเหยออกทางปากใบ
(stinata) เรียกว่า สโตมาทอลทรานสพิเรชัน (stomatal transpiration)
การคายน้าของพืช
Free Powerpoint Templates
Page 144
การคายน้าของพืช
• นอกจากนี้น้าอาจสูญเสียทางผิวใบและส่วนของลาต้นอ่อน ๆ เรียกว่า คิวทิคิวลาร์ ทรานสพิเรชัน
(cuticular traspiration) ทางรอยแตกหรือรูเล็ก ๆ ที่ลาต้นหรือเลนทิเซล (lenticel) เรียกว่า
เลนทิคิวลาร์ทรานสพิเรชัน (lenticular transpiration)
Free Powerpoint Templates
Page 145
lenticular transpiration
Free Powerpoint Templates
Page 146
การคายน้าของพืช
• การคายน้าทางผิวใบและเลนทิเซลถือว่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับการคายน้าทางปากใบ แต่ใน
สภาพที่พืชขาดน้า ปากใบจะปิ ดดังนั้นการคายน้าทางผิวใบ และเลนทิเซล จะช่วยลดอุณหภูมิ
ให้กับพืชได้บ้างทาให้ลาต้นพืชไม่ร้อนมากจนเกินไป ที่ผิวใบพืชมีเซลล์ชั้นเอพิเดอร์มิส
(epidermis layer) เซลล์ชั้นนี้เป็นชั้นที่อยู่นอกสุดปกคลุมส่วนที่อยู่ข้างในทั้งทางด้านบน คือ เอพิ
เดอร์มิสด้านบน (upper epidermis) และทางด้านล่าง คือ เอพิเดอร์มิสด้านล่าง (lower
epidermis)
Free Powerpoint Templates
Page 147
การคายน้าของพืช
• เซลล์เอพิเดอร์มิสมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าเรียงตัวแถวเดียวตลอดทั่วไป เซลล์ชั้นนี้ไม่มี
คลอโรฟีลล์อยู่ด้วย จึงทาให้สังเคราะห์ด้วยแสง ไม่ได้เซลล์เอพิเดอร์มิสบางเซลล์เปลี่ยนแปลงไป
ทาหน้าที่เป็น เซลล์คุม (guard cell) อยู่ด้วยกันเป็นคู่ผนังด้านในของเซลล์คุมหนากว่าผนังเซลล์
ด้านนอกระหว่างเซลล์คุมเป็นปากใบ (stomata)
Free Powerpoint Templates
Page 148
การคายน้าของพืช
• พบว่าทางด้านล่างของใบมีปากใบอยู่มากกว่าทางด้านบนเซลล์คุมทาหน้าที่ปิ ดและ
เปิ ดปากใบ เซลล์คุมแตกต่างจากเซลล์เอพิเดอร์มิสอื่น คือ เซลล์คุมมีคลอโรฟีลล์อยู่
ด้วย จึงสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้และการสังเคราะห์ด้วยแสงนี้เป็นกลไกสาคัญที่
ทาให้เกิดการเปิ ดปิ ดของปากใบ, การคายน้าและการลาเลียงสารของพืช ผิวของเซลล์
ชั้นเอพิเดอร์มิสมีสารพวกขี้ผึ้ง เรียกว่า คิวทิน (cutin) ฉาบอยู่ช่วยป้องกันการระเหย
ของน้าออกจากผิวใบ
Free Powerpoint Templates
Page 149
การคายน้าของพืช
• ปากใบพืชจาแนกตามชนิดของพืชที่เจริญอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็น 3 แบบ คือ
1.ปากใบแบบธรรมดา (typical stomata) เป็นปากใบของพืชทั่วไปโดยมีเซลล์คุมอยู่
ในระดับเดียวกับเซลล์เอพิเดอร์มิสพืชที่ปากใบเป็นแบบนี้เป็นพวกเจริญอยู่ในที่ ๆ มี
น้าอุดมสมบูรณ์พอสมควร (mesophyte)
Free Powerpoint Templates
Page 150
การคายน้าของพืช
• ปากใบพืชจาแนกตามชนิดของพืชที่เจริญอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็น 3 แบบ คือ
2.ปากใบแบบจม (sunken stomata) เป็นปากใบที่อยู่ลึกเข้าไปในเนื้อใบเซลล์คุมอยู่ลึก
กว่าหรือต่ากว่าชั้นเซลล์เอพิเดอร์มิสพบในพืชที่อยู่ในที่แห้งแล้ง (xerophyte) เช่น พืช
ทะเลทราย พวกกระบองเพชร พืชป่าชายเลน (halophyte) เช่น โกงกาง แสม ลาพู เป็นต้น
Free Powerpoint Templates
Page 151
การคายน้าของพืช
• ปากใบพืชจาแนกตามชนิดของพืชที่เจริญอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็น 3 แบบ คือ
3.ปากใบแบบยกสูง (raised stomata) เป็นปากใบที่มีเซลล์คุมอยู่สูงกว่าระดับเอพิ
เดอร์มิสทั่วไป เพื่อช่วยให้น้าระเหยออกจากปากใบได้เร็วขึ้นพบได้ในพืชที่เจริญอยู่ใน
น้าที่ที่มีน้ามากหรือชื้นแฉะ(hydrophyte)
Free Powerpoint Templates
Page 152
การคายน้าของพืช
• ใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หญ้า ข้าวโพด ที่ชั้นเอพิเดอร์มิสมีเซลล์ขนาดใหญ่และผนังเซลล์
บาง เรียกว่า บัลลิฟอร์มเซลล์ (bulliform cell) ช่วยทาให้ใบม้วนงอได้เมื่อพืชขาดน้าช่วยลดการ
คายน้าของพืชให้น้อยลง พืชบางชนิดอาจมีเอพิเดอร์มิสหนามากกว่า 1 ชั้น ซึ่งพบมากทาง
ด้านหลังใบมากกว่าทางด้านท้องใบเรียกว่า มัลติเปิ ล เอพิเดอร์มิส (multiple epidermis) ซึ่งพบ
ในพืชที่แห้งแล้งช่วยลดการของได้ เซลล์ชั้นนอกสุดเรียกว่า เอพิเดอร์มิส ส่วนเซลล์แถวที่อยู่ถัดเข้า
ไปเรียกว่า ไฮโพเดอร์มิส (hypodermis)
Free Powerpoint Templates
Page 153
การคายน้าของพืช
• การคายน้าของพืชมีความสัมพันธ์กับการลาเลียงน้าของพืชไปตามเซลล์ที่มีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ
ถ้าหากพืชคายน้าออกไปมากจะมีกระบวนการลาเลียงน้ามากด้วย
Free Powerpoint Templates
Page 154
การคายน้าของพืช
• ในขณะที่สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมกับการคายน้าทางปากใบ เช่น เมื่ออากาศมีความชื้นมาก
พืชบางชนิดจะกาจัดน้าออกมาในรูปของหยดน้า ทางรูเปิ ดเล็ก ๆ ตามปลายของเส้นใบ รู
เหล่านี้เรียกว่า ไฮดาโทด (hydathod) กระบวนการคายน้าของพืชในรูปของหยดน้าเช่นนี้
เรียกว่า กัตเตชัน (guttation) เนื่องจากพืชมีการดูดน้าอยู่ตลอดเวลา น้าจะเข้าไปอยู่ในราก
เป็นจานวนมากขึ้นทุกที ทาให้เกิดแรงดันของเหลวให้ไหลขึ้นไปตามท่อไซเลมในลาดับและ
ใบ และไหลออกมาทางรูเปิ ดของท่อเล็ก ๆ ที่อยู่ปลายของเส้น มองเห็นเป็นหยดน้าเล็ก ๆ
เกาะอยู่ตามขอบใบเราจะพบปรากฏการณ์นี้ในธรรมชาติได้อย่างชัดเจนในตอนเช้าที่อากาศ
มีความชื้นมาก ๆ ซึ่งมักไม่เกิดบ่อยนัก
Free Powerpoint Templates
Page 155
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายน้า
• 1.) แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นแสงมาก ปากใบจะเปิ ดได้กว้าง พืชจะคายน้าได้มาก
• 2.) อุณหภูมิ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลควบคู่กับแสงสว่างเสมอ ถ้าอุณหภูมิในบรรยากาศสูง พืชจะ
คายน้าได้มากและรวดเร็ว
• 3.) ความชื้นในบรรยากาศ ถ้าบรรยากาศมีความชื้นสูงจะคายน้าได้น้อย พืชบางชนิดจะกาจัด
น้าออกมาในรูปของหยดน้า ทางรูเปิ ดเล็กๆ ตามรูเปิ ดของเส้นใบ เรียกว่า การคายน้าเป็นหยด
หรือ กัตเตชัน ( guttation ) และถ้าในบรรยากาศมี ความชื้นน้อย พืชจะคายน้าได้มากและ
รวดเร็ว
Free Powerpoint Templates
Page 156
• 4.) ลม ลมจะพัดพาเอาความชื้นของพืชไปที่อื่น เป็นสาเหตุให้พืชสูญเสียน้ามากขึ้น ในภาวะที่ลม
สงบไอน้าที่ระเหยออกไปจะ คงอยู่ในบรรยากาศใกล้ๆ ใบ บรรยากาศจึงมีความชื้นสูงพืชจะคาย
น้าได้ลดลง แต่ถ้าลมพัดแรงมากพืชจะปิ ดหรือหรี่แคบลง มีผลทาให้การคายน้าลดลง
• 5.) ปริมาณน้าในดิน ถ้าสภาพดินขาดน้า หรือปริมาณน้าในดินน้อย พืชไม่สามารถนาไปใช้ได้
เพียงพอ ปากใบของพืชจะปิ ด หรือแคบหรี่ลง มีผลทาให้การคายน้าลดลง
• 6.) โครงสร้างของใบ ตาแหน่ง จานวน และการกระจายของปากใบ รวมถึงความหนาของคิวทิเคิล
( สารเคลือบผิวใบ ) ลักษณะเหล่านี้มีผลต่อการคายน้าของพืช
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายน้า
Free Powerpoint Templates
Page 157
Free Powerpoint Templates
Page 158
Free Powerpoint Templates
Page 159
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 160
Free Powerpoint Templates
Page 161
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 162
Free Powerpoint Templates
Page 163
Free Powerpoint Templates
Page 164
แร่ธาตุ ความสาคัญ
C H O N
S
P
Mg N
Ca
K
Fe
Cu
Mn Cl
อยู่ในสารอินทรีย์
อยู่ในกรดอะมิโนบางตัว
อยู่ใน DNA ,ATP ,เยื่อหุ้มเซลล์
อยู่ใน chlorophyll
อยู่ในผนังเซลล์
ควบคุมการเปิดปิดปากใบ
อยู่ใน cytochrome ใช้ถ่ายทอด e-
อยู่ใน cytochrome ใช้ถ่ายทอด e-
ช่วยให้เกิด photolysis
Chlorosis
Free Powerpoint Templates
Page 165
Free Powerpoint Templates
Page 166
Free Powerpoint Templates
Page 167
Free Powerpoint Templates
Page 168
Free Powerpoint Templates
Page 169
Free Powerpoint Templates
Page 170
Free Powerpoint Templates
Page 171
Free Powerpoint Templates
Page 172
Free Powerpoint Templates
Page 173
Free Powerpoint Templates
Page 174
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Free Powerpoint Templates
Page 175
Free Powerpoint Templates
Page 176
Free Powerpoint Templates
Page 177
Free Powerpoint Templates
Page 178
Free Powerpoint Templates
Page 179
Free Powerpoint Templates
Page 180
Free Powerpoint Templates
Page 181
การลาเลียงสารอาหารของพืช
(Translocation of Nutrients)
การลาเลียงอาหารเกิดขึ้นในโฟลเอม
• พืชทาการสังเคราะห์ด้วยแสงที่ใบได้น้าตาล แล้วเปลี่ยนเป็นแป้ง ส่งไปตามโฟลเอม ไปเลี้ยงส่วน
ต่าง ๆ ของพืช
• ในปี พ.ศ. 2229 มาร์เซลโล มัลพิจิ (Marcello Malpighi) ได้ทาการทดลองที่แสดงว่าพืชลาเลียง
อาหารไปตามท่อโฟลเอม โดยการควั่นและลอกเปลือกของลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ออก ทิ้งไว้ 2-
3 สัปดาห์
Free Powerpoint Templates
Page 182
การลาเลียงสารอาหารของพืช
(Translocation of Nutrients)
จากการทดลองพบว่าบริเวณรอยควั่นตอนบนโป่งออก เนื่องจากอาหารที่ลาเลียงลงมาจาก
ยอดมาสะสมอยู่มาก ต่อมาในปี พ.ศ. 2471 (ค.ศ.1928) ทีจี เมสัน และ อีเจ มาสเคล ( T. G.
Mason and E. J. Maskell) ได้สังเกตว่า การควั่นกิ่งไม่ได้มีผลต่อการคายน้าของพืชเนื่องจาก
น้าถูกลาเลียงผ่านทางไซเลมซึ่งอยู่ถัดจากเปลือกลงไป ในขณะที่น้าตาลนั้นมีการลาเลียงใน
โฟลเอมซึ่งอยู่ในส่วนของเปลือกที่ถูกตัดออกไป
Free Powerpoint Templates
Page 183
การลาเลียงสารอาหารของพืช
(Translocation of Nutrients)
กลไกการลาเลียงสารอาหารของพืช
• สมมติฐานที่อธิบายกลไกการลาเลียงสารอาหารของพืชที่ยอมรับกันทั่วไปในปัจจุบัน คือ Mass
Flow Hypothesis ซึ่งอธิบายว่าสารอาหารถูกลาเลียงไปในท่อโฟลเอมเกิดจากการผลักดันโดย
ความแตกต่างของความดันภายในท่อ สมมติฐานนี้มีนักวิทยาศาสตร์ได้ทาการศึกษาวิจัยเพื่อ
สนับสนุน ดังเช่น M.H Zimmerman ได้สังเกตการใช้ปากของเพลี้ยอ่อนเจาะเข้าไปในท่อโฟล
เอมของพืช เพื่อดูดของเหลวจากท่อจนล้นออกมาทางก้น (Honen dew) การวิเคราะห์
องค์ประกอบทางเคมีของของเหลวที่ไม่ผ่านลาตัวของเพลี้ยน่าจะเป็นสิ่งที่น่าเชื่อถือมากกว่า เขา
จึงตัดส่วนของลาตัวเพลี้ยโดยการทาให้สลบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และตัดตัวเพลี้ยด้วย
แสงเลเซอร์ ของเหลวที่ได้จากปากเพลี้ยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นน้าตาลซูโครส
Free Powerpoint Templates
Page 184
การลาเลียงสารอาหารของพืช
(Translocation of Nutrients)
กลไกการลาเลียงสารอาหารของพืช
• ดังนั้นถ้าให้ 14CO2 ทางใบกับพืชเพื่อทาการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งจะได้ซูโครสที่มี 14C เป็น
องค์ประกอบ และเมื่อให้เพลี้ยอ่อนแทงปากในโฟลเอมตาแหน่งต่าง ๆ ก็จะหาอัตราการเคลื่อนที่
ของน้าตาลในโฟลเอมได้ จากการทดลอง พบว่า น้าตาลในโฟลเอมสามารถเคลื่อนที่ด้วยอัตรา
ประมาณ 100 เซนติเมตร ต่อ ชั่วโมง จากผลการทดลองนี้ทาให้คิดได้ว่าการเคลื่อนที่ของน้าตาล
ในโฟลเอมคงไม่ใช่กระบวนการแพร่ธรรมดา ต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ด้วย
Free Powerpoint Templates
Page 185
Free Powerpoint Templates
Page 186
การลาเลียงสารอาหารของพืช
(Translocation of Nutrients)
ในทฤษฎี Mass Flow ซึ่งเสนอโดย Ernst Munch ในปี
ค.ศ.1930 (พ.ศ. 2473) อธิบายการไหลของของเหลว
ในเซลล์ลาเลียงอาหารว่า มีแรงผลักดันที่เกิดจากความ
แตกต่างของความดันระหว่างแหล่งสร้าง(Source) กับ
แหล่งเก็บ (Sink) ซึ่งความแตกต่างของความดันเกิด
จากการลาเลียงอาหารเข้าสู่โฟลเอมที่แหล่งสร้าง และ
การลาเลียงอาหารออกจากโฟลเอมที่แหล่งเก็บ พืชจะ
ใช้พลังงานในการลาเลียงอาหารเข้าสู่โฟลเอมที่แหล่ง
สร้าง ทาให้ความเข้มข้นของสารละลายในโฟลเอมเพิ่ม
มากขึ้น ความเข้มข้นของน้าในเซลล์โฟลเอมจึงลดลง
น้าจากเซลล์ไซเลมข้างเคียงจึงแพร่เข้าสู่เซลล์โฟลเอม
ทาให้เซลล์มีแรงดันเต่ง(Turgor Pressure) เพิ่มขึ้น
Free Powerpoint Templates
Page 187
การลาเลียงสารอาหารของพืช
(Translocation of Nutrients)
ในขณะเดียวกันการลาเลียงอาหารออกจากโฟลเอมไปที่เซลล์แหล่งเก็บ (Sink Cell) ทาให้ความ
เข้มข้นของน้าในเซลล์โฟลเอมเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสารละลายมีความเข้มข้นลดลง ทาให้น้าแพร่ไป
ยังเซลล์ไซเลมที่อยู่ข้างเคียง แรงดันเต่งในโฟลเอมจึงลดลง แรงดันเต่งที่แหล่งสร้างกับที่แหล่งเก็บ
จึงแตกต่างกันทาให้เกิดการแพร่ของสารจากเซลล์แหล่งสร้างมายังเซลล์แหล่งเก็บได้ ซึ่งไม่ต้องใช้
พลังงาน
Free Powerpoint Templates
Page 188
การลาเลียงสารอาหารของพืช
(Translocation of Nutrients)
• 1 น้าตาลที่พืชสร้างขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสง ส่วนหนึ่งจะถูกเปลี่ยนเป็นน้าตาลซูโครสแล้วลาเลียง
เข้าไปในซีฟทิวบ์ (ใช้ ATP ) ทาให้ความเข้มข้นของสาร
ในซีฟทิวบ์ต้นทางสูงขึ้น
• 2 น้าจากเซลล์ข้างเคียงออสโมซิสเข้ามาและเพิ่มแรงดัน
ในซีฟทิวบ์
• 3 แรงดันในซีฟทิวบ์ที่เพิ่มขึ้นจะดันให้สารละลายน้าตาล
ซูโครสลาเลียงไปตามท่อซีฟทิวบ์จนถึงเนื้อเยื่อต่าง ๆ
• 4 น้าตาลซูโครสจะออกจากซีฟทิวบ์เพื่อใช้ใน
กระบวนการต่าง ๆ หรือสะสมไว้ในเซลล์
• 5 เมื่อน้าตาลซูโครสถูกลาเลียงออกจากซีฟทิวบ์ ทาให้
ความเข้มข้นของสารในซีฟทิวบ์ลดลง น้าจึงออสโมซิสไป
ยังเซลล์ข้างเคียงกลับเข้าสู่ไซเลม
• 6 เมื่อน้ากลับเข้าไปในไซเลม การคายน้าของพืชก็จะดึง
ให้น้ากลับขึ้นไปสู่ใบต่อไป
2 plantstruc 2
2 plantstruc 2
2 plantstruc 2
2 plantstruc 2
2 plantstruc 2
2 plantstruc 2
2 plantstruc 2

More Related Content

What's hot

10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 

Similar to 2 plantstruc 2

Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...BhuritNantajeewarawa
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and functionsukanya petin
 
โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2nongnamka
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7amphaiboon
 

Similar to 2 plantstruc 2 (20)

Plant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichaiPlant 2 62_kruwichai
Plant 2 62_kruwichai
 
Plant 1 62_kruwichai
Plant 1 62_kruwichaiPlant 1 62_kruwichai
Plant 1 62_kruwichai
 
Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
2 plantstrruc 1
2 plantstrruc 12 plantstrruc 1
2 plantstrruc 1
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
Ecosys 1 62_new
Ecosys 1 62_newEcosys 1 62_new
Ecosys 1 62_new
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
Stem structure and function
Stem structure and functionStem structure and function
Stem structure and function
 
Lesson2plant1bykruwichai62
Lesson2plant1bykruwichai62Lesson2plant1bykruwichai62
Lesson2plant1bykruwichai62
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2โครงงาน Hi5 ม.5.2
โครงงาน Hi5 ม.5.2
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7
 
งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7งานนำเสนอบทที่7
งานนำเสนอบทที่7
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

2 plantstruc 2

  • 1. Free Powerpoint Templates Page 1 บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก (Plant Structure and Function) รายวิชาชีววิทยา 3 (ว30243) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2. Free Powerpoint Templates Page 2 ครูผู้สอน • นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา : – พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล – พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช – พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต – พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช – พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 5. Free Powerpoint Templates Page 5 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 9. Free Powerpoint Templates Page 9 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 10. Free Powerpoint Templates Page 10 โครงสร้างภายในลาต้น ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ : เมื่อตัดลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ที่ยังอ่อนอยู่ตามขวาง แล้วนามา ศึกษาจะพบลักษณะการเรียงตัวของลาต้นและรากคล้ายกันและลาต้นมีการเรียงตัว ดังนี้ 1) เอพิเดอร์มิส ( Epidermis ) อยู่ชั้นนอกสุด ปกติเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียว ไม่มี คลอโรฟิ ลล์ อาจเปลี่ยนแปลงไปเป็นขน หนาม หรือเซลล์คุม ( Guard Cell ) ผิวด้าน นอกของเอพิดอร์มิสมักมีสารพวกคิวทิน เคลือบอยู่เพื่อป้องกันการระเหยของน้า
  • 11. Free Powerpoint Templates Page 11 2) คอร์เทกซ์ ( Cortex ) มีอาณาเขตแคบกว่าในรากเซลล์ ส่วนนี้ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรงคิมาเรียง ตัวกันหลายชั้น เซลล์พวกนี้มักมีสีเขียวและสังเคราะห์ด้วยแสงได้ด้วย นอกจากนี้ยังช่วยสะสมน้า และอาหารให้แก่พืช เซลล์ชั้นคอร์เทกซ์ที่อยู่ติดกับเอพิเดอร์มิสเป็นเซลล์เล็กๆ 2-3 แถว คือ เซลล์ พวกคอลเลงคิมา และมีเซลล์สเกลอเรงคิมาแทรกอยู่ช่วยให้ลาต้นแข็งแรงขึ้น การแตกกิ่งของพืชจะ แตกในชั้นนี้เรียกว่า “ เอกโซจีนัสบรานชิ่ง ( Exogenous branching )” ซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งเป็น เอนโดจีนัสบรานชิ่ง ชั้นในของคอร์เทกซ์ คือ เอนโดเดอร์มิสเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวในลาต้น พืชส่วนใหญ่มักเห็นชั้นเอนโดเดอร์มิสได้ไม่ชัดเจนหรือไม่เห็นเลยซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งมีและเห็น ชัดเจน เซลล์ที่ทาหน้าที่ในการหลั่งสาร ( Secretory Cell ) เช่น เรซิน ( Resin ) น้ายาง ( Latex ) ก็ อยู่ในชั้นนี้ โครงสร้างภายในลาต้น
  • 12. Free Powerpoint Templates Page 12 คอร์เทกซ์ ( Cortex )
  • 13. Free Powerpoint Templates Page 13 3) สตีล ( Stele ) ในลาต้นฃั้นสองของสตีลจะแคบมากและแบ่งออกจากชั้นของคอร์เทกซ์ ได้ไม่ชัดเจนนัก และแตกต่างจากในราก ประกอบด้วย 3.1 มัดท่อลาเลียง อยู่เป็นกลุ่มๆ ด้านในเป็นไซเลม ด้านนอกเป็นโฟลเอ็มเรียงตัวในแนว รัศมีเดียวกัน โครงสร้างภายในลาต้น
  • 14. Free Powerpoint Templates Page 14 3.2 วาสคิวลาร์เรย์ (vascular ray) เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมา (parenchyma) ที่อยู่ระหว่าง มัดท่อลาเลียง เชื่อมต่อระหว่างคอร์เทกซ์และพิธ โครงสร้างภายในลาต้น
  • 15. Free Powerpoint Templates Page 15 3.3 พิธ (Pith) อยู่ชั้นในสุดเป็นไส้ในของลาต้นประกอบด้วยเนื้อเยื่อพาเรงคิมา ทาหน้าที่ สะสมแป้งหรือสารต่างๆ เช่น ผลึกแทนนิน ( Tannin ) พิธที่แทรกอยู่ในมัดท่อลาเลียงจะ ดูดคล้ายรัศมี เรียกว่า พิธเรย์ ( Pith Ray ) ทาหน้าที่สะสมอาหาร ช่วยลาเลียงน้า เกลือแร่ และอาหารไปทางด้านข้างของลาต้น โครงสร้างภายในลาต้น
  • 16. Free Powerpoint Templates Page 16 ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว : ส่วนใหญ่มีการเจริญเติบโตขั้นต้น ( Primary Growth ) เท่านั้น มีชั้น ต่างๆเช่นเดียวกับพืชใบเลี้ยงคู่ต่างกันที่มัดท่อลาเลียงรวมกันเป็นกลุ่มๆประกอบด้วยเซลล์ ค่อนข้างกลมขนาดใหญ่ 2 เซลล์ ซึ่งได้แก่ไซเลมและเซลล์เล็กๆ ด้านบนคือโฟลเอ็ม ส่วนทาง ด้านล่างของไซเลมเป็นช่องกลมๆ เช่นกันคือช่องอากาศมัดท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมี บันเดิลชีท ( Bundle Sheath ) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อพวกพาเรงคิมาที่มีแป้งสะสมหรืออาจเป็นเนื้อเยื่อ สเกลอเรงคิมามาหุ้มล้อมรอบเอาไว้ โครงสร้างภายในลาต้น
  • 17. Free Powerpoint Templates Page 17 กลุ่มของมัดท่อลาเลียงจะกระจายทุกส่วนของลาต้น แต่มักอยู่รอบนอกมากว่ารอบในและมัดท่อ ลาเลียงไม่มีเนื้อเยื่อเจริญด้านข้างหรือแคมเบียมคั่นอยู่ พืชพวกนี้จึงเจริญเติบโตด้านข้างจากัด แต่ มักจะสูงขึ้นได้มาก เนื่องจากพืชใบเลี้ยเดี่ยวมีเนื้อเยื่อเจริญบริเวณข้อทาให้ปล้องยืดยาวขึ้น ในพืช บางชนิดส่วนของพืชจะสลายไปกลายเป็นช่องกลวงอยู่กลางลาต้น เรียกว่า “ ช่องพิธ ( Pith Cavity ) ” เช่น ในลาต้นของไผ่ หญ้า เป็นต้น โครงสร้างภายในลาต้น
  • 19. Free Powerpoint Templates Page 19 ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ กับลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ 1. มีข้อและปล้องเห็นได้ชัดเจน 2. ไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา 3.มัดท่อน้าท่ออาหารกระจายไปทั่วลาต้น 4. ส่วนมากไม่มีแคมเบียม 5. ส่วนมากไม่มีการเจริญขั้นที่สอง 6. ส่วนมากไม่มีวงปี 7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการในการทางาน 1. เห็นได้ไม่ชัดเจนนัก 2. มีกิ่งก้านสาขามาก 3. มัดท่อน้าท่ออาหารเรียงตัวเป็นวงรอบ ลาต้น 4. ส่วนมากมีแคมเบียม นอกจากพืชล้มลุก บางชนิดไม่มี 5. ส่วนมากมีการเจริญขั้นที่สองและเจริญ ไปเรื่อยๆสัมพันธ์กับความสูง 6. ส่วนมากมีวงปี 7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการทางานสั้น แต่จะมีการสร้างขึ้นมาทดแทนอยู่เรื่อยๆ โดยแคมเบียม
  • 21. Free Powerpoint Templates Page 21 Shoot Development
  • 26. Free Powerpoint Templates Page 26 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Lenticel Cork
  • 29. Free Powerpoint Templates Page 29 การเจริญระยะทุติยภูมิ (Secondary growth) ของลาต้น แสดงวงปี (Annual ring) 1 2 3 Pith Annual ring (2 xylem)
  • 36. Free Powerpoint Templates Page 36 ชนิดของลาต้น สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลา ต้นใต้ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 1) ต้นไม้ยืนต้น (tree) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักต้นเดียว จากนั้นจึงแตกกิ่งก้านสาขาบริเวณ ยอด ลักษณะเนื้อแข็ง ลาต้นมีขนาดใหญ่ อายุยืนหลายปี
  • 37. Free Powerpoint Templates Page 37 ชนิดของลาต้น สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลา ต้นใต้ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 2) ต้นไม้พุ่ม (shrub) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักหลายต้น มักมีเนื้อไม้แข็งแต่มีขนาดเล็กว่าไม้ยืน ต้น แตกกิ่งก้านสาขาใกล้บริเวณผิวดิน
  • 38. Free Powerpoint Templates Page 38 ชนิดของลาต้น สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 3) ต้นไม้ล้มลุก (herb) เป็นต้นไม้ที่มีเนื้อไม้อ่อนหรือไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใหญ่มีอายุปีเดียว บางชนิดอาจ อยู่ได้สองปี เมื่อครบวัฏจักรชีวิตจะตายไป ไม้ล้มลุกบางชนิดที่มีลาต้นอยู่ใต้ดิน เมื่อส่วนที่อยู่เหนือ ดินตายส่วนที่อยู่ใต้ดินจะพักตัวอยู่และงอกในฤดูถัดไป
  • 39. Free Powerpoint Templates Page 39 ชนิดของลาต้น จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้ 1) ลาต้นที่มีเนื้อไม้ (woody stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม
  • 40. Free Powerpoint Templates Page 40 ชนิดของลาต้น จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้ 2) ลาต้นที่ไม่มีเนื้อไม้ (herbaceous stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภท ไม้ล้มลุก
  • 44. Free Powerpoint Templates Page 44 ลาต้นเลื้อยขนานไปกับผิวดิน หรือผิวน้า (Prostrate หรือ Creeping stem) ส่วนใหญ่ของพืชพวกนี้มีลาต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้ จึงต้องเลื้อยขนานไปกับผิวดิน เช่น ผักบุ้ง หญ้า แตงโม บัวบก ผักกระเฉด ผักตบชวา สตรอเบอรี่ เป็นต้นบริเวณข้อมีรากแตกเป็นแขนงออกมาแล้วปักลงดินเพื่อยึดลาต้นให้ ติดแน่นกับที่มีการแตกแขนงลาต้นออกจากตาบริเวณที่เป็นข้อ ทาให้มีลาต้นแตกแขนงออกไป ซึ่งเป็นการแพร่ พันธุ์วิธีหนึ่ง แขนงที่แตกออกมาเลื้อยขนานไปกับผิวดินหรือน้านี้เรียกว่า สโตลอน (Stolon) หรือรันเนอร์ (Runner) ที่ตรงกับภาษาไทยว่า ไหล
  • 45. Free Powerpoint Templates Page 45 ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber) 1) ใช้ลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไป (Twining stem หรือ Twiner) การพัน อาจเวียนซ้าย หรือเวียนขวา เช่น ต้นถั่ว ฝอยทอง เถาวัลย์ชนิดต่าง ๆ ผักบุ้งฝรั่ง บอระเพ็ด พืชพวกนี้มีลำต้นอ่อนเช่นเดียวกับพวกแรก แต่ไต่ขึ้นสูงโดยขึ้นไปตำมหลักหรือต้นไม้ที่อยู่ ติดกันวิธีกำรไต่ขึ้นสูงนั้นมีอยู่หลำยวิธีคือ แสดงลาต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไปพวกเถาวัลย์
  • 47. Free Powerpoint Templates Page 47 ลาต้นเลื้อยขึ้นสูง (Climbing stem หรือ Climber) 2) ลาต้นเปลี่ยนเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ Tendril climber) มือเกาะจะบิดเป็น เกลียวคล้ายสปริงเพื่อให้มีการยืดหยุ่น เมื่อลมพัดผ่านมือ เกาะจะยืดหดได้ตัวอย่างเช่น ต้นบวบ น้าเต้า ฟักทอง องุ่น แตงกวา ตาลึง พวงชมพู กะทกรก ลัดดาลิ้นมังกร เสาวรส โคกกระออม เป็นต้น (บางครั้ง Tendril อาจเกิดจากใบที่ เปลี่ยนแปลงไปจะทราบจากการสังเกต เช่น ใบถั่วลันเตา บริเวณปลายใบเปลี่ยนไปเป็นมือเกาะ) แสดงลาต้นเหนือดินที่เปลี่ยนแปลง ไปเป็นมือเกาะ (Stem tendril หรือ Tendril climber) ของต้นพวงชมพู
  • 49. Free Powerpoint Templates Page 49 ใช้รากพัน (Root climber) เป็นลาต้นที่ไต่ขึ้นสูงโดยงอกรากออกมาบริเวณข้อยึดกับ หลักหรือต้นไม้ต้นอื่น ตัวอย่างเช่น ต้นพลู พลูด่าง พริกไทยรากพืชเหล่านี้หากยึดติดกับต้นไม้จะไม่แทงราก เข้าไปในลาต้นของพืชที่เกาะ ไม่เหมือนพวกกาฝากหรือ ฝอยทองซึ่งเป็นพืชปรสิตที่แทงรากเข้าไปในมัดท่อ ลาเลียงของพืชที่เกาะ แสดงใช้รากพัน (Root climber) ของต้นพลูด่าง
  • 50. Free Powerpoint Templates Page 50 ลาต้นเปลี่ยนเป็นหนาม (Stem spine หรือ Stem thorn) หรือขอเกี่ยว (Hook) บางทีเรียกลาต้นชนิดนี้ว่า สแครมเบลอร์ (Scrambler) เพื่อใช้ในการไต่ขึ้นที่ สูง และยังทาหน้าที่ป้องกันอันตรายอีกด้วย เช่น หนามของต้นเฟื่องฟ้าหรือตรุษจีนมะนาว มะกรูด และส้มชนิดต่าง ๆ หนามเหล่านี้จะแตกออกมาจาก ตาที่อยู่บริเวณซอกใบ หนามบางชนิดเปลี่ยนแปลงมาจากใบ หนามบาง ชนิดไม่ใช่ทั้งลาต้น ใบและกิ่งที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ เกิดจากผิวนอกของลาต้นงอกออกมาเป็นหนาม เช่น หนามกุหลาบส่วนต้นกระดังงา และการเวก มี ขอเกี่ยวที่เปลี่ยนแปลงมาจากลาต้นแล้วยังมีดอก ออกมาจากขอเกี่ยวได้ด้วย
  • 53. Free Powerpoint Templates Page 53 ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบ (Cladophyll หรือPhylloclade หรือ Cladode) ลาต้นที่เปลี่ยนไปอาจแผ่แบนคล้ายใบ หรือเป็นเส้นเล็กยาวและยังมีสีเขียว ทาให้ เข้าใจผิดว่าเป็นใบ เช่น สนทะเล หรือ สนประดิพัทธ์ ที่มีสีเขียวต่อกันเป็นท่อน ๆ นั้นเป็นส่วนของลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไป ส่วนใบที่แท้จริงเป็นแผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่รอบ ๆ ข้อ เรียกว่า ใบเกล็ด (Scale leaf) เช่นเดียวกับต้นโปร่งฟ้า (Asparcus) ที่เห็นเป็น เส้นฝอยแผ่กระจายอยู่เป็นแผงและมีสีเขียวนั้นเป็นลาต้น ส่วนใบเป็นใบเกล็ดเล็กๆ ติดอยู่ตรงข้อ นอกจากนั้นยังมีลาต้นอวบน้า (Succulent) เป็นลาต้นของพืชที่อยู่ในที่แห้งแล้ง กันดารน้า จึงมีการสะสมน้าไว้ในลาต้น เช่น ต้นกระบองเพชร สลัดได และ พญาไร้ใบ ลาต้นบางชนิดอาจเกิดจากตาหรือหน่อเล็กๆ ที่อยู่เป็นยอดอ่อนหรือใบ เล็ก ๆประมาณ 2-3 ใบที่แตกออกบริเวณซอกใบกับลาต้น หรือแตกออกจากยอดลา ต้นแทนดอก เมื่อหลุดออกจากต้นเดิมร่วงลงดินสามารถเจริญไปเป็นต้นใหม่ได้ ตัวอย่างเช่นหอม กระเทียม ตะเกียงสับปะรด ศรนารายณ์ เป็นต้น
  • 59. Free Powerpoint Templates Page 59 แง่งหรือเหง้า (Rhizome) ลาต้นใต้ดินจะอยู่ขนานกับผิวดินเห็นข้อปล้องได้ชัดเจน ตามข้อมีใบสีน้าตาลที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีลักษณะเป็นเกล็ด เรียกว่าใบเกล็ด หุ้มตาเอาไว้ มีรากงอกออกจากเหง้า หรือ แง่งนั้น ๆ ตาอาจแตกแขนงเป็นใบอยู่เหนือดิน หรือเป็นลา ต้นอยู่ใต้ดินก็ได้ เช่นหญ้าแห้วหมู ขิง ข่า ขมิ้น มันฝรั่ง ว่าน สะระแหน่ หญ้าแพรก พุทธรักษา กล้วย เป็นต้น แสดงลาต้นใต้ดินชนิด แง่งหรือเหง้า (Rhizome) ของต้นว่านมหาปราบ
  • 61. Free Powerpoint Templates Page 61 ทูเบอร์ (Tuber) เป็นลาต้นใต้ดินที่งอกออกมาจากปลายไรโซมมีปล้อง เพียง 3-4 ปล้อง ตามข้อไม่มีใบเกล็ดและรากสะสม อาหารเอาไว้มากในลาต้นส่วนใต้ดิน จึงดูอ้วนใหญ่กว่า หัวชนิดไรโซม แต่บริเวณที่เป็นตาจะบุ๋มลงไป ตัวอย่างเช่นมันฝรั่ง เหนือดินมีลาต้น และใต้ดินมีไร โซม ซึ่งบริเวณปลายพองออกเป็นทูเบอร์ ดังในรูปที่ชี้ ว่าเป็น “Eye” นั้นคือตานั่นเองถ้ามีความชื้นพอเพียง ต้นใหม่จะงอกออกมาจากบริเวณตา ซึ่งผิดกับหัวมัน เทศซึ่งเป็นรากไม่สามารถงอกต้นใหม่จากบริเวณหัวที่ มีรอยบุ๋มได้ เพราะไม่ใช่ตา ตัวอย่างอื่น ๆ ของหัวชนิดทู เบอร์ ได้แก่ หญ้าแห้วหมู หัวมันมือเสือ มันกลอย
  • 63. Free Powerpoint Templates Page 63 หัวกลีบ หรือบัลบ์ (Bulb) เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง อาจมีส่วนพ้นดินขึ้นมาบ้างก็ได้ ลาต้นมี ขนาดเล็กที่มีปล้องที่สั้นมากบริเวณปล้องมีใบเกล็ดที่ซ้อนกันหลาย ชั้นจนเห็นเป็นหัว เช่น หัวหอม หัวกระเทียม อาหารสะสมอยู่ในใบ เกล็ดในลาต้นไม่มีอาหารสะสมบริเวณส่วนล่างของลาต้นมีรากเส้น เล็ก ๆ แตกออกมาหลายเส้นเมื่อนาหัวหอมมาผ่าตามยาวจะพบใบ เกล็ดเป็นชั้น ๆ ชั้นนอกสุดเป็นแผ่นบาง ๆเนื่องจากไม่มีอาหารสะสม ชั้นถัดเข้าไปมีอาหารสะสม จึงมีความหนากว่าแผ่นนอกชั้นในสุด ของลาต้นเป็นส่วนยอด ถ้าเอาหัวชนิดนี้ไปปลูกส่วนยอดจะงอก ออกมาเป็นใบสีเขียว แสดงลาต้นใต้ดิน ชนิดหัวกลีบหรือบัลบ์ (Bulb) ของต้นแสนพันล้อม
  • 66. Free Powerpoint Templates Page 66 คอร์ม (Corm) ลักษณะของลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรงเช่นเดียวกับหัว กลีบ ลักษณะที่แตกต่างกันคือเก็บอาหารไว้ในลา ต้นแทนที่จะเก็บไว้ในใบเกล็ดลาต้นจึงมีลักษณะ อวบใหญ่ ทางด้านล่างของลาต้นมีรากเส้นเล็ก ๆ หลาย ๆ เส้นที่ข้อมีใบเกล็ดบาง ๆ หุ้ม ตาแตก ออกมาจากข้อเป็นใบชูขึ้นสูงหรืออาจเป็นลาต้น ใต้ดินต่อไป ตัวอย่างเช่น เผือก ซ่อนกลิ่นฝรั่ง และแห้ว เป็นต้น
  • 68. Free Powerpoint Templates Page 68 ใบ ( Leaves) เป็น อวัยวะที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้างโดยมีตาเหน่งอยู่ที่ข้อปล้อง ของต้นและ กิ่ง ใบส่วนใหญ่มักแผ่แบน มีสีเขียวของคลอโรฟิ ลล์ ทาหน้าที่หลักใน การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) และคายน้า (transpiration) รูปร่างและ ขนาดของใบแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช หน้าที่หลักของใบคือใช้ในการ สังเคราะห์แสง การหายใจและการคายน้า
  • 69. Free Powerpoint Templates Page 69 ใบ ( Leaves)
  • 70. Free Powerpoint Templates Page 70 การเรียงของใบ (Leaf Arrangement)
  • 71. Free Powerpoint Templates Page 71 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf 1. แผ่นใบหรือตัวใบ (leaf blade or lamina) มักแผ่แบน มีสีเขียว ส่วนใหญ่มีรูปร่างรี บาง ชนิดอาจมีรูปร่างกลม รูปหัวใจ รูปพัด ในใบหญ้าแผ่นใบมักจะเรียวยาว แผ่นใบเป็นส่วน สาคัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่สร้างอาหาร บางชนิดมีขนาดเล็กเป็นใบเกล็ด (scale leaf) หรือม้วนเป็นท่อ เช่นในใบหอม
  • 73. Free Powerpoint Templates Page 73 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf • 1.1 เส้นใบ ( vein ) ให้สังเกตเส้นกลางใบ ( midrib ) ซึ่งต่อเป็นเนื้อเดียวกับก้านใบ จาก เส้นกลางใบแยกออกเป็นเส้นใบ ซึ่งจะแยกแขนงออกไปอีกเป็นเส้นแขนงใบ ( vientet ) การเรียงของใบ ( venation ) เส้นใบแบบขนาน ( parallel venation )พบในพืชใบเลี้ยง เดี่ยว แบ่งเป็นเรียงตามยาวของใบ (plamately parallel venation) และเส้นใบขนานกัน ตามขวางของใบ ( pinately parallel venation )
  • 74. Free Powerpoint Templates Page 74 เส้นใบ ( vein ) • Parallel venation ลักษณะเส้นใบขนานกัน ถ้ามีเส้นกลางใบและมีเส้นใบย่อย แตกออกจากเส้นกลางใบขนานกัน ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า Costal parallel เช่น ใบหญ้า อ้อย ข้าว ถ้าเส้นใบขนานกันตั้งแต่โคนใบ ไม่มีเส้นใบกลางใบ แบบนี้ เรียกว่า Basal parallel เช่น ใบ พุทธรักษา ใบตอง
  • 75. Free Powerpoint Templates Page 75 เส้นใบ ( vein ) • Reticulate venation หรือ netted venation ลักษณะคล้ายร่างแห สานกัน ถ้ามี เส้นกลางใบและมีเส้นใบย่อยแตกออกจากเส้นกลางใบ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า pinnately netted venation ถ้าแตกจากโคนของใบ ไม่มีเส้นใบกลางใบ แบบนี้ เรียกว่า palmately
  • 76. Free Powerpoint Templates Page 76 เส้นใบ ( vein )
  • 77. Free Powerpoint Templates Page 77 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf • 1.2 ส่วนของใบเลี้ยงคู่เป็นแบบตาข่าย (netted หรือ recticulated venation) ซึ่งมี 2 แบบคือ แบบตาข่ายขนนก ( pinnately netted venation ) ตาข่ายแบบรูปมือ ( palmately netted venation )
  • 78. Free Powerpoint Templates Page 78 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf • 2. ก้านใบ (petiole) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างตัวใบกับลาต้น มีลักษณะเป็น ก้านสั้นๆ ในใบหญ้าก้านใบมักจะแบนบางโอบส่วนลาต้นไว้ ซึ่งนิยมเรียกว่ากาบ หรือ sheath พืชบางชนิดอาจไม่มีก้านใบ เรียกใบแบบนี้ว่า sessile leaf ถ้ามี ก้านใบเรียกว่า petiolate
  • 79. Free Powerpoint Templates Page 79 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf • 3. หูใบ (stipule) เป็นส่วนของระยางค์ที่ยื่นออกมาตรงโคนใบที่ติดกับลาต้น หูใบ มักมีอายุไม่นานและจะลดร่วงไป หูใบมักมีสีเขียวแต่อาจมีสีเช่น หูใบของต้นยาง อินเดียหูใบมีสีสันสวยงามหุ้มยอดอ่อนเอาไว้ พืชบางชนิดอาจไม่มีหูใบ เรียกใบ แบบนี้ว่า exstipulate leaf ถ้ามีหูใบเรียกว่า stipulate leaf เช่น เข็ม พุดน้าบุด มี หูใบอยู่ระหว่างใบทั้งสองข้าง กุหลาบมีหูใบเชื่อมติดต่อกับก้านใบ ชบามีหูใบอยู่ บริเวณซอกใบ
  • 80. Free Powerpoint Templates Page 80 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf • 4. ขอบใบ (Leaf margin) หมายถึงส่วนริมสุดของตัวใบตั้งแต่โคนใบจนถึงปลาย ใบ พืชแต่ละชนิดจะมีลักษณะขอบใบแตกต่างกันไป เช่น ขอบใบเรียบ ขอบใบ หยัก ขอบใบเว้า
  • 82. Free Powerpoint Templates Page 82 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf • 5. โคนใบ หรือฐานใบ (Leaf base) คือส่วนที่อยู่ล่างสุดของแผ่นใบที่ติดกับก้าน ใบหรือกิ่ง
  • 84. Free Powerpoint Templates Page 84 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf • 6. ปลายใบ (Leaf apex) ส่วนของแผ่นใบที่อยู่ปลายสุดตรงข้ามกับก้านใบ ปลายใบของพืชแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกันไป
  • 86. Free Powerpoint Templates Page 86 ส่วนประกอบของใบ Complete Leaf • 7. เส้นกลางใบ (Midrib) คือ ส่วนที่ยื่นต่อจากก้านใบเข้าไปในตัวใบ มีลักษณะเป็น สันนูน แบ่งใบออกเป็นสองซีก เส้นกลางใบจะแตกแขนงมากมายกระจายไปทั่วแผ่น ใบ เรียกว่า เส้นใบ (Vein) ซึ่งจะช่วยให้แผ่นใบกางอยู่ได้
  • 91. Free Powerpoint Templates Page 91 ใบพืช C3 ใบพืช C4
  • 94. Free Powerpoint Templates Page 94 การจัดประเภทของใบ • 1. ใบแท้ (Foliage leaf) คือใบไม้ปกติทั่วๆ ไป มีสีเขียวและแผ่นเป็นแผ่นกว้าง แบนเพื่อทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง หายใจ และคายน้า แบ่งออกเป็น 2 พวก ใหญ่ๆ คือ ใบเดี่ยว และใบประกอบ • 2. ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf) พืช บางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วย แสง ได้แก่ มือเกาะ หนาม สะสมอาหาร เป็นต้น
  • 95. Free Powerpoint Templates Page 95 ใบแท้ (Foliage leaf) • 1. ใบเดี่ยว (simple leaf) ใบที่มีตัวใบแผ่นเดียว เช่น ใบน้อยหน่า มะม่วง ชมพู่ พืชบางชนิดตัวใบเว้า โค้งไปมา จึงทาให้ดูคล้ายมีตัวใบหลายแผ่นแต่บางส่วนของ ตัวใบยังเชื่อมกันอยู่ถือว่า เป็นใบเดี่ยว เช่น ใบมะละกอ ใบฟักทอง ตัวใบมักติด กับก้านใบ ถ้าใบที่ไม่มีก้านใบเรียก sessile leaves เช่น บานชื่น
  • 96. Free Powerpoint Templates Page 96 ใบแท้ (Foliage leaf) • 2. ใบประกอบ (compound leaf) ใบที่มีตัวใบหลายแผ่นติดอยู่กับก้านใบเดียว เช่น ขี้เหล็ก ใบ จามจุรี ใบย่อย เรียกว่า leaflets ใบประกอบจะมีตาที่ซอกใบที่ติดกับลาต้นเท่านั้น (แต่ส่วนที่ เป็นก้านใบย่อยจะไม่พบตา) ใบประกอบยังสามารถแบ่งเป็นประเภทย่อยๆ ได้ 2 ประเภทดังนี้
  • 97. Free Powerpoint Templates Page 97 ใบประกอบ (compound leaf) • Pinnately compound leaf (ใบประกอบแบบขนนก) ใบที่ประกอบด้วยหลายใบ ย่อย (leaflets) แต่ละใบย่อยมีก้านใบย่อย (petiolule) ออกจากแกนกลาง (rachis) เป็นคู่ๆ คล้ายขนนก
  • 98. Free Powerpoint Templates Page 98 Pinnately compound leaf • ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว (Pinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วย ใบย่อยแตกออกจากก้านใบเพียงครั้งเดียว ใบย่อยแต่ละใบจะมีก้านใบย่อย เรียกว่า petiolue ได้แก่ ใบกุหลาบ ใบมะขาม ใบขี้เหล็ก ใบสะเดา ใบทองอุไร ใบกาลพฤกษ์
  • 99. Free Powerpoint Templates Page 99 Pinnately compound leaf • ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น (bipinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วย ใบย่อยแตกออกจากก้านใบเพียง 2 ครั้ง และมีช่วงของก้านใบหรือแกนกลาง 2 แห่ง คือ rachis และ rachilla เช่น ใบหางนกยูงฝรั่ง จามจุรี กระถิน
  • 100. Free Powerpoint Templates Page 100 Pinnately compound leaf • ใบประกอบแบบขนนกสามชั้น (tripinnately compound leaf) ใบที่ ประกอบด้วยใบย่อยแตกออกจากก้านใบเพียง 3ครั้ง และมีช่วงของก้านใบหรือ แกนกลาง 2 แห่ง คือ rachis และ rachilla แต่แกนกลางที่ 3 อาจเรียกรวมว่า rachilla ตัวอย่าง เช่น ใบมะรุม บีบ
  • 101. Free Powerpoint Templates Page 101 ใบประกอบ (compound leaf) • Palmately compound leaf (ใบประกอบแบบฝ่ามือ) ใบที่ประกอบด้วยหลายใบ ย่อย (leaflets) แตกออกจากส่วนก้านใบลักษณะคล้ายนิ้วมือ ซึ่งแบ่งเป็น ประเภทต่างๆ ดังนี้ bifoliage ใบที่ประกอบด้วยใบย่อย 2 ใบ trifoliage ใบที่ ประกอบด้วยใบย่อย 3 ใบ
  • 102. Free Powerpoint Templates Page 102 Palmately compound leaf bifoliage trifoliage
  • 104. Free Powerpoint Templates Page 104 ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ ด้วยแสง ได้แก่ 1. มือเกาะ (leaf tendril) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อยึดและพยุงลาต้นให้ไต่ขึ้นที่สูง ได้ เช่น ถั่วลันเตา มะระ ตาลึง เป็นต้น โดยอาจเปลี่ยนแปลงมาจากทั้งใบหรือส่วนต่าง ๆ ของใบ เช่น หูใบ ก้านใบ ปลายใบ หรือใบย่อย
  • 105. Free Powerpoint Templates Page 105 มือเกาะ (Leaf tendril) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นมือเกาะเพื่อยึด และพยุงลาต้นให้ขึ้นสูง มือเกาะอาจ เปลี่ยนมาจากใบบางส่วน หรือใบทั้งใบก็ ได้ ตัวอย่างมือเกาะของถั่วลันเตา ถั่วหอม บานบุรีสีม่วง พวงแก้วดุรั่น มะระ กะทกรก ดองดึง หวายลิง เป็นต้น แสดงมือเกาะ (Leaf tendrill) ของต้นกะทกรก
  • 106. Free Powerpoint Templates Page 106 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ ด้วยแสง ได้แก่ 2. หนาม (Leaf spine) เป็นใบที่เปลี่ยนเป็นหนาม เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ที่ จะมากัดกิน และช่วยลดการคายน้าอีกด้วย เช่น มะขามเทศ กระบองเพชร ป่าน ศรนารายณ์ สับปะรด เป็นต้น ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 107. Free Powerpoint Templates Page 107 หนาม (Leaf spine) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงเป็นหนาม เพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ที่มากัดกิน พร้อมกับป้องกันการคายน้า เนื่องจากปากใบลดน้อยลงกว่าปกติ หนาม ที่เกิดอาจมีการเปลี่ยนแปลงทั้งใบกลายเป็นหนาม หรือบางส่วนของใบ กลายเป็นหนามก็ได้ตัวอย่างเช่น หนามของต้นเหงือกปลาหมอ เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบและหูใบ หนามของต้นกระบองเพชร เปลี่ยนแปลงมาจากใบหนามมะขามเทศเปลี่ยนแปลงมาจากหูใบ หนาม ของศรนารายณ์ (หรือต้นร้อยปี) เปลี่ยนแปลงมาจากขอบใบ เป็นต้น
  • 109. Free Powerpoint Templates Page 109 แสดงใบเปลี่ยนแปลงเป็นหนามของต้นกระบองเพชร
  • 110. Free Powerpoint Templates Page 110 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 3. ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่สะสมอาหารและน้า จึงมี ลักษณะอวบอ้วนเนื่องจากสะสมน้าและอาหารไว้มาก เช่น ใบเลี้ยงของพืชต่างๆ ใบว่านหาง จระเข้ กาบกล้วย ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 111. Free Powerpoint Templates Page 111 ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นที่เก็บสะสมอาหาร จึง มีลักษณะอวบหนา ได้แก่ใบเลี้ยง (Cotyledon) และใบพืชอีกหลายชนิด เช่น ใบว่านหางจระเข้ หัว หอม หัวกระเทียม กาบกล้วย ส่วนกะหล่าปลีเก็บ อาหารสะสมไว้ที่เส้นใบ และก้านใบ อนึ่งใบเลี้ยงเป็นใบใบแรกที่อยู่ในเมล็ด พืชบาง ชนิดมีใบเลี้ยงขนาดใหญ่เนื่องจากการสะสมอาหาร ไว้ โดยดูดอาหารมาจากเอนโดสเปิร์ม (Endosperm) เพื่อนาไปใช้ในการงอกของต้นอ่อน ใบเลี้ยงจึงมีลักษณะอวบใหญ่ ใบเลี้ยงยังมีหน้าที่ ปกคลุมเพื่อป้องกันยอดอ่อนไม่ให้เป็นอันตราย เมื่อ ยอดอ่อนแทงทะลุดินขึ้นมา และเมื่อพ้นดินแล้วยัง ช่วยสังเคราะห์อาหารอีกด้วย ในพืชบางชนิด แสดงใบสะสมอาหารของต้นว่านหางจระเข้
  • 112. Free Powerpoint Templates Page 112 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ ด้วยแสง ได้แก่ 4. ใบเกล็ด (Scale leaf) มีลักษณะเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีคลอโรฟิ ลล์ เช่น ใบเกล็ดของ สนทะเล โปร่งฟ้า ขิง ข่า เผือก แห้ว เป็นต้น ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 113. Free Powerpoint Templates Page 113 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ ด้วยแสง ได้แก่ 5. เกล็ดหุ้มตา (Bud scale) มีลักษณะเป็นแผ่นหุ้มตาไว้ เมื่อตาเจริญเติบโตก็จะดัน ให้เกล็ดหุ้มตากางออกหรือหลุดร่วงไป เช่น ในต้นสาเก จาปี และยาง เป็นต้น ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 114. Free Powerpoint Templates Page 114 เกล็ดหุ้มตา (Bud scale) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่หุ้ม ตาหรือคลุมตาไว้ เมื่อตาเจริญเติบโต ออกมา จึงดันให้เกล็ดหุ้มตาหลุดไป พบในต้นยาง จาปี สาเก เป็นต้น แสดง เกล็ดตา (Bud scale)
  • 115. Free Powerpoint Templates Page 115 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 6. ฟิ ลโลด (Phyllode) หรือ Phyllodium (Gr. phyllon = ใบ) เป็นส่วนต่างๆ ของใบ ที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นแบนคล้ายตัวใบ พืชที่มีใบแบบนี้มักจะไม่มีใบที่แท้จริง เช่น ใบกระถินณรงค์เปลี่ยนแปลงมาจากก้านใบ ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 116. Free Powerpoint Templates Page 116 ฟิลโลด (Phyllode หรือ Phyllodium ) บางส่วนของใบเปลี่ยนแปลงไปเป็น แผ่นแบนคล้ายใบแต่แข็งแรงกว่าปกติ ทาให้ไม่มีตัวใบที่แท้จริง จึงลดการ คายน้าได้ด้วย เช่น ใบกระถินณรงค์ ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากก้านใบ แสดงใบเปลี่ยนแปลงไปเป็นแผ่นคล้ายใบ ของ ต้นระถินรณงค์ (Rakbankerd Limited,2006)
  • 117. Free Powerpoint Templates Page 117 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ ด้วยแสง ได้แก่ 7. ทุ่นลอย (Floating leaf) พืชน้าบางชนิด เช่น ผักตบชวา จะมีก้านใบที่พองออก ภายในมีช่องว่างให้อากาศแทรกอยู่มาก จึงช่วยพยุงลาต้นทาให้สามารถลอยน้าได้ ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 118. Free Powerpoint Templates Page 118 ทุ่นลอย (Floating leaf) พืชน้าบางชนิดมีการเปลี่ยนแปลงก้านใบ ให้พองโตคล้ายทุ่น ภายในมีเนื้อเยื่อที่จัด ตัวอย่างหลวม ๆ ทาให้มีช่องอากาศกว้าง ใหญ่ สามารถพยุงลาต้นให้ลอยน้ามาได้ เช่น ผักตบชวา แสดงทุนลอย (Floating leaf) ของผักตบชวา
  • 120. Free Powerpoint Templates Page 120 ใบประดับ (Bract) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไป ทาหน้าที่ ช่วยรองรับดอกหรือช่อดอก อยู่ บริเวณซอกใบ และมักมีสีเขียว แต่ อาจมีสีอื่นก็ได้ ใบประดับมิได้เป็น ส่วนใดส่วนหนึ่งของดอก ตัวอย่างเช่น กาบปลีของกล้วย กาบเขียงของมะพร้าวและหมากซึ่ง มีสีเขียว บางท่านจัดรวมใบดอก และใบประดับไว้เป็นชนิดเดียวกัน แต่ถ้ามีสีสวยงามเรียกว่า ใบดอก แสดง ใบประดับที่เรียกว่า กาบเขียงของต้นหมาก
  • 121. Free Powerpoint Templates Page 121 แสดง ใบประดับที่เรียกว่ากาบเขียงของ ต้นมะพร้าว แสดง ใบประดับที่เรียกว่ากาบปลี ของต้นกล้วย
  • 123. Free Powerpoint Templates Page 123 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 8. ใบประดับหรือใบดอก (Floral leaf หรือ Bract: L. bractea = แผ่นโลหะ) เป็นใบ ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่ช่วยรองรับดอก มักมีสีเขียว แต่พืชหลายชนิดมีใบ ประดับเป็นสีอื่นๆ คล้ายกลีบดอก เพื่อช่วยล่อแมลงสาหรับผสมเกสร เช่น เฟื่องฟ้า คริสต์มาส หน้าวัว เป็นต้น ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 124. Free Powerpoint Templates Page 124 ใบดอก (Floral leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปมีสีสวยงาม คล้ายกลีบดอก ทาหน้าที่ช่วยล่อ แมลง เช่น หน้าวัว (เป็นส่วนที่เป็น แผ่นสีแดงเรียกว่า Spathe) อุตพิด คริสต์มาส เฟื่องฟ้า แสดงใบดอกของต้นหน้าวัวและต้นเฟื่องฟ้า
  • 125. Free Powerpoint Templates Page 125 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการ สังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 9. ใบสืบพันธุ์ (Vegetative reproductive leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อ ช่วยในการแพร่พันธุ์ เช่น ใบคว่าตายหงายเป็น ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 126. Free Powerpoint Templates Page 126 ใบแพร่พันธุ์ (Vegetative reproductive organ) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อช่วยแพร่พันธุ์ โดยบริเวณของใบที่มีลักษณะเว้าเข้า เล็กน้อย มีตา (Aventitious bud) ที่งอก ต้นเล็ก ๆ ออกมาได้ ตัวอย่างเช่น ใบของ ต้นตายใบเป็น (หรือคว่าตายหงายเป็น) ต้นเศรษฐีพันล้าน ต้นโคมญี่ปุ่ น แสดงใบแพร่พันธุ์ (Vegetative reproductive organ) ของต้นโคมญี่ปุ่ น
  • 127. Free Powerpoint Templates Page 127 • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ ด้วยแสง ได้แก่ 10. กับดักแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) เป็นใบที่ เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่ดักจับแมลงหรือสัตว์เล็กๆ โดยมีการสร้างเอนไซม์สาหรับ ย่อยแล้วดูดซึมแร่ธาตุไปใช้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น หยาดน้าค้าง กาบหอยแครง และ หม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นต้น ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf)
  • 128. Free Powerpoint Templates Page 128 ใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดักแมลง หรือ สัตว์ขนาดเล็ก ภายในกับดักมีต่อมสร้าง เอนไซม์ประเภทโพรทีเอส (Protease) ที่ย่อย โปรตีนสัตว์ที่ติดอยู่ในกับดักได้ พืชชนิดนี้มี ใบปกติที่สามารถสังเคราะห์แสงได้เหมือนพืช ทั่ว ๆ ไป แต่พืชเหล่านี้มักอยู่ในที่มีความชื้น มากกว่าปกติ อาจขาดธาตุอาหารบางชนิดจึง ต้องมีส่วนที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นกับดัก เช่น ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง (หรือน้าเต้าฤๅษี) ต้น กาบหอยแครง ต้นหยาดน้าค้างต้นสาหร่าย ข้าวเหนียวหรือสาหร่ายนา (ไม่ใช่สาหร่าย แต่เป็นพืชน้าขนาดเล็ก)เป็นต้น แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) ของ ต้นหม้อข่าวหม้อแกงลิง (Carnivorous Plant Website, 2006)
  • 129. Free Powerpoint Templates Page 129 แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) ของต้นหยาดน้าค้าง (Carnivorous Plant Website, 2006) แสดงใบจับแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) ของต้นกาบหอยแครง (Carnivorous Plant Website, 2006)
  • 130. Free Powerpoint Templates Page 130 ใบเกล็ด (Scale leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนมาจากใบแท้ เพื่อทา หน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ตาและยอด อ่อน ใบเกล็ดไม่มีสีเขียว เพราะไม่มี คลอโรฟิลล์ เช่น ใบเกล็ดของสนทะเลที่ เป็นแผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่รอบ ๆ ข้อใบเกล็ด ของโปร่งฟ้าเป็นแผ่นเล็ก ๆ ติดอยู่ตรงข้อ เช่นเดียวกัน ใบเกล็ด ของขิงข่า เผือก แห้วจีน เป็นต้น นอกจากนี้ใบเกล็ดบาง ชนิดยังสะสมอาหารไว้ด้วย ใบเกล็ดจึงมี ขนาดใหญ่ เช่น หัวหอม หัวกระเทียม แสดง ใบเกล็ด (Scale leaf)
  • 132. Free Powerpoint Templates Page 132 ข้อควรจา !!! ส่วนสะสมอาหารของพืชดอก ต้น : ขิง ข่า ขมิ้น มันฝรั่ง เผือก แห้ว ใบ : หอมหัวใหญ่ส่วนที่เรากิน ราก : แครอท หัวไชเท้า กระชาย มันแกว มันเทศ มันสาปะหลัง สารในพืชที่เราควรรู้จัก 1. ที่ cell wall : pectin cellulose hemicellulose lignin 3. ฉาบอยู่บนใบ : cutin wax 2. ที่ cork และ endodermis : suberin 4. พอกอยู่ในเนื้อไม้ : lignin suberin tannin resin ฯลฯ เนื้อเยื่อถาวรบางที่เปลี่ยนกลับเป็นเนื้อเยื่อเจริญแล้วสร้าง 1. รากแขนง เกิดจาก pericycle 2. กิ่งแขนงเกิดจาก cortex 3. Cork cambium 4. Vascular cambium
  • 133. Free Powerpoint Templates Page 133 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 138. Free Powerpoint Templates Page 138 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 143. Free Powerpoint Templates Page 143 • การคายน้าคือการสูญเสียน้าของพืชในรูปของไอน้า น้าที่พืชดูดขึ้นไปจะใช้ในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงเพียงร้อยละ 1 - 2 เท่านั้น น้าส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 98 - 99 จะสูญเสียไปในรูป ของการคายน้าโดยน้าเปลี่ยนเป็นไอและระเหยออกไป น้าส่วนใหญ่จะระเหยออกทางปากใบ (stinata) เรียกว่า สโตมาทอลทรานสพิเรชัน (stomatal transpiration) การคายน้าของพืช
  • 144. Free Powerpoint Templates Page 144 การคายน้าของพืช • นอกจากนี้น้าอาจสูญเสียทางผิวใบและส่วนของลาต้นอ่อน ๆ เรียกว่า คิวทิคิวลาร์ ทรานสพิเรชัน (cuticular traspiration) ทางรอยแตกหรือรูเล็ก ๆ ที่ลาต้นหรือเลนทิเซล (lenticel) เรียกว่า เลนทิคิวลาร์ทรานสพิเรชัน (lenticular transpiration)
  • 145. Free Powerpoint Templates Page 145 lenticular transpiration
  • 146. Free Powerpoint Templates Page 146 การคายน้าของพืช • การคายน้าทางผิวใบและเลนทิเซลถือว่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับการคายน้าทางปากใบ แต่ใน สภาพที่พืชขาดน้า ปากใบจะปิ ดดังนั้นการคายน้าทางผิวใบ และเลนทิเซล จะช่วยลดอุณหภูมิ ให้กับพืชได้บ้างทาให้ลาต้นพืชไม่ร้อนมากจนเกินไป ที่ผิวใบพืชมีเซลล์ชั้นเอพิเดอร์มิส (epidermis layer) เซลล์ชั้นนี้เป็นชั้นที่อยู่นอกสุดปกคลุมส่วนที่อยู่ข้างในทั้งทางด้านบน คือ เอพิ เดอร์มิสด้านบน (upper epidermis) และทางด้านล่าง คือ เอพิเดอร์มิสด้านล่าง (lower epidermis)
  • 147. Free Powerpoint Templates Page 147 การคายน้าของพืช • เซลล์เอพิเดอร์มิสมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าเรียงตัวแถวเดียวตลอดทั่วไป เซลล์ชั้นนี้ไม่มี คลอโรฟีลล์อยู่ด้วย จึงทาให้สังเคราะห์ด้วยแสง ไม่ได้เซลล์เอพิเดอร์มิสบางเซลล์เปลี่ยนแปลงไป ทาหน้าที่เป็น เซลล์คุม (guard cell) อยู่ด้วยกันเป็นคู่ผนังด้านในของเซลล์คุมหนากว่าผนังเซลล์ ด้านนอกระหว่างเซลล์คุมเป็นปากใบ (stomata)
  • 148. Free Powerpoint Templates Page 148 การคายน้าของพืช • พบว่าทางด้านล่างของใบมีปากใบอยู่มากกว่าทางด้านบนเซลล์คุมทาหน้าที่ปิ ดและ เปิ ดปากใบ เซลล์คุมแตกต่างจากเซลล์เอพิเดอร์มิสอื่น คือ เซลล์คุมมีคลอโรฟีลล์อยู่ ด้วย จึงสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้และการสังเคราะห์ด้วยแสงนี้เป็นกลไกสาคัญที่ ทาให้เกิดการเปิ ดปิ ดของปากใบ, การคายน้าและการลาเลียงสารของพืช ผิวของเซลล์ ชั้นเอพิเดอร์มิสมีสารพวกขี้ผึ้ง เรียกว่า คิวทิน (cutin) ฉาบอยู่ช่วยป้องกันการระเหย ของน้าออกจากผิวใบ
  • 149. Free Powerpoint Templates Page 149 การคายน้าของพืช • ปากใบพืชจาแนกตามชนิดของพืชที่เจริญอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็น 3 แบบ คือ 1.ปากใบแบบธรรมดา (typical stomata) เป็นปากใบของพืชทั่วไปโดยมีเซลล์คุมอยู่ ในระดับเดียวกับเซลล์เอพิเดอร์มิสพืชที่ปากใบเป็นแบบนี้เป็นพวกเจริญอยู่ในที่ ๆ มี น้าอุดมสมบูรณ์พอสมควร (mesophyte)
  • 150. Free Powerpoint Templates Page 150 การคายน้าของพืช • ปากใบพืชจาแนกตามชนิดของพืชที่เจริญอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็น 3 แบบ คือ 2.ปากใบแบบจม (sunken stomata) เป็นปากใบที่อยู่ลึกเข้าไปในเนื้อใบเซลล์คุมอยู่ลึก กว่าหรือต่ากว่าชั้นเซลล์เอพิเดอร์มิสพบในพืชที่อยู่ในที่แห้งแล้ง (xerophyte) เช่น พืช ทะเลทราย พวกกระบองเพชร พืชป่าชายเลน (halophyte) เช่น โกงกาง แสม ลาพู เป็นต้น
  • 151. Free Powerpoint Templates Page 151 การคายน้าของพืช • ปากใบพืชจาแนกตามชนิดของพืชที่เจริญอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็น 3 แบบ คือ 3.ปากใบแบบยกสูง (raised stomata) เป็นปากใบที่มีเซลล์คุมอยู่สูงกว่าระดับเอพิ เดอร์มิสทั่วไป เพื่อช่วยให้น้าระเหยออกจากปากใบได้เร็วขึ้นพบได้ในพืชที่เจริญอยู่ใน น้าที่ที่มีน้ามากหรือชื้นแฉะ(hydrophyte)
  • 152. Free Powerpoint Templates Page 152 การคายน้าของพืช • ใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หญ้า ข้าวโพด ที่ชั้นเอพิเดอร์มิสมีเซลล์ขนาดใหญ่และผนังเซลล์ บาง เรียกว่า บัลลิฟอร์มเซลล์ (bulliform cell) ช่วยทาให้ใบม้วนงอได้เมื่อพืชขาดน้าช่วยลดการ คายน้าของพืชให้น้อยลง พืชบางชนิดอาจมีเอพิเดอร์มิสหนามากกว่า 1 ชั้น ซึ่งพบมากทาง ด้านหลังใบมากกว่าทางด้านท้องใบเรียกว่า มัลติเปิ ล เอพิเดอร์มิส (multiple epidermis) ซึ่งพบ ในพืชที่แห้งแล้งช่วยลดการของได้ เซลล์ชั้นนอกสุดเรียกว่า เอพิเดอร์มิส ส่วนเซลล์แถวที่อยู่ถัดเข้า ไปเรียกว่า ไฮโพเดอร์มิส (hypodermis)
  • 153. Free Powerpoint Templates Page 153 การคายน้าของพืช • การคายน้าของพืชมีความสัมพันธ์กับการลาเลียงน้าของพืชไปตามเซลล์ที่มีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ ถ้าหากพืชคายน้าออกไปมากจะมีกระบวนการลาเลียงน้ามากด้วย
  • 154. Free Powerpoint Templates Page 154 การคายน้าของพืช • ในขณะที่สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมกับการคายน้าทางปากใบ เช่น เมื่ออากาศมีความชื้นมาก พืชบางชนิดจะกาจัดน้าออกมาในรูปของหยดน้า ทางรูเปิ ดเล็ก ๆ ตามปลายของเส้นใบ รู เหล่านี้เรียกว่า ไฮดาโทด (hydathod) กระบวนการคายน้าของพืชในรูปของหยดน้าเช่นนี้ เรียกว่า กัตเตชัน (guttation) เนื่องจากพืชมีการดูดน้าอยู่ตลอดเวลา น้าจะเข้าไปอยู่ในราก เป็นจานวนมากขึ้นทุกที ทาให้เกิดแรงดันของเหลวให้ไหลขึ้นไปตามท่อไซเลมในลาดับและ ใบ และไหลออกมาทางรูเปิ ดของท่อเล็ก ๆ ที่อยู่ปลายของเส้น มองเห็นเป็นหยดน้าเล็ก ๆ เกาะอยู่ตามขอบใบเราจะพบปรากฏการณ์นี้ในธรรมชาติได้อย่างชัดเจนในตอนเช้าที่อากาศ มีความชื้นมาก ๆ ซึ่งมักไม่เกิดบ่อยนัก
  • 155. Free Powerpoint Templates Page 155 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายน้า • 1.) แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นแสงมาก ปากใบจะเปิ ดได้กว้าง พืชจะคายน้าได้มาก • 2.) อุณหภูมิ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลควบคู่กับแสงสว่างเสมอ ถ้าอุณหภูมิในบรรยากาศสูง พืชจะ คายน้าได้มากและรวดเร็ว • 3.) ความชื้นในบรรยากาศ ถ้าบรรยากาศมีความชื้นสูงจะคายน้าได้น้อย พืชบางชนิดจะกาจัด น้าออกมาในรูปของหยดน้า ทางรูเปิ ดเล็กๆ ตามรูเปิ ดของเส้นใบ เรียกว่า การคายน้าเป็นหยด หรือ กัตเตชัน ( guttation ) และถ้าในบรรยากาศมี ความชื้นน้อย พืชจะคายน้าได้มากและ รวดเร็ว
  • 156. Free Powerpoint Templates Page 156 • 4.) ลม ลมจะพัดพาเอาความชื้นของพืชไปที่อื่น เป็นสาเหตุให้พืชสูญเสียน้ามากขึ้น ในภาวะที่ลม สงบไอน้าที่ระเหยออกไปจะ คงอยู่ในบรรยากาศใกล้ๆ ใบ บรรยากาศจึงมีความชื้นสูงพืชจะคาย น้าได้ลดลง แต่ถ้าลมพัดแรงมากพืชจะปิ ดหรือหรี่แคบลง มีผลทาให้การคายน้าลดลง • 5.) ปริมาณน้าในดิน ถ้าสภาพดินขาดน้า หรือปริมาณน้าในดินน้อย พืชไม่สามารถนาไปใช้ได้ เพียงพอ ปากใบของพืชจะปิ ด หรือแคบหรี่ลง มีผลทาให้การคายน้าลดลง • 6.) โครงสร้างของใบ ตาแหน่ง จานวน และการกระจายของปากใบ รวมถึงความหนาของคิวทิเคิล ( สารเคลือบผิวใบ ) ลักษณะเหล่านี้มีผลต่อการคายน้าของพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายน้า
  • 159. Free Powerpoint Templates Page 159 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 161. Free Powerpoint Templates Page 161 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 164. Free Powerpoint Templates Page 164 แร่ธาตุ ความสาคัญ C H O N S P Mg N Ca K Fe Cu Mn Cl อยู่ในสารอินทรีย์ อยู่ในกรดอะมิโนบางตัว อยู่ใน DNA ,ATP ,เยื่อหุ้มเซลล์ อยู่ใน chlorophyll อยู่ในผนังเซลล์ ควบคุมการเปิดปิดปากใบ อยู่ใน cytochrome ใช้ถ่ายทอด e- อยู่ใน cytochrome ใช้ถ่ายทอด e- ช่วยให้เกิด photolysis Chlorosis
  • 174. Free Powerpoint Templates Page 174 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
  • 181. Free Powerpoint Templates Page 181 การลาเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients) การลาเลียงอาหารเกิดขึ้นในโฟลเอม • พืชทาการสังเคราะห์ด้วยแสงที่ใบได้น้าตาล แล้วเปลี่ยนเป็นแป้ง ส่งไปตามโฟลเอม ไปเลี้ยงส่วน ต่าง ๆ ของพืช • ในปี พ.ศ. 2229 มาร์เซลโล มัลพิจิ (Marcello Malpighi) ได้ทาการทดลองที่แสดงว่าพืชลาเลียง อาหารไปตามท่อโฟลเอม โดยการควั่นและลอกเปลือกของลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ออก ทิ้งไว้ 2- 3 สัปดาห์
  • 182. Free Powerpoint Templates Page 182 การลาเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients) จากการทดลองพบว่าบริเวณรอยควั่นตอนบนโป่งออก เนื่องจากอาหารที่ลาเลียงลงมาจาก ยอดมาสะสมอยู่มาก ต่อมาในปี พ.ศ. 2471 (ค.ศ.1928) ทีจี เมสัน และ อีเจ มาสเคล ( T. G. Mason and E. J. Maskell) ได้สังเกตว่า การควั่นกิ่งไม่ได้มีผลต่อการคายน้าของพืชเนื่องจาก น้าถูกลาเลียงผ่านทางไซเลมซึ่งอยู่ถัดจากเปลือกลงไป ในขณะที่น้าตาลนั้นมีการลาเลียงใน โฟลเอมซึ่งอยู่ในส่วนของเปลือกที่ถูกตัดออกไป
  • 183. Free Powerpoint Templates Page 183 การลาเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients) กลไกการลาเลียงสารอาหารของพืช • สมมติฐานที่อธิบายกลไกการลาเลียงสารอาหารของพืชที่ยอมรับกันทั่วไปในปัจจุบัน คือ Mass Flow Hypothesis ซึ่งอธิบายว่าสารอาหารถูกลาเลียงไปในท่อโฟลเอมเกิดจากการผลักดันโดย ความแตกต่างของความดันภายในท่อ สมมติฐานนี้มีนักวิทยาศาสตร์ได้ทาการศึกษาวิจัยเพื่อ สนับสนุน ดังเช่น M.H Zimmerman ได้สังเกตการใช้ปากของเพลี้ยอ่อนเจาะเข้าไปในท่อโฟล เอมของพืช เพื่อดูดของเหลวจากท่อจนล้นออกมาทางก้น (Honen dew) การวิเคราะห์ องค์ประกอบทางเคมีของของเหลวที่ไม่ผ่านลาตัวของเพลี้ยน่าจะเป็นสิ่งที่น่าเชื่อถือมากกว่า เขา จึงตัดส่วนของลาตัวเพลี้ยโดยการทาให้สลบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และตัดตัวเพลี้ยด้วย แสงเลเซอร์ ของเหลวที่ได้จากปากเพลี้ยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นน้าตาลซูโครส
  • 184. Free Powerpoint Templates Page 184 การลาเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients) กลไกการลาเลียงสารอาหารของพืช • ดังนั้นถ้าให้ 14CO2 ทางใบกับพืชเพื่อทาการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งจะได้ซูโครสที่มี 14C เป็น องค์ประกอบ และเมื่อให้เพลี้ยอ่อนแทงปากในโฟลเอมตาแหน่งต่าง ๆ ก็จะหาอัตราการเคลื่อนที่ ของน้าตาลในโฟลเอมได้ จากการทดลอง พบว่า น้าตาลในโฟลเอมสามารถเคลื่อนที่ด้วยอัตรา ประมาณ 100 เซนติเมตร ต่อ ชั่วโมง จากผลการทดลองนี้ทาให้คิดได้ว่าการเคลื่อนที่ของน้าตาล ในโฟลเอมคงไม่ใช่กระบวนการแพร่ธรรมดา ต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ด้วย
  • 186. Free Powerpoint Templates Page 186 การลาเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients) ในทฤษฎี Mass Flow ซึ่งเสนอโดย Ernst Munch ในปี ค.ศ.1930 (พ.ศ. 2473) อธิบายการไหลของของเหลว ในเซลล์ลาเลียงอาหารว่า มีแรงผลักดันที่เกิดจากความ แตกต่างของความดันระหว่างแหล่งสร้าง(Source) กับ แหล่งเก็บ (Sink) ซึ่งความแตกต่างของความดันเกิด จากการลาเลียงอาหารเข้าสู่โฟลเอมที่แหล่งสร้าง และ การลาเลียงอาหารออกจากโฟลเอมที่แหล่งเก็บ พืชจะ ใช้พลังงานในการลาเลียงอาหารเข้าสู่โฟลเอมที่แหล่ง สร้าง ทาให้ความเข้มข้นของสารละลายในโฟลเอมเพิ่ม มากขึ้น ความเข้มข้นของน้าในเซลล์โฟลเอมจึงลดลง น้าจากเซลล์ไซเลมข้างเคียงจึงแพร่เข้าสู่เซลล์โฟลเอม ทาให้เซลล์มีแรงดันเต่ง(Turgor Pressure) เพิ่มขึ้น
  • 187. Free Powerpoint Templates Page 187 การลาเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients) ในขณะเดียวกันการลาเลียงอาหารออกจากโฟลเอมไปที่เซลล์แหล่งเก็บ (Sink Cell) ทาให้ความ เข้มข้นของน้าในเซลล์โฟลเอมเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสารละลายมีความเข้มข้นลดลง ทาให้น้าแพร่ไป ยังเซลล์ไซเลมที่อยู่ข้างเคียง แรงดันเต่งในโฟลเอมจึงลดลง แรงดันเต่งที่แหล่งสร้างกับที่แหล่งเก็บ จึงแตกต่างกันทาให้เกิดการแพร่ของสารจากเซลล์แหล่งสร้างมายังเซลล์แหล่งเก็บได้ ซึ่งไม่ต้องใช้ พลังงาน
  • 188. Free Powerpoint Templates Page 188 การลาเลียงสารอาหารของพืช (Translocation of Nutrients) • 1 น้าตาลที่พืชสร้างขึ้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสง ส่วนหนึ่งจะถูกเปลี่ยนเป็นน้าตาลซูโครสแล้วลาเลียง เข้าไปในซีฟทิวบ์ (ใช้ ATP ) ทาให้ความเข้มข้นของสาร ในซีฟทิวบ์ต้นทางสูงขึ้น • 2 น้าจากเซลล์ข้างเคียงออสโมซิสเข้ามาและเพิ่มแรงดัน ในซีฟทิวบ์ • 3 แรงดันในซีฟทิวบ์ที่เพิ่มขึ้นจะดันให้สารละลายน้าตาล ซูโครสลาเลียงไปตามท่อซีฟทิวบ์จนถึงเนื้อเยื่อต่าง ๆ • 4 น้าตาลซูโครสจะออกจากซีฟทิวบ์เพื่อใช้ใน กระบวนการต่าง ๆ หรือสะสมไว้ในเซลล์ • 5 เมื่อน้าตาลซูโครสถูกลาเลียงออกจากซีฟทิวบ์ ทาให้ ความเข้มข้นของสารในซีฟทิวบ์ลดลง น้าจึงออสโมซิสไป ยังเซลล์ข้างเคียงกลับเข้าสู่ไซเลม • 6 เมื่อน้ากลับเข้าไปในไซเลม การคายน้าของพืชก็จะดึง ให้น้ากลับขึ้นไปสู่ใบต่อไป