SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
16 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจานวนจริง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซ้า และการเขียนทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน เวลา 2 ชั่วโมง 
 สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด 
เศษส่วนทุกจานวน สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมซ้าได้ และทศนิยมซ้าทุกจานวน ก็สามารถ เขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้เช่นกัน 
 ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 
2.1 ตัวชี้วัด 
ค 1.1 ม.2/1 เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน 
ค 6.1 ม.1-3/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา 
ม.1-3/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 
ม.1-3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม 
ม.1-3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน 
ม.1-3/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ 
ม.1-3/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 
1) เขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยมซ้าได้ 
2) เขียนทศนิยมซ้าให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้ 
 สาระการเรียนรู้ 
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
- เศษส่วนและทศนิยมซ้า
17 
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 
- 
 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 
4.2 ความสามารถในการคิด 
1) ทักษะการคิดวิเคราะห์ 
2) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 
3) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 
- ทักษะการเชื่อมโยง 
4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 
 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
1. มีวินัย 
2. ใฝ่เรียนรู้ 
3. ม่งุมั่นในการทางาน 
4. ซื่อสัตย์สุจริต 
 กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบัติ) 
 นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ของบทเรียนนี้ให้นักเรียนทราบ 
2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมว่า สามารถเปลี่ยนเศษส่วนเป็น 
ทศนิยมได้ โดยการนาตัวส่วนไปหารตัวเศษ 
3. ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาสาธิตเกี่ยวกับ การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมโดยการหารยาว 
ประมาณ 3-5 คน เช่น 
4 
9 , 
25 
4 , 
20 
19 , 
8 
21 
4. ครูซักถามนักเรียนว่า ผลลัพธ์ที่เกิดจากการตั้งหารเศษส่วนดังกล่าวเป็นอย่างไร 
5. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมโดยการตั้งหาร 
1) 0.777... 
9 
7 
 
2) 0.3555... 
45 
16 
 
ชั่วโมงที่ 1
18 
3) 1.7272... 
99 
171 
 
4) 0.243243243... 
37 
9 
 
5) 0.42857142857142... 
4 
3 
 
6. ครูให้นักเรียนสังเกตคาตอบของผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร และสรุปว่าผลลัพธ์ดังกล่าวจะเรียกว่าเป็น 
“ทศนิยมซ้า” และสามารถเขียนอยู่ในรูปทศนิยมซ้าโดยใช้สัญลักษณ์ได้ ดังนี้ 
1) „7 
0.777 = 0. 
2) „5 
0.3555 = 0.3 
3) „ „ 1.7272 = 1.72 
4) „ „ 0.243243243 = 0.243 
5) „ „ 
0.42857142857142 = 0.428571 
7. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปจนได้ว่า เศษส่วนทุกจานวนสามารถเขียนอยู่ในรูปทศนิยมซ้าได้เสมอ 
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย 
9. ครูให้นักเรียนทาแบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 1.1 ข้อ 1 จากหนังสือเรียน เป็นการบ้าน แล้วนามา 
ส่งครูในการเรียนครั้งต่อไป 
1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับ การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยม 
2. ครูให้คาแนะนาเพิ่มเติมจากการตรวจแบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 1.1 ข้อ 1 เมื่อพบข้อบกพร่อง 
และแจ้งให้นักเรียนที่ทาผิดแก้ไขให้ถูกต้อง 
3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ การเปลี่ยนทศนิยมซ้าศูนย์เป็นเศษส่วน โดยเขียนตัวเลขทศนิยม 
เป็นเศษ และสาหรับตัวส่วนเป็นเลขยกกาลังฐาน 10 ถ้าเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง ตัวส่วนเป็น 101 
ทศนิยม 2 ตาแหน่ง ตัวส่วนเป็น 102 แต่สาหรับทศนิยมที่ไม่ได้ซ้าศูนย์ อาจเขียนให้อยู่ในรูป 
เศษส่วนได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน „3 
0. ให้อยู่ในรูปเศษส่วน 
วิธีทา ให้ N = „3 
0. 
N = 0.333 ………………………………… (1) 
นา 10 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ (1) 
ชั่วโมงที่ 2
19 
จะได้ว่า 10N = 3.333 ………………………………… (2) 
นาสมการ (2) ‟ สมการ (1) จะได้ 10N ‟ N = 3.333 ‟ 0.333 
9N = 3 
N = 
9 
3 
แต่ N = „3 
0. นั่นคือ N = 
9 
3 
= 
3 
1 
ดังนั้น „3 
0. = 
3 
1 
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน „ „ 0.4 2 ให้อยู่ในรูปเศษส่วน 
วิธีทา ให้ N = „ „ 0.4 2 = 0.424242 ………………………………… (1) 
นา 100 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ (1) 
จะได้ว่า 100N = 42.424242 …………………………………(2) 
นาสมการ (2) - สมการ (1) จะได้ 
100N ‟ N = 42.424242 ‟ 0.424242 
99N = 42 
N = 
99 
42 
แต่ N = „ „ 0.4 2 นั่นคือ N = 
33 
= 14 
99 
42 
ดังนั้น 
33 
0.4 2 = 14 „ „ 
4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย 
5. ครูกาหนดโจทย์เกี่ยวกับทศนิยมซ้าบนกระดาน 3 ข้อ และขออาสาสมัครนักเรียนออกมาแสดงวิธี 
เปลี่ยนทศนิยมซ้าให้เป็นเศษส่วน หากไม่มีใครอาสาให้ครูทาการสุ่มนักเรียนตามเลขที่ ขณะที่ 
ตัวแทนนักเรียนออกมาแสดงวิธีทา ครูช่วยชี้แนะหากพบข้อผิดพลาด 
6. ครูและนักเรียนที่เหลือเสริมแรงให้เพื่อนด้วยการปรบมือ 
7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับ ขั้นตอนการเปลี่ยนทศนิยมซ้าเป็นเศษส่วน ดังนี้ 
1) กาหนดให้ N แทนทศนิยมทั้งหมด
20 
2) คูณ N ด้วย 10 ยกกาลังเท่ากับจานวนตาแหน่งทศนิยมทั้งหมด 
3) คูณ N ด้วย 10 ยกกาลังเท่ากับจานวนตาแหน่งทศนิยมที่ไม่ซ้า 
4) นาสมการใน ข้อ 2) ลบด้วยสมการใน ข้อ 3) 
5) หาค่า N 
8. ครูให้นักเรียนบันทึกขั้นตอนการเปลี่ยนทศนิยมซ้าเป็นเศษส่วนที่สรุปได้ลงในสมุด 
9. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย 
10. ครูให้นักเรียนทาแบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 1.1 ข้อ 2 จากหนังสือเรียน เป็นการบ้าน แล้วนามา ส่งครูในการเรียนครั้งต่อไป 
 การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 
 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 
8.1 สื่อการเรียนรู้ 
- หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 
8.2 แหล่งการเรียนรู้ 
1. ห้องสมุด 
2. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 
http://edltv.thai.net/index.php?mod=Courses&file=showcontent&cid=212&sid=208 
http://gotoknow.org/blog/mauy2504/132534 
http://manas.smartclasssy.com/index.php?option=com_content&view=article&id=80: 2010-05-02-09-11-37&catid=44:-2&Itemid=68
21 
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 
ลาดับ ที่ ชื่อ – สกุล มีความตั้งใจ ในการ ทางาน มีความ รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ความสะอาด เรียบร้อย ผลสาเร็จ ของงาน รวม 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 
เกณฑ์การให้คะแนน 
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน 
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี ให้ 3 คะแนน 
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = พอใช้ ให้ 2 คะแนน 
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน 
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 14 - 17 10 - 13 ต่ากว่า 10 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 
ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน 
......................./.........................../........................
22 
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 
กลุ่มที่.................................................. 
สมาชิกของกลุ่ม 1. .............................................................................. 2. .............................................................................. 
3. .............................................................................. 4. .............................................................................. 
5. .............................................................................. 6. .............................................................................. 
ลาดับ ที่ พฤติกรรม คุณภาพการปฏิบัติ 4 3 2 1 
1 
มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 
2 
มีความกระตือรือร้นในการทางาน 
3 
รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 
4 
มีขั้นตอนในการทางานอย่างเป็นระบบ 
5 
ใช้เวลาในการทางานอย่างเหมาะสม 
รวม 
ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน 
......................./.........................../........................ 
เกณฑ์การให้คะแนน 
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน 
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี ให้ 3 คะแนน 
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = พอใช้ ให้ 2 คะแนน 
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน 
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 
18 - 20 
14 - 17 
10 - 13 
ต่ากว่า 10 
ดีมาก 
ดี 
พอใช้ 
ปรับปรุง

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังkatokung
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกคำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกทับทิม เจริญตา
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ครู กรุณา
 

What's hot (19)

Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลัง
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกคำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 

Similar to หน่วย 1 1

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184nha2509
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1guychaipk
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...KruKaiNui
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 

Similar to หน่วย 1 1 (20)

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
123
123123
123
 
integer
integerinteger
integer
 
13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
หน่วยที่1 สมบัติของจำนวนนับ ม.1
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

More from Toongneung SP

กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)Toongneung SP
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4Toongneung SP
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3Toongneung SP
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2Toongneung SP
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1Toongneung SP
 
6.2แบบฝึกหัด
6.2แบบฝึกหัด6.2แบบฝึกหัด
6.2แบบฝึกหัดToongneung SP
 
6.1แบบฝึกหัด
6.1แบบฝึกหัด6.1แบบฝึกหัด
6.1แบบฝึกหัดToongneung SP
 
5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัดToongneung SP
 
แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4Toongneung SP
 
3แบบฝึกหัด
3แบบฝึกหัด3แบบฝึกหัด
3แบบฝึกหัดToongneung SP
 
2แบบฝึกหัด
2แบบฝึกหัด2แบบฝึกหัด
2แบบฝึกหัดToongneung SP
 
1แบบฝึกหัด
1แบบฝึกหัด1แบบฝึกหัด
1แบบฝึกหัดToongneung SP
 
แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4Toongneung SP
 
6แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.26แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.2Toongneung SP
 
6แบบฝึกหัด6.1
6แบบฝึกหัด6.16แบบฝึกหัด6.1
6แบบฝึกหัด6.1Toongneung SP
 
5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัดToongneung SP
 

More from Toongneung SP (20)

กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
 
6.2แบบฝึกหัด
6.2แบบฝึกหัด6.2แบบฝึกหัด
6.2แบบฝึกหัด
 
6.1แบบฝึกหัด
6.1แบบฝึกหัด6.1แบบฝึกหัด
6.1แบบฝึกหัด
 
5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด
 
แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4
 
3แบบฝึกหัด
3แบบฝึกหัด3แบบฝึกหัด
3แบบฝึกหัด
 
2แบบฝึกหัด
2แบบฝึกหัด2แบบฝึกหัด
2แบบฝึกหัด
 
1แบบฝึกหัด
1แบบฝึกหัด1แบบฝึกหัด
1แบบฝึกหัด
 
แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4
 
6แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.26แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.2
 
6แบบฝึกหัด6.1
6แบบฝึกหัด6.16แบบฝึกหัด6.1
6แบบฝึกหัด6.1
 
Posttest6
Posttest6Posttest6
Posttest6
 
Pretest6
Pretest6Pretest6
Pretest6
 
5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด
 
Posttest5
Posttest5Posttest5
Posttest5
 
Pretest5
Pretest5Pretest5
Pretest5
 

หน่วย 1 1

  • 1. 16 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจานวนจริง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซ้า และการเขียนทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน เวลา 2 ชั่วโมง  สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เศษส่วนทุกจานวน สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมซ้าได้ และทศนิยมซ้าทุกจานวน ก็สามารถ เขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้เช่นกัน  ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ค 1.1 ม.2/1 เขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมและเขียนทศนิยมซ้าในรูปเศษส่วน ค 6.1 ม.1-3/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ม.1-3/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ม.1-3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ม.1-3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน ม.1-3/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ม.1-3/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) เขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยมซ้าได้ 2) เขียนทศนิยมซ้าให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้  สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง - เศษส่วนและทศนิยมซ้า
  • 2. 17 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น -  สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะการเชื่อมโยง 4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุมั่นในการทางาน 4. ซื่อสัตย์สุจริต  กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบัติ)  นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ของบทเรียนนี้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมว่า สามารถเปลี่ยนเศษส่วนเป็น ทศนิยมได้ โดยการนาตัวส่วนไปหารตัวเศษ 3. ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาสาธิตเกี่ยวกับ การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมโดยการหารยาว ประมาณ 3-5 คน เช่น 4 9 , 25 4 , 20 19 , 8 21 4. ครูซักถามนักเรียนว่า ผลลัพธ์ที่เกิดจากการตั้งหารเศษส่วนดังกล่าวเป็นอย่างไร 5. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมโดยการตั้งหาร 1) 0.777... 9 7  2) 0.3555... 45 16  ชั่วโมงที่ 1
  • 3. 18 3) 1.7272... 99 171  4) 0.243243243... 37 9  5) 0.42857142857142... 4 3  6. ครูให้นักเรียนสังเกตคาตอบของผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร และสรุปว่าผลลัพธ์ดังกล่าวจะเรียกว่าเป็น “ทศนิยมซ้า” และสามารถเขียนอยู่ในรูปทศนิยมซ้าโดยใช้สัญลักษณ์ได้ ดังนี้ 1) „7 0.777 = 0. 2) „5 0.3555 = 0.3 3) „ „ 1.7272 = 1.72 4) „ „ 0.243243243 = 0.243 5) „ „ 0.42857142857142 = 0.428571 7. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปจนได้ว่า เศษส่วนทุกจานวนสามารถเขียนอยู่ในรูปทศนิยมซ้าได้เสมอ 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย 9. ครูให้นักเรียนทาแบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 1.1 ข้อ 1 จากหนังสือเรียน เป็นการบ้าน แล้วนามา ส่งครูในการเรียนครั้งต่อไป 1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับ การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยม 2. ครูให้คาแนะนาเพิ่มเติมจากการตรวจแบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 1.1 ข้อ 1 เมื่อพบข้อบกพร่อง และแจ้งให้นักเรียนที่ทาผิดแก้ไขให้ถูกต้อง 3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ การเปลี่ยนทศนิยมซ้าศูนย์เป็นเศษส่วน โดยเขียนตัวเลขทศนิยม เป็นเศษ และสาหรับตัวส่วนเป็นเลขยกกาลังฐาน 10 ถ้าเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง ตัวส่วนเป็น 101 ทศนิยม 2 ตาแหน่ง ตัวส่วนเป็น 102 แต่สาหรับทศนิยมที่ไม่ได้ซ้าศูนย์ อาจเขียนให้อยู่ในรูป เศษส่วนได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน „3 0. ให้อยู่ในรูปเศษส่วน วิธีทา ให้ N = „3 0. N = 0.333 ………………………………… (1) นา 10 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ (1) ชั่วโมงที่ 2
  • 4. 19 จะได้ว่า 10N = 3.333 ………………………………… (2) นาสมการ (2) ‟ สมการ (1) จะได้ 10N ‟ N = 3.333 ‟ 0.333 9N = 3 N = 9 3 แต่ N = „3 0. นั่นคือ N = 9 3 = 3 1 ดังนั้น „3 0. = 3 1 ตัวอย่างที่ 2 จงเขียน „ „ 0.4 2 ให้อยู่ในรูปเศษส่วน วิธีทา ให้ N = „ „ 0.4 2 = 0.424242 ………………………………… (1) นา 100 มาคูณทั้งสองข้างของสมการ (1) จะได้ว่า 100N = 42.424242 …………………………………(2) นาสมการ (2) - สมการ (1) จะได้ 100N ‟ N = 42.424242 ‟ 0.424242 99N = 42 N = 99 42 แต่ N = „ „ 0.4 2 นั่นคือ N = 33 = 14 99 42 ดังนั้น 33 0.4 2 = 14 „ „ 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย 5. ครูกาหนดโจทย์เกี่ยวกับทศนิยมซ้าบนกระดาน 3 ข้อ และขออาสาสมัครนักเรียนออกมาแสดงวิธี เปลี่ยนทศนิยมซ้าให้เป็นเศษส่วน หากไม่มีใครอาสาให้ครูทาการสุ่มนักเรียนตามเลขที่ ขณะที่ ตัวแทนนักเรียนออกมาแสดงวิธีทา ครูช่วยชี้แนะหากพบข้อผิดพลาด 6. ครูและนักเรียนที่เหลือเสริมแรงให้เพื่อนด้วยการปรบมือ 7. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับ ขั้นตอนการเปลี่ยนทศนิยมซ้าเป็นเศษส่วน ดังนี้ 1) กาหนดให้ N แทนทศนิยมทั้งหมด
  • 5. 20 2) คูณ N ด้วย 10 ยกกาลังเท่ากับจานวนตาแหน่งทศนิยมทั้งหมด 3) คูณ N ด้วย 10 ยกกาลังเท่ากับจานวนตาแหน่งทศนิยมที่ไม่ซ้า 4) นาสมการใน ข้อ 2) ลบด้วยสมการใน ข้อ 3) 5) หาค่า N 8. ครูให้นักเรียนบันทึกขั้นตอนการเปลี่ยนทศนิยมซ้าเป็นเศษส่วนที่สรุปได้ลงในสมุด 9. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย 10. ครูให้นักเรียนทาแบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 1.1 ข้อ 2 จากหนังสือเรียน เป็นการบ้าน แล้วนามา ส่งครูในการเรียนครั้งต่อไป  การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์  สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ - หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://edltv.thai.net/index.php?mod=Courses&file=showcontent&cid=212&sid=208 http://gotoknow.org/blog/mauy2504/132534 http://manas.smartclasssy.com/index.php?option=com_content&view=article&id=80: 2010-05-02-09-11-37&catid=44:-2&Itemid=68
  • 6. 21 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ลาดับ ที่ ชื่อ – สกุล มีความตั้งใจ ในการ ทางาน มีความ รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ความสะอาด เรียบร้อย ผลสาเร็จ ของงาน รวม 20 คะแนน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = พอใช้ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 14 - 17 10 - 13 ต่ากว่า 10 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน ......................./.........................../........................
  • 7. 22 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม กลุ่มที่.................................................. สมาชิกของกลุ่ม 1. .............................................................................. 2. .............................................................................. 3. .............................................................................. 4. .............................................................................. 5. .............................................................................. 6. .............................................................................. ลาดับ ที่ พฤติกรรม คุณภาพการปฏิบัติ 4 3 2 1 1 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 2 มีความกระตือรือร้นในการทางาน 3 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 4 มีขั้นตอนในการทางานอย่างเป็นระบบ 5 ใช้เวลาในการทางานอย่างเหมาะสม รวม ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน ......................./.........................../........................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง = พอใช้ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 - 20 14 - 17 10 - 13 ต่ากว่า 10 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง