SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
0
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 1 | โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารประกอบการเรียน
บทที่ 3 เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102)
ชื่อ – นามสกุล ......................................................................................
ชั้น ม.1/ ............ เลขที่ .................
ผู้สอน
อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ (อ.น้าผึ้ง)
อาจารย์ชลดา ปานสมบูรณ์ (อ.อ้อม)
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม)
1
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ในชีวิตประจำวันเราพบสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของตัวเลขหรือไม่อยู่ในรูป
ของตัวเลขก็ได้ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีสมาชิกหลายตัว สามารถแสดงความสัมพันธ์
ในรูปของ ตาราง แผนภาพ คู่อันดับ และกราฟ
คู่อันดับ เป็นการเขียนสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของการจับคู่ระหว่างสมาชิกของกลุ่มสองกลุ่มที่มี
ความสัมพันธ์กันภายใต้เงื่อนไขหรือข้อตกลง
การจับคู่ระหว่าง a และ b เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ (a, b) อ่านว่า คู่อันดับเอบี
เรียก a ว่า สมาชิกตัวที่หนึ่งหรือสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่า สมาชิกตัวที่สองหรือสมาชิกตัวหลัง
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนไข่ไก่และราคาไข่ไก่ในร้านค้าแห่งหนึ่ง ในรูปของแผนภาพ
และคู่อันดับ จากตารางที่กำหนดให้ ต่อไปนี้
เขียนแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนไข่ไก่ (ฟอง) และราคาไข่ไก่ (บาท)
เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนไข่ไก่ (ฟอง) และราคาไข่ไก่ (บาท) ทั้งหมดได้ดังนี้
(1, 4) , (2, 8) , ………………………………………………………………………………………………………………..
จำนวนไข่ไก่ (ฟอง) 1 2 3 4 5
ราคาไข่ไก่ (บาท) 4 8 12 16 20
คู่อันดับ (ordered pair)
จำนวนไข่ไก่ (ฟอง) ราคาไข่ไก่ (บาท)
4
1
2
3
5
16
4
8
12
.......
บทที่ 3 เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
1. คู่อันดับและกราฟ
ของคู่อันดับ
2
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของส้มและราคา ในรูปของแผนภาพ และคู่อันดับ
จากตารางที่กำหนดให้ ต่อไปนี้
เขียนแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของส้ม(กิโลกรัม) และราคา(บาท)
เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของส้ม(กิโลกรัม) และราคา(บาท) ทั้งหมดได้ดังนี้
........................................................................................................................................................
จากตัวอย่างที่ 2 สมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับมาจากกลุ่มของน้ำหนักของส้ม สมาชิกตัวที่สองมาจากกลุ่ม
ของราคา การสลับตำแหน่งระหว่างสมาชิกตัวที่หนึ่งและสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ ทำให้ได้คู่อันดับที่แตกต่างจาก
เดิม และมีความหมายเปลี่ยนไป เช่น
(1, 45) มีความหมายว่า น้ำหนักส้ม 1 กิโลกรัม จะมีราคา 45 บาท
(45, 1) มีความหมายว่า ……………………………………………………………………………………..
จะเห็นว่า อันดับของคู่อันดับมีความสำคัญมาก สมาชิกของคู่อันดับ (a, b) จะสลับกันไม่ได้
ดังนั้น (a, b) ≠ (b, a)
น้ำหนักของส้ม (กิโลกรัม) 1 2 3 4 5 6
ราคา (บาท) 45 90 130 175 220 260
ถ้ากำหนดให้คู่อันดับ (a, b) และคู่อันดับ (c, d) เป็นคู่อันดับสองคู่ใด ๆ จะได้ว่า
1) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
2) ถ้า a = b แล้ว (a, b) = (b, a)
3
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
การใช้กราฟแสดงความสัมพันธ์ เราเขียนเส้นจำนวนในแนวนอนและแนวตั้งให้ตัดกันเป็นมุมฉากที่ตำแหน่ง
ของจุดที่แทนศูนย์ (0) บนเส้นจำนวนแต่ละเส้น จุดที่เส้นจำนวนทั้งสองตัดกัน เรียกว่า ...........................................
แทนด้วย 0 เส้นจำนวนในแนวนอน เรียกว่า แกนนอน (horizontal axis) หรือ .......................... และเส้นจำนวน
ในแนวตั้ง เรียกว่า แกนตั้ง (vertical axis) หรือ ............................
ระบบที่แสดงตำแหน่งของจุดต่าง ๆ บนระนาบดังกล่าวนี้ เรียกว่า ระบบพิกัดฉาก
คู่อันดับแต่ละคู่อันดับแทนได้ด้วยจุดบนระนาบ เรียกจุดนี้ว่า กราฟของคู่อันดับ
กราฟของคู่อันดับ (a, b) หมายถึง จุดที่ได้จากการลากเส้นตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่ง a ไปตัดกับเส้นตรง
ที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่ง b
-5
-4
-3
-2
-1
0
1
2
3
4
5
-5 -3 -1 1 3 5
Y
X
แกน Y
แกน X
จุดกำเนิด
จตุภาคที่ 1
จตุภาคที่ 2
จตุภาคที่ 3 จตุภาคที่ 4
กราฟของคู่อันดับ
เกร็ดน่ารู้
เดการ์ต, เรอเน นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส
เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับระบบพิกัดฉาก
4
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนกราฟของคู่อันดับที่กำหนดให้ให้อยู่บนระนาบ
1. (3,4)
2. (-4,5)
3. (-6,0)
5
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 4 จงเขียนกราฟของคู่อันดับต่อไปนี้บนระนาบ
(-4, 6), (5, 9), (-7, -6)และ (8, -8)
- กราฟของ (-4, 6) เป็นจุดที่ได้จากการลากเส้นตรงให้ตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่งของ -4 ไปตัดกับ
เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่งของ 6 ซึ่งอยู่ในจตุภาคที่ 2
- กราฟของ (5, 9) เป็นจุดที่ได้จากการลากเส้นตรงให้ตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่งของ ....... ไปตัดกับ
เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่งของ ........ ซึ่งอยู่ในจตุภาคที่ ........
- กราฟของ (-7, -6) เป็นจุดที่ได้จากการลากเส้นตรงให้ตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่งของ ....... ไปตัดกับ
เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่งของ ........ ซึ่งอยู่ในจตุภาคที่ ........
- กราฟของ (8, -8) เป็นจุดที่ได้จากการลากเส้นตรงให้ตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่งของ ....... ไปตัดกับ
เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่งของ ........ ซึ่งอยู่ในจตุภาคที่ ........
(-4, 6)
6
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ถ้า P เป็นจุดจุดหนึ่งบนระนาบที่กราฟของ (x, y) จะกล่าวว่า จุด P มีพิกัด (coordinate) เป็น (x, y)
โดย x เป็นพิกัดที่หนึ่ง และ y เป็นพิกัดที่สอง และอาจเขียนแทนพิกัดของจุด P ด้วย P(x, y) เช่น ถ้าจุด P มีพิกัด
เป็น (2, -3) อาจเขียนแทนด้วย P(2, -3)
ตัวอย่างที่ 5 จากรูปจงหาพิกัด P, Q, R, S และ T
วิธีทำ พิกัดของจุดที่กำหนดให้เป็นดังนี้
พิกัดของ P คือ (1, 6) หรือเขียนแทนด้วย P(1, 6)
พิกัดของ Q คือ .............. หรือเขียนแทนด้วย ...............
พิกัดของ R คือ .............. หรือเขียนแทนด้วย ...............
พิกัดของ S คือ .............. หรือเขียนแทนด้วย ...............
พิกัดของ T คือ .............. หรือเขียนแทนด้วย ...............
P
Q
R
S
T
7
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 6 กำหนดตำแหน่งของวัด โรงเรียน ตลาด บ้าน สถานีตำรวจและโรงพยาบาล ลงบนระนาบเดียวกัน
โดยให้แกน Y อยู่ในแนวทิศเหนือ-ใต้ และพิกัดของวัดเป็น (3, 1) ถ้าบ้านอยู่ห่างจากวัดไปทางทิศ
เหนืออยู่ 6 หน่วย โรงเรียนอยู่ห่างจากบ้านไปทางทิศตะวันตก 4 หน่วย ตลาดอยู่ห่างจากโรงเรียนไป
ทางทิศตะวันตก 5 หน่วย โรงพยาบาลอยู่ห่างจากตลาดไปทางทิศใต้ 10 หน่วย และสถานีตำรวจอยู่
ห่างจากโรงพยาบาลไปทางทิศตะวันออก 6 หน่วย จงเขียนกราฟแสดงตำแหน่งและหาพิกัดของบ้าน
โรงเรียน ตลาด สถานีตำรวจและโรงพยาบาล
วิธีทำ จากข้อมูลที่กำหนดให้ จะได้กราฟแสดงตำแหน่งและพิกัดของสถานที่ต่าง ๆ ได้ดังนี้
ดังนั้น บ้าน มีพิกัดเป็น .......................
โรงเรียน มีพิกัดเป็น .......................
ตลาด มีพิกัดเป็น .......................
สถานีตำรวจ มีพิกัดเป็น .......................
โรงพยาบาล มีพิกัดเป็น .......................
8
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
1. จากรูป จงหาพิกัดของจุดบนกราฟต่อไปนี้
ดังนั้น จุด A มีพิกัดเป็น ................... จุด F มีพิกัดเป็น ...................
จุด B มีพิกัดเป็น ................... จุด G มีพิกัดเป็น ...................
จุด C มีพิกัดเป็น ................... จุด H มีพิกัดเป็น ...................
จุด D มีพิกัดเป็น ................... จุด I มีพิกัดเป็น ...................
จุด E มีพิกัดเป็น ................... จุด J มีพิกัดเป็น ...................
2. จงเขียนกราฟของจุดต่อไปนี้ A(1, 3), B(2, 7), C(-5, 0), D(3, 6), E(6, 2), F(-1, 1), G(3, -1), H(8, -1),
I(3, -3), J(-3, -3), K(-8, 0), L(-10, -1) และ M(-9, 3) พร้อมทั้งเขียนชื่อจุด และลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุด
ต่าง ๆ โดยเริ่มจากจุด A ถึง จุด M ตามลำดับ และลากเส้นตรงเชื่อมจุด M และจุด C ลงในกระดาษกราฟ
หรือกระดาษ A4 ให้ถูกต้อง
A
B
C
D
E
F
G
H
I
J
แบบฝึกหัดที่ 1
9
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
การใช้คู่อันดับในการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณ เช่น จำนวนปากกาที่ต้องการซื้อ
เป็นด้ามกับราคาขายเป็นบาท เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณ เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ได้โดย
ใช้กราฟของคู่อันดับ และเมื่อมีกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณ เราสามารถหาพิกัดของจุดที่อยู่
บนกราฟนั้นได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 7 จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนลูกชิ้นปิ้งเป็นไม้ และราคาขายเป็นบาท จากตาราง
ที่กำหนดให้ต่อไปนี้
วิธีทำ จากตาราง เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนลูกชิ้นปิ้งเป็นไม้ และราคาขายเป็นบาท
ได้ดังนี้ (1, 10), ...................................................................................
เมื่อกำหนดให้ แกน X แสดงจำนวนลูกชิ้นปิ้งเป็นไม้
และ แกน Y แสดง ...........................................................
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนลูกชิ้นปิ้งเป็นไม้ และราคาขายเป็นบาท คือ
จุด P, Q, R, S และ T
จำนวนลูกชิ้นปิ้ง (ไม้) 1 2 3 4 5
ราคาขาย (บาท) 10 20 30 40 50
P(1, 10)
Q(2, 20)
R(3, 30)
S(4, 40)
T(5, 50)
ข้อสังเกต
เนื่องจากจำนวนไม้ของลูกชิ้นปิ้งและราคาขายเป็นจำนวน........... แสดงว่า
กราฟของความสัมพันธ์จะอยู่ในจตุภาคที่ ........ ในที่นี้จึงเขียนแสดงบนระนาบเฉพาะ
จตุภาคที่ ........ เท่านั้น
10
20
30
40
50
60
70
1 2 3 4 5 6 7
ลูกชิ้นปิ้ง (ไม้)
ราคาขาย (บาท)
0
2.กราฟและการนำไปใช้
การอ่านและแปลความหมายของกราฟ
10
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 8 จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้โดยสารรถประจำทางเป็นคน และค่าโดยสาร
เป็นบาท จากตารางที่กำหนดให้ต่อไปนี้
วิธีทำ จากตาราง เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้โดยสารรถประจำทางเป็นคน และค่า
โดยสารเป็นบาท
ได้ดังนี้ .............................................................................................................................
เมื่อกำหนดให้ แกน X แสดง ...........................................................
และ แกน Y แสดง ...........................................................
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้โดยสารรถประจำทางเป็นคน และค่าโดยสารเป็นบาท
คือ จุด M, N, O, P, Q และ R
จำนวนผู้โดยสารรถประจำทาง(คน) 0 1 2 3 4 5
ค่าโดยสาร (บาท) 0 7 14 21 28 35
7
14
21
28
35
42
49
1 2 3 4 5 6 7 .............................................................
.....................................
0
11
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 9 กำหนดกราฟแสดงจำนวนมะนาวที่ชาวสวนคนหนึ่งเก็บส่งขายตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ 10
ของเดือนพฤศจิกายน ได้ดังนี้
จากข้อมูลข้างต้น ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. วันที่ 2 ชาวสวนเก็บมะนาวส่งขายได้กี่ผล
ตอบ ..........................................................................................................................
2. วันที่เท่าไรที่ชาวสวนเก็บมะนาวส่งขายได้มากที่สุด และเก็บได้กี่ผล
ตอบ ..........................................................................................................................
3. วันที่เท่าไรบ้างที่ชาวสวนเก็บมะนาวส่งขายได้เท่ากัน และได้วันละกี่ผล
ตอบ ..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
4. วันที่เท่าไรที่ชาวสวนเริ่มเก็บมะนาวส่งขายได้ลดลง
ตอบ ..........................................................................................................................
5. จำนวนมะนาวที่ชาวสวนเก็บส่งขายได้ในรอบ 10 วันนี้ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ..........................................................................................................................
.........................................................................................................................
6. ถ้าวันที่ 3 ราคาขายส่งมะนาว คือ 100 ผล ราคา 300 บาท ชาวสวนคนนี้มีรายได้จากการขายส่งมะนาว
ในวันที่ 3 กี่บาท
ตอบ ..........................................................................................................................
วันที่
จำนวนมะนาว (ร้อยผล)
12
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 10 ถังน้ำของโรงเรียนมีความจุ 400 ลิตร เมื่อเปิดน้ำออกจากถังเพื่อนำไปใช้รดน้ำแปลงผักสวนครัว
พบว่าปริมาณน้ำที่เหลือในถังเมื่อเวลาผ่านไปเป็นนาที เป็นดังนี้
เวลาที่ผ่านไป (นาที) 0 1 2 3 4 5 6
ปริมาณน้ำที่เหลือในถัง (ลิตร) 400 360 320 280 240 200 160
จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ผ่านไปและปริมาณน้ำที่เหลือในถัง แล้วตอบคำถาม
วิธีทำ
1. ก่อนเปิดน้ำออกจากถัง ในถังมีน้ำอยู่เท่าใด
ตอบ ...........................................................................................................................
2. น้ำจะเหลืออยู่ครึ่งถังเมื่อเวลาผ่านไปเท่าใด
ตอบ ...........................................................................................................................
3. เมื่อเวลาผ่านไป 4 นาที 30 วินาที จะมีน้ำเหลือในถังเท่าใด
ตอบ ...........................................................................................................................
4. น้ำจะหมดถังเมื่อเวลาผ่านไปกี่นาที
ตอบ ...........................................................................................................................
5. เมื่อเวลาผ่านไปกี่นาที จะใช้น้ำไป 120 ลิตร
ตอบ ...........................................................................................................................
ปริมาณน้ำที่เหลือในถัง (ลิตร)
เวลาที่ผ่านไป (นาที)
13
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
คำถาม ปริมาณน้ำฝนที่วัดเป็นมิลลิเมตรที่หาดเจ้าสำราญ จังหวัดเพชรบุรี ในวันที่ 1-10 กรกฎาคม แสดงด้วยกราฟ
ได้ดังนี้
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ปริมาณน้ำฝนที่วัดได้ในวันที่ 2 เป็นเท่าใด
ตอบ ...........................................................................................................................
2. วันที่เท่าใดที่ฝนตกมากที่สุด และวัดปริมาณน้ำฝนได้กี่มิลลิเมตร
ตอบ ...........................................................................................................................
3. วันที่ฝนตกน้อยที่สุด และวันที่ฝนตกมากที่สุด มีปริมาณน้ำฝนต่างกันเท่าใด
ตอบ ...........................................................................................................................
4. วันที่เท่าใดที่มีปริมาณน้ำฝนเท่ากัน และวัดปริมาณน้ำฝนได้กี่มิลลิเมตร
ตอบ ...........................................................................................................................
5. ปริมานน้ำฝนทั้งหมด ตั้งแต่วันที่ 1-10 กรกฎาคม วัดปริมาณน้ำฝนได้กี่มิลลิเมตร
ตอบ ...........................................................................................................................
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
ปริมาณน้ำฝน (มิลลิเมตร)
วันที่
แบบฝึกหัดที่ 2
การอ่านและแปลความหมายของกราฟ
14
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 11 ถ้ากำหนดให้ไข่ไก่ราคาฟองละ 5 บาท เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนไข่ไก่เป็นฟอง
และราคาไข่ไก่เป็นบาทสำหรับจำนวนไข่ไก่ 7 ฟอง 8 ฟอง ไปได้เรื่อย ๆ
ในกรณีที่กราฟความสัมพันธ์มีลักษณะเป็นจุด ถ้าต้องการดูแนวโน้มของกราฟของความสัมพันธ์
เรานิยมเขียนต่อจุดเหล่านั้นให้เป็นเส้น ซึ่งจะเห็นแนวโน้มของกราฟของความสัมพันธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรง
ดังรูป
ในทางกลับกัน เมื่อมีกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณ เราอาจบอกแนวโน้มของ
ความสัมพันธ์จากกราฟได้ โดยที่กราฟนั้นอาจไม่มีการแสดงค่าบนแกน X และแกน Y หรือ พิกัดบนกราฟ
ตัวอย่างที่ 12 ร้านอาหารแห่งหนึ่งเปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 10.00 น. ถึง 16.00 น. โดยร้านนี้สามารถรองรับลูกค้า
ได้สูงสุด80 คน และมีจำนวนลูกค้าที่มารับประทานอาหารในแต่ละช่วงเวลาแสดงได้ดังกราฟต่อไปนี้
ราคาไข่ไก่ (บาท)
จำนวนไข่ไก่ (ฟอง)
V(7, 35)
W(8, 40)
จำนวนลูกค้า (คน)
เวลา
(นาฬิกา)
จากกราฟ
จะสังเกตเห็นว่า เมื่อเริ่มเปิดร้านเวลา 10.00 น.
จะมีลูกค้าเข้ามารับประทานอาหารและ
............................................................................
จนกระทั่งเวลา 11.00 - 14.00 น.พบว่า
.................................................. จากนั้นจำนวนลูกค้า
ค่อย ๆ ลดลงจนถึงเวลาร้านปิดในเวลา 16.00 น.
แนวโน้มของกราฟ
15
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 13 อันดาขี่จักรยานจากหมู่บ้านไปยังจุดชมวิวบนสันเขื่อน กราฟต่อไปนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ระยะทางและเวลาที่อันดาใช้ในการขี่จักรยาน จากกราฟจงอธิบายอัตราเร็วของการเดินทาง
ของเขาในแต่ละช่วง ดังนี้
วิธีทำ จากกราฟ จะเห็นว่า
การเดินทางของอันดามีสองช่วง และกราฟในแต่ละช่วงเป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรง
ดังนั้น อัตราเร็วในการเดินทางจึงเป็น .........................................................................
เนื่องจากทั้งสองช่วงใช้เวลาเดินทางใกล้เคียงกัน แต่ช่วงแรกได้ระยะทาง ............... ช่วงที่สอง
แสดงว่า อัตราเร็วของการเดินทางในช่วงแรก .................... อัตราเร็วของการเดินทางในช่วงที่สอง
ระยะทาง
เวลา
16
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 14 จากการสอบถามยอดขายโทรศัพท์รุ่น A และรุ่น B ของร้านค้าแห่งหนึ่ง ในทุก ๆ สิ้นเดือน
ตั้งแต่มกราคมถึงเดือนกันยายน สามารถนำข้อมูลมาแสดงได้ดังกราฟต่อไปนี้
จากกราฟ จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ในเดือนมีนาคม ร้านค้าแห่งนี้ขายโทรศัพท์รุ่นใดได้มากกว่ากัน และนักเรียนทราบได้อย่างไร
ตอบ .......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
2. ในเดือนใดที่ยอดขายโทรศัพท์รุ่น A และรุ่น B เท่ากัน และนักเรียนทราบได้อย่างไร
ตอบ .......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
3. ในเดือนต่อไป ร้านค้าแห่งนี้ควรสั่งโทรศัพท์รุ่นใดมาขายมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
ตอบ .......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
จำนวนโทรศัพท์ที่ขายได้
เดือน
ม.ค. พ.ค. ก.ย.
รุ่น B
รุ่น A
17
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
การเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณโดยใช้กราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก กราฟ
เหล่านั้นมีทั้งกราฟที่เป็นแนวเส้นตรงและไม่เป็นแนวเส้นตรง ซึ่งกราฟที่เป็นแนวเส้นตรง กล่าวคือ เป็นเส้นตรง ส่วน
ของเส้นตรง หรือเป็นจุดที่เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
ให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 15 สุธีและปรีดาต้องการหารายได้พิเศษในวันหยุด จึงไปช่วยกันขายเสื้อมือสองที่ตลาดนัดใกล้บ้าน
โดยวันอาทิตย์ที่แล้วสุธีและปรีดาต่างก็ขายเสื้อได้จำนวนหนึ่งซึ่งรวมกันได้ 7 ตัว
ถ้าให้ x แทนจำนวนเสื้อที่สุธีขายได้ (ตัว)
y แทนจำนวนเสื้อที่ปรีดาขายได้ (ตัว)
จำนวนเสื้อที่แต่ละคนขายได้จะต้องเป็นจำนวนนับที่รวมกันแล้วเท่ากับ 7 แสดงได้ดังตารางต่อไปนี้
x 1 2
y 6 5
จากตาราง เขียนคู่อันดับ (x, y) ได้ดังนี้ …………………………………………………………………….................
เมื่อกำหนดให้ แกน X แสดงจำนวนเสื้อที่สุธีขายได้ (ตัว) และแกน Y แสดงจำนวนเสื้อที่ปรีดาขายได้ (ตัว)
จะได้กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเสื้อที่สุธีและปรีดาขายได้ ดังนี้
จากกราฟจะเห็นว่าทุกจุดของคู่อันดับในตัวอย่างข้างต้น และกราฟที่ได้จะมีลักษณะเป็น ………………………
Y
X
0
1
2
3
4
5
6
7
8
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
3. ความสัมพันธ์เชิงเส้น
18
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 16 การบอกอุณหภูมิในประเทศไทยและหลายประเทศ นิยมบอกโดยใช้หน่วยเป็นองศาเซลเซียส (o
C )
แต่ก็มีบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา นิยมบอกอุณหภูมิโดยใช้หน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮต์ (o
F )
ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิทั้งสองหน่วย แสดงได้ด้วยสมการ
9
F = C + 32
5
โดยที่ C แทนอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส
และ F แทนอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์
เมื่อกำหนดอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสดังต่อไปนี้
จากค่า C แต่ละค่าที่กำหนดให้ เราสามารถหาค่า F ที่ทำให้สมการเป็นจริงได้ โดยแทนค่า C แต่ละ
ค่าลงในสมการ ....................................................................................... แล้วคำนวณหาค่า F จะได้
จากตาราง เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสกับอุณหภูมิ
ในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์ ได้ดังนี้ .......................................................................................................................
เมื่อกำหนดให้ แกน X แสดงอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส
แกน Y แสดงอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์
จะได้กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสกับอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์
ดังนี้
C -30 -20 -10 0 10 20 30
C -30 -20 -10 0 10 20 30
F -22 -4 ................. 32 ................. 68 .................
19
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
จากกราฟ จุดแต่ละจุดในกราฟซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสกับอุณหภูมิใน
หน่วยองศาฟาเรนไฮต์อยู่ในแนว...................................
จากตัวอย่างที่ 15 และตัวอย่างที่ 16 จะเห็นว่า หากค่าของจำนวนจริงบนแกน X เพิ่มขึ้น ค่าของจำนวนจริง
บนแกน Y จะ ............................. และหากค่าของจำนวนจริงบนแกน X ลดลง ค่าของจำนวนจริงบนแกน Y ก็จะ
................................. และเป็นตัวอย่างของความสัมพันธ์ของปริมาณสองปริมาณที่มีกราฟอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
เราเรียกความสัมพันธ์ในลักษณะเช่นนี้ว่า ความสัมพันธ์เชิงเส้น (Linear relation)
ตัวอย่างที่ 17 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ “จำนวนเต็มจำนวนหนึ่งลบสามเท่ากับจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง”
ถ้าให้ x แทนจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง
y แทนจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง
เขียนข้อความข้างต้นในรูปสมการได้เป็น ..........................................................
เมื่อกำหนดค่า x บางค่า และหาค่า y ที่ทำให้สมการ ............................... เป็นจริง จะได้ค่า x และ y
ดังตารางต่อไปนี้
x … -4 -2 0 2 4 …
y … …
จากตาราง คู่อันดับที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเต็มหนึ่งและจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง คือ
......................................................................................................................................
นำคู่อันดับที่ได้มาเขียนกราฟได้ดังนี้
20
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
จะเห็นว่า กราฟที่ได้เป็นจุดที่เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ความสัมพันธ์ของจำนวนเต็มทั้งสองจึงเป็น
ความสัมพันธ์เชิงเส้น
สมการของความสัมพันธ์เชิงเส้นที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองปริมาณ จะเรียกว่า
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร (two-variable linear equation)
ตัวอย่างเช่น ในตัวอย่างที่ 16 สมการ
9
F = C + 32
5
เป็นสมการเชิงเส้นสองตัวแปร นอกจากนี้ตัวอย่างที่ 17
สมการ x y = 3
− ที่กล่าวมาข้างต้นก็เป็นสมการเชิงเส้นสองตัวแปรเช่นเดียวกัน
ลักษณะสำคัญ
กรณีที่กำหนดสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในรูป Ax + By + C = 0 ถ้าไม่ระบุเงื่อนไขของ x และ y ให้ถือว่า
x และ y แทนจำนวนใด ๆ และกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนี้ จะเป็นเส้นตรงที่เรียกว่า ...............................
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร เป็นสมการที่สามารถเขียนได้ในรูปทั่วไปเป็น
Ax + By + C = 0 เมื่อ x, y เป็นตัวแปร
A, B และ C เป็นค่าคงตัว โดยที่ A และ B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน
1. มีตัวแปรสองตัว
2. ไม่มีการคูณกันของตัวแปร
3. เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวต้องเป็นหนึ่ง
4. A และ B ตัวใดตัวหนึ่งเป็นศูนย์ได้ แต่จะเป็นศูนย์พร้อมกันไม่ได้
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
21
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 19 จงเขียนกราฟของสมการ y = 4
วิธีทำ กำหนดค่า X และค่า y จากสมการ y = 4ได้ดังตาราง
x
y
จากตาราง จะได้คู่อันดับ ......................................................................................................
และได้กราฟของสมการ y = 4 เป็นดังนี้
22
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 20 จงเขียนกราฟของสมการ y = x - 1
วิธีทำ กำหนดค่า X และค่า y จากสมการ y = x - 1 ได้ดังตาราง
x … 0 …
y … …
จากตาราง จะได้คู่อันดับ ......................................................................................................
และได้กราฟของสมการ y = x - 1 เป็นดังนี้
23
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
ตัวอย่างที่ 19 จงเขียนกราฟของสมการ y = -2x + 3
วิธีทำ กำหนดค่า X และค่า y จากสมการ y = -2x + 3ได้ดังตาราง
x … 0 …
y … …
จากตาราง จะได้คู่อันดับ ......................................................................................................
และได้กราฟของสมการ y = -2x + 3 เป็นดังนี้
24
วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น
จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเต็มสองจำนวน จากข้อความ
“ผลบวกของสี่เท่าของจำนวนเต็มจำนวนหนึ่งกับสอง มีค่าเท่ากับจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง”
วิธีทำ ถ้าให้ x แทนจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง
y แทนจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง
เขียนข้อความข้างต้นในรูปสมการได้เป็น ..............................................
เมื่อกำหนดค่า x บางค่า และหาค่า y ที่ทำให้สมการ ............................... เป็นจริง จะได้ค่า x และ y
ดังตารางต่อไปนี้
x … 0 …
y … …
จากตาราง คู่อันดับที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเต็มหนึ่งและจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง คือ
......................................................................................................................................
นำคู่อันดับที่ได้มาเขียนกราฟได้ดังนี้
แบบฝึกหัดที่ 3

More Related Content

What's hot

ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์waranyuati
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกkroojaja
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์sarawut saoklieo
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละApirak Potpipit
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
เกณฑ์โครงการคณิตศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
จุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอกจุดภายในและจุดภายนอก
จุดภายในและจุดภายนอก
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
แบบฟอร์ม โครงงานคณิตศาสตร์
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 

Similar to บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf

แผนรายบท
แผนรายบทแผนรายบท
แผนรายบทToongneung SP
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)Jirathorn Buenglee
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตaoynattaya
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02witthawat silad
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Aon Narinchoti
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
ข้อสอบPre o-net math6
ข้อสอบPre o-net math6ข้อสอบPre o-net math6
ข้อสอบPre o-net math6fahsudarrat
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์kchwjrak
 
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.docข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.docSudtaweeThepsuponkul
 

Similar to บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf (20)

หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แบบรูป1
แบบรูป1แบบรูป1
แบบรูป1
 
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชันแยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
 
แผนรายบท
แผนรายบทแผนรายบท
แผนรายบท
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
31201final531
31201final53131201final531
31201final531
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
Pre o-net math6
Pre o-net math6Pre o-net math6
Pre o-net math6
 
ข้อสอบPre o-net math6
ข้อสอบPre o-net math6ข้อสอบPre o-net math6
ข้อสอบPre o-net math6
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.docข้อสอบปลายปี  ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
ข้อสอบปลายปี ชุดที่ 1 หน่วยที่ 3.doc
 
Complex Number Practice
Complex Number PracticeComplex Number Practice
Complex Number Practice
 

บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf

  • 1. 0 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 1 | โจทย์ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เอกสารประกอบการเรียน บทที่ 3 เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) ชื่อ – นามสกุล ...................................................................................... ชั้น ม.1/ ............ เลขที่ ................. ผู้สอน อาจารย์น้าผึ้ง ชูเลิศ (อ.น้าผึ้ง) อาจารย์ชลดา ปานสมบูรณ์ (อ.อ้อม) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ฝ่ายมัธยม)
  • 2. 1 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ในชีวิตประจำวันเราพบสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของตัวเลขหรือไม่อยู่ในรูป ของตัวเลขก็ได้ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีสมาชิกหลายตัว สามารถแสดงความสัมพันธ์ ในรูปของ ตาราง แผนภาพ คู่อันดับ และกราฟ คู่อันดับ เป็นการเขียนสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของการจับคู่ระหว่างสมาชิกของกลุ่มสองกลุ่มที่มี ความสัมพันธ์กันภายใต้เงื่อนไขหรือข้อตกลง การจับคู่ระหว่าง a และ b เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ (a, b) อ่านว่า คู่อันดับเอบี เรียก a ว่า สมาชิกตัวที่หนึ่งหรือสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่า สมาชิกตัวที่สองหรือสมาชิกตัวหลัง ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนไข่ไก่และราคาไข่ไก่ในร้านค้าแห่งหนึ่ง ในรูปของแผนภาพ และคู่อันดับ จากตารางที่กำหนดให้ ต่อไปนี้ เขียนแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนไข่ไก่ (ฟอง) และราคาไข่ไก่ (บาท) เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนไข่ไก่ (ฟอง) และราคาไข่ไก่ (บาท) ทั้งหมดได้ดังนี้ (1, 4) , (2, 8) , ……………………………………………………………………………………………………………….. จำนวนไข่ไก่ (ฟอง) 1 2 3 4 5 ราคาไข่ไก่ (บาท) 4 8 12 16 20 คู่อันดับ (ordered pair) จำนวนไข่ไก่ (ฟอง) ราคาไข่ไก่ (บาท) 4 1 2 3 5 16 4 8 12 ....... บทที่ 3 เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น 1. คู่อันดับและกราฟ ของคู่อันดับ
  • 3. 2 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของส้มและราคา ในรูปของแผนภาพ และคู่อันดับ จากตารางที่กำหนดให้ ต่อไปนี้ เขียนแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของส้ม(กิโลกรัม) และราคา(บาท) เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักของส้ม(กิโลกรัม) และราคา(บาท) ทั้งหมดได้ดังนี้ ........................................................................................................................................................ จากตัวอย่างที่ 2 สมาชิกตัวที่หนึ่งของคู่อันดับมาจากกลุ่มของน้ำหนักของส้ม สมาชิกตัวที่สองมาจากกลุ่ม ของราคา การสลับตำแหน่งระหว่างสมาชิกตัวที่หนึ่งและสมาชิกตัวที่สองของคู่อันดับ ทำให้ได้คู่อันดับที่แตกต่างจาก เดิม และมีความหมายเปลี่ยนไป เช่น (1, 45) มีความหมายว่า น้ำหนักส้ม 1 กิโลกรัม จะมีราคา 45 บาท (45, 1) มีความหมายว่า …………………………………………………………………………………….. จะเห็นว่า อันดับของคู่อันดับมีความสำคัญมาก สมาชิกของคู่อันดับ (a, b) จะสลับกันไม่ได้ ดังนั้น (a, b) ≠ (b, a) น้ำหนักของส้ม (กิโลกรัม) 1 2 3 4 5 6 ราคา (บาท) 45 90 130 175 220 260 ถ้ากำหนดให้คู่อันดับ (a, b) และคู่อันดับ (c, d) เป็นคู่อันดับสองคู่ใด ๆ จะได้ว่า 1) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d 2) ถ้า a = b แล้ว (a, b) = (b, a)
  • 4. 3 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น การใช้กราฟแสดงความสัมพันธ์ เราเขียนเส้นจำนวนในแนวนอนและแนวตั้งให้ตัดกันเป็นมุมฉากที่ตำแหน่ง ของจุดที่แทนศูนย์ (0) บนเส้นจำนวนแต่ละเส้น จุดที่เส้นจำนวนทั้งสองตัดกัน เรียกว่า ........................................... แทนด้วย 0 เส้นจำนวนในแนวนอน เรียกว่า แกนนอน (horizontal axis) หรือ .......................... และเส้นจำนวน ในแนวตั้ง เรียกว่า แกนตั้ง (vertical axis) หรือ ............................ ระบบที่แสดงตำแหน่งของจุดต่าง ๆ บนระนาบดังกล่าวนี้ เรียกว่า ระบบพิกัดฉาก คู่อันดับแต่ละคู่อันดับแทนได้ด้วยจุดบนระนาบ เรียกจุดนี้ว่า กราฟของคู่อันดับ กราฟของคู่อันดับ (a, b) หมายถึง จุดที่ได้จากการลากเส้นตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่ง a ไปตัดกับเส้นตรง ที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่ง b -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 -5 -3 -1 1 3 5 Y X แกน Y แกน X จุดกำเนิด จตุภาคที่ 1 จตุภาคที่ 2 จตุภาคที่ 3 จตุภาคที่ 4 กราฟของคู่อันดับ เกร็ดน่ารู้ เดการ์ต, เรอเน นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับระบบพิกัดฉาก
  • 5. 4 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนกราฟของคู่อันดับที่กำหนดให้ให้อยู่บนระนาบ 1. (3,4) 2. (-4,5) 3. (-6,0)
  • 6. 5 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 4 จงเขียนกราฟของคู่อันดับต่อไปนี้บนระนาบ (-4, 6), (5, 9), (-7, -6)และ (8, -8) - กราฟของ (-4, 6) เป็นจุดที่ได้จากการลากเส้นตรงให้ตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่งของ -4 ไปตัดกับ เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่งของ 6 ซึ่งอยู่ในจตุภาคที่ 2 - กราฟของ (5, 9) เป็นจุดที่ได้จากการลากเส้นตรงให้ตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่งของ ....... ไปตัดกับ เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่งของ ........ ซึ่งอยู่ในจตุภาคที่ ........ - กราฟของ (-7, -6) เป็นจุดที่ได้จากการลากเส้นตรงให้ตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่งของ ....... ไปตัดกับ เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่งของ ........ ซึ่งอยู่ในจตุภาคที่ ........ - กราฟของ (8, -8) เป็นจุดที่ได้จากการลากเส้นตรงให้ตั้งฉากกับแกน X ที่ตำแหน่งของ ....... ไปตัดกับ เส้นตรงที่ลากตั้งฉากกับแกน Y ที่ตำแหน่งของ ........ ซึ่งอยู่ในจตุภาคที่ ........ (-4, 6)
  • 7. 6 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ถ้า P เป็นจุดจุดหนึ่งบนระนาบที่กราฟของ (x, y) จะกล่าวว่า จุด P มีพิกัด (coordinate) เป็น (x, y) โดย x เป็นพิกัดที่หนึ่ง และ y เป็นพิกัดที่สอง และอาจเขียนแทนพิกัดของจุด P ด้วย P(x, y) เช่น ถ้าจุด P มีพิกัด เป็น (2, -3) อาจเขียนแทนด้วย P(2, -3) ตัวอย่างที่ 5 จากรูปจงหาพิกัด P, Q, R, S และ T วิธีทำ พิกัดของจุดที่กำหนดให้เป็นดังนี้ พิกัดของ P คือ (1, 6) หรือเขียนแทนด้วย P(1, 6) พิกัดของ Q คือ .............. หรือเขียนแทนด้วย ............... พิกัดของ R คือ .............. หรือเขียนแทนด้วย ............... พิกัดของ S คือ .............. หรือเขียนแทนด้วย ............... พิกัดของ T คือ .............. หรือเขียนแทนด้วย ............... P Q R S T
  • 8. 7 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 6 กำหนดตำแหน่งของวัด โรงเรียน ตลาด บ้าน สถานีตำรวจและโรงพยาบาล ลงบนระนาบเดียวกัน โดยให้แกน Y อยู่ในแนวทิศเหนือ-ใต้ และพิกัดของวัดเป็น (3, 1) ถ้าบ้านอยู่ห่างจากวัดไปทางทิศ เหนืออยู่ 6 หน่วย โรงเรียนอยู่ห่างจากบ้านไปทางทิศตะวันตก 4 หน่วย ตลาดอยู่ห่างจากโรงเรียนไป ทางทิศตะวันตก 5 หน่วย โรงพยาบาลอยู่ห่างจากตลาดไปทางทิศใต้ 10 หน่วย และสถานีตำรวจอยู่ ห่างจากโรงพยาบาลไปทางทิศตะวันออก 6 หน่วย จงเขียนกราฟแสดงตำแหน่งและหาพิกัดของบ้าน โรงเรียน ตลาด สถานีตำรวจและโรงพยาบาล วิธีทำ จากข้อมูลที่กำหนดให้ จะได้กราฟแสดงตำแหน่งและพิกัดของสถานที่ต่าง ๆ ได้ดังนี้ ดังนั้น บ้าน มีพิกัดเป็น ....................... โรงเรียน มีพิกัดเป็น ....................... ตลาด มีพิกัดเป็น ....................... สถานีตำรวจ มีพิกัดเป็น ....................... โรงพยาบาล มีพิกัดเป็น .......................
  • 9. 8 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น 1. จากรูป จงหาพิกัดของจุดบนกราฟต่อไปนี้ ดังนั้น จุด A มีพิกัดเป็น ................... จุด F มีพิกัดเป็น ................... จุด B มีพิกัดเป็น ................... จุด G มีพิกัดเป็น ................... จุด C มีพิกัดเป็น ................... จุด H มีพิกัดเป็น ................... จุด D มีพิกัดเป็น ................... จุด I มีพิกัดเป็น ................... จุด E มีพิกัดเป็น ................... จุด J มีพิกัดเป็น ................... 2. จงเขียนกราฟของจุดต่อไปนี้ A(1, 3), B(2, 7), C(-5, 0), D(3, 6), E(6, 2), F(-1, 1), G(3, -1), H(8, -1), I(3, -3), J(-3, -3), K(-8, 0), L(-10, -1) และ M(-9, 3) พร้อมทั้งเขียนชื่อจุด และลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุด ต่าง ๆ โดยเริ่มจากจุด A ถึง จุด M ตามลำดับ และลากเส้นตรงเชื่อมจุด M และจุด C ลงในกระดาษกราฟ หรือกระดาษ A4 ให้ถูกต้อง A B C D E F G H I J แบบฝึกหัดที่ 1
  • 10. 9 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น การใช้คู่อันดับในการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณ เช่น จำนวนปากกาที่ต้องการซื้อ เป็นด้ามกับราคาขายเป็นบาท เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณ เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ได้โดย ใช้กราฟของคู่อันดับ และเมื่อมีกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณ เราสามารถหาพิกัดของจุดที่อยู่ บนกราฟนั้นได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 7 จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนลูกชิ้นปิ้งเป็นไม้ และราคาขายเป็นบาท จากตาราง ที่กำหนดให้ต่อไปนี้ วิธีทำ จากตาราง เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนลูกชิ้นปิ้งเป็นไม้ และราคาขายเป็นบาท ได้ดังนี้ (1, 10), ................................................................................... เมื่อกำหนดให้ แกน X แสดงจำนวนลูกชิ้นปิ้งเป็นไม้ และ แกน Y แสดง ........................................................... กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนลูกชิ้นปิ้งเป็นไม้ และราคาขายเป็นบาท คือ จุด P, Q, R, S และ T จำนวนลูกชิ้นปิ้ง (ไม้) 1 2 3 4 5 ราคาขาย (บาท) 10 20 30 40 50 P(1, 10) Q(2, 20) R(3, 30) S(4, 40) T(5, 50) ข้อสังเกต เนื่องจากจำนวนไม้ของลูกชิ้นปิ้งและราคาขายเป็นจำนวน........... แสดงว่า กราฟของความสัมพันธ์จะอยู่ในจตุภาคที่ ........ ในที่นี้จึงเขียนแสดงบนระนาบเฉพาะ จตุภาคที่ ........ เท่านั้น 10 20 30 40 50 60 70 1 2 3 4 5 6 7 ลูกชิ้นปิ้ง (ไม้) ราคาขาย (บาท) 0 2.กราฟและการนำไปใช้ การอ่านและแปลความหมายของกราฟ
  • 11. 10 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 8 จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้โดยสารรถประจำทางเป็นคน และค่าโดยสาร เป็นบาท จากตารางที่กำหนดให้ต่อไปนี้ วิธีทำ จากตาราง เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้โดยสารรถประจำทางเป็นคน และค่า โดยสารเป็นบาท ได้ดังนี้ ............................................................................................................................. เมื่อกำหนดให้ แกน X แสดง ........................................................... และ แกน Y แสดง ........................................................... กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนผู้โดยสารรถประจำทางเป็นคน และค่าโดยสารเป็นบาท คือ จุด M, N, O, P, Q และ R จำนวนผู้โดยสารรถประจำทาง(คน) 0 1 2 3 4 5 ค่าโดยสาร (บาท) 0 7 14 21 28 35 7 14 21 28 35 42 49 1 2 3 4 5 6 7 ............................................................. ..................................... 0
  • 12. 11 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 9 กำหนดกราฟแสดงจำนวนมะนาวที่ชาวสวนคนหนึ่งเก็บส่งขายตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ 10 ของเดือนพฤศจิกายน ได้ดังนี้ จากข้อมูลข้างต้น ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. วันที่ 2 ชาวสวนเก็บมะนาวส่งขายได้กี่ผล ตอบ .......................................................................................................................... 2. วันที่เท่าไรที่ชาวสวนเก็บมะนาวส่งขายได้มากที่สุด และเก็บได้กี่ผล ตอบ .......................................................................................................................... 3. วันที่เท่าไรบ้างที่ชาวสวนเก็บมะนาวส่งขายได้เท่ากัน และได้วันละกี่ผล ตอบ .......................................................................................................................... .......................................................................................................................... 4. วันที่เท่าไรที่ชาวสวนเริ่มเก็บมะนาวส่งขายได้ลดลง ตอบ .......................................................................................................................... 5. จำนวนมะนาวที่ชาวสวนเก็บส่งขายได้ในรอบ 10 วันนี้ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร จงอธิบาย ตอบ .......................................................................................................................... ......................................................................................................................... 6. ถ้าวันที่ 3 ราคาขายส่งมะนาว คือ 100 ผล ราคา 300 บาท ชาวสวนคนนี้มีรายได้จากการขายส่งมะนาว ในวันที่ 3 กี่บาท ตอบ .......................................................................................................................... วันที่ จำนวนมะนาว (ร้อยผล)
  • 13. 12 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 10 ถังน้ำของโรงเรียนมีความจุ 400 ลิตร เมื่อเปิดน้ำออกจากถังเพื่อนำไปใช้รดน้ำแปลงผักสวนครัว พบว่าปริมาณน้ำที่เหลือในถังเมื่อเวลาผ่านไปเป็นนาที เป็นดังนี้ เวลาที่ผ่านไป (นาที) 0 1 2 3 4 5 6 ปริมาณน้ำที่เหลือในถัง (ลิตร) 400 360 320 280 240 200 160 จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ผ่านไปและปริมาณน้ำที่เหลือในถัง แล้วตอบคำถาม วิธีทำ 1. ก่อนเปิดน้ำออกจากถัง ในถังมีน้ำอยู่เท่าใด ตอบ ........................................................................................................................... 2. น้ำจะเหลืออยู่ครึ่งถังเมื่อเวลาผ่านไปเท่าใด ตอบ ........................................................................................................................... 3. เมื่อเวลาผ่านไป 4 นาที 30 วินาที จะมีน้ำเหลือในถังเท่าใด ตอบ ........................................................................................................................... 4. น้ำจะหมดถังเมื่อเวลาผ่านไปกี่นาที ตอบ ........................................................................................................................... 5. เมื่อเวลาผ่านไปกี่นาที จะใช้น้ำไป 120 ลิตร ตอบ ........................................................................................................................... ปริมาณน้ำที่เหลือในถัง (ลิตร) เวลาที่ผ่านไป (นาที)
  • 14. 13 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น คำถาม ปริมาณน้ำฝนที่วัดเป็นมิลลิเมตรที่หาดเจ้าสำราญ จังหวัดเพชรบุรี ในวันที่ 1-10 กรกฎาคม แสดงด้วยกราฟ ได้ดังนี้ จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปริมาณน้ำฝนที่วัดได้ในวันที่ 2 เป็นเท่าใด ตอบ ........................................................................................................................... 2. วันที่เท่าใดที่ฝนตกมากที่สุด และวัดปริมาณน้ำฝนได้กี่มิลลิเมตร ตอบ ........................................................................................................................... 3. วันที่ฝนตกน้อยที่สุด และวันที่ฝนตกมากที่สุด มีปริมาณน้ำฝนต่างกันเท่าใด ตอบ ........................................................................................................................... 4. วันที่เท่าใดที่มีปริมาณน้ำฝนเท่ากัน และวัดปริมาณน้ำฝนได้กี่มิลลิเมตร ตอบ ........................................................................................................................... 5. ปริมานน้ำฝนทั้งหมด ตั้งแต่วันที่ 1-10 กรกฎาคม วัดปริมาณน้ำฝนได้กี่มิลลิเมตร ตอบ ........................................................................................................................... 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ปริมาณน้ำฝน (มิลลิเมตร) วันที่ แบบฝึกหัดที่ 2 การอ่านและแปลความหมายของกราฟ
  • 15. 14 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 11 ถ้ากำหนดให้ไข่ไก่ราคาฟองละ 5 บาท เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนไข่ไก่เป็นฟอง และราคาไข่ไก่เป็นบาทสำหรับจำนวนไข่ไก่ 7 ฟอง 8 ฟอง ไปได้เรื่อย ๆ ในกรณีที่กราฟความสัมพันธ์มีลักษณะเป็นจุด ถ้าต้องการดูแนวโน้มของกราฟของความสัมพันธ์ เรานิยมเขียนต่อจุดเหล่านั้นให้เป็นเส้น ซึ่งจะเห็นแนวโน้มของกราฟของความสัมพันธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรง ดังรูป ในทางกลับกัน เมื่อมีกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณ เราอาจบอกแนวโน้มของ ความสัมพันธ์จากกราฟได้ โดยที่กราฟนั้นอาจไม่มีการแสดงค่าบนแกน X และแกน Y หรือ พิกัดบนกราฟ ตัวอย่างที่ 12 ร้านอาหารแห่งหนึ่งเปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 10.00 น. ถึง 16.00 น. โดยร้านนี้สามารถรองรับลูกค้า ได้สูงสุด80 คน และมีจำนวนลูกค้าที่มารับประทานอาหารในแต่ละช่วงเวลาแสดงได้ดังกราฟต่อไปนี้ ราคาไข่ไก่ (บาท) จำนวนไข่ไก่ (ฟอง) V(7, 35) W(8, 40) จำนวนลูกค้า (คน) เวลา (นาฬิกา) จากกราฟ จะสังเกตเห็นว่า เมื่อเริ่มเปิดร้านเวลา 10.00 น. จะมีลูกค้าเข้ามารับประทานอาหารและ ............................................................................ จนกระทั่งเวลา 11.00 - 14.00 น.พบว่า .................................................. จากนั้นจำนวนลูกค้า ค่อย ๆ ลดลงจนถึงเวลาร้านปิดในเวลา 16.00 น. แนวโน้มของกราฟ
  • 16. 15 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 13 อันดาขี่จักรยานจากหมู่บ้านไปยังจุดชมวิวบนสันเขื่อน กราฟต่อไปนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะทางและเวลาที่อันดาใช้ในการขี่จักรยาน จากกราฟจงอธิบายอัตราเร็วของการเดินทาง ของเขาในแต่ละช่วง ดังนี้ วิธีทำ จากกราฟ จะเห็นว่า การเดินทางของอันดามีสองช่วง และกราฟในแต่ละช่วงเป็นส่วนหนึ่งของเส้นตรง ดังนั้น อัตราเร็วในการเดินทางจึงเป็น ......................................................................... เนื่องจากทั้งสองช่วงใช้เวลาเดินทางใกล้เคียงกัน แต่ช่วงแรกได้ระยะทาง ............... ช่วงที่สอง แสดงว่า อัตราเร็วของการเดินทางในช่วงแรก .................... อัตราเร็วของการเดินทางในช่วงที่สอง ระยะทาง เวลา
  • 17. 16 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 14 จากการสอบถามยอดขายโทรศัพท์รุ่น A และรุ่น B ของร้านค้าแห่งหนึ่ง ในทุก ๆ สิ้นเดือน ตั้งแต่มกราคมถึงเดือนกันยายน สามารถนำข้อมูลมาแสดงได้ดังกราฟต่อไปนี้ จากกราฟ จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ในเดือนมีนาคม ร้านค้าแห่งนี้ขายโทรศัพท์รุ่นใดได้มากกว่ากัน และนักเรียนทราบได้อย่างไร ตอบ ....................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 2. ในเดือนใดที่ยอดขายโทรศัพท์รุ่น A และรุ่น B เท่ากัน และนักเรียนทราบได้อย่างไร ตอบ ....................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... 3. ในเดือนต่อไป ร้านค้าแห่งนี้ควรสั่งโทรศัพท์รุ่นใดมาขายมากกว่ากัน เพราะเหตุใด ตอบ ....................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... จำนวนโทรศัพท์ที่ขายได้ เดือน ม.ค. พ.ค. ก.ย. รุ่น B รุ่น A
  • 18. 17 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น การเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณโดยใช้กราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก กราฟ เหล่านั้นมีทั้งกราฟที่เป็นแนวเส้นตรงและไม่เป็นแนวเส้นตรง ซึ่งกราฟที่เป็นแนวเส้นตรง กล่าวคือ เป็นเส้นตรง ส่วน ของเส้นตรง หรือเป็นจุดที่เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 15 สุธีและปรีดาต้องการหารายได้พิเศษในวันหยุด จึงไปช่วยกันขายเสื้อมือสองที่ตลาดนัดใกล้บ้าน โดยวันอาทิตย์ที่แล้วสุธีและปรีดาต่างก็ขายเสื้อได้จำนวนหนึ่งซึ่งรวมกันได้ 7 ตัว ถ้าให้ x แทนจำนวนเสื้อที่สุธีขายได้ (ตัว) y แทนจำนวนเสื้อที่ปรีดาขายได้ (ตัว) จำนวนเสื้อที่แต่ละคนขายได้จะต้องเป็นจำนวนนับที่รวมกันแล้วเท่ากับ 7 แสดงได้ดังตารางต่อไปนี้ x 1 2 y 6 5 จากตาราง เขียนคู่อันดับ (x, y) ได้ดังนี้ ……………………………………………………………………................. เมื่อกำหนดให้ แกน X แสดงจำนวนเสื้อที่สุธีขายได้ (ตัว) และแกน Y แสดงจำนวนเสื้อที่ปรีดาขายได้ (ตัว) จะได้กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเสื้อที่สุธีและปรีดาขายได้ ดังนี้ จากกราฟจะเห็นว่าทุกจุดของคู่อันดับในตัวอย่างข้างต้น และกราฟที่ได้จะมีลักษณะเป็น ……………………… Y X 0 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 3. ความสัมพันธ์เชิงเส้น
  • 19. 18 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 16 การบอกอุณหภูมิในประเทศไทยและหลายประเทศ นิยมบอกโดยใช้หน่วยเป็นองศาเซลเซียส (o C ) แต่ก็มีบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา นิยมบอกอุณหภูมิโดยใช้หน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮต์ (o F ) ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิทั้งสองหน่วย แสดงได้ด้วยสมการ 9 F = C + 32 5 โดยที่ C แทนอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส และ F แทนอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์ เมื่อกำหนดอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสดังต่อไปนี้ จากค่า C แต่ละค่าที่กำหนดให้ เราสามารถหาค่า F ที่ทำให้สมการเป็นจริงได้ โดยแทนค่า C แต่ละ ค่าลงในสมการ ....................................................................................... แล้วคำนวณหาค่า F จะได้ จากตาราง เขียนคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสกับอุณหภูมิ ในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์ ได้ดังนี้ ....................................................................................................................... เมื่อกำหนดให้ แกน X แสดงอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส แกน Y แสดงอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์ จะได้กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสกับอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์ ดังนี้ C -30 -20 -10 0 10 20 30 C -30 -20 -10 0 10 20 30 F -22 -4 ................. 32 ................. 68 .................
  • 20. 19 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น จากกราฟ จุดแต่ละจุดในกราฟซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียสกับอุณหภูมิใน หน่วยองศาฟาเรนไฮต์อยู่ในแนว................................... จากตัวอย่างที่ 15 และตัวอย่างที่ 16 จะเห็นว่า หากค่าของจำนวนจริงบนแกน X เพิ่มขึ้น ค่าของจำนวนจริง บนแกน Y จะ ............................. และหากค่าของจำนวนจริงบนแกน X ลดลง ค่าของจำนวนจริงบนแกน Y ก็จะ ................................. และเป็นตัวอย่างของความสัมพันธ์ของปริมาณสองปริมาณที่มีกราฟอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน เราเรียกความสัมพันธ์ในลักษณะเช่นนี้ว่า ความสัมพันธ์เชิงเส้น (Linear relation) ตัวอย่างที่ 17 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ “จำนวนเต็มจำนวนหนึ่งลบสามเท่ากับจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง” ถ้าให้ x แทนจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง y แทนจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง เขียนข้อความข้างต้นในรูปสมการได้เป็น .......................................................... เมื่อกำหนดค่า x บางค่า และหาค่า y ที่ทำให้สมการ ............................... เป็นจริง จะได้ค่า x และ y ดังตารางต่อไปนี้ x … -4 -2 0 2 4 … y … … จากตาราง คู่อันดับที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเต็มหนึ่งและจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง คือ ...................................................................................................................................... นำคู่อันดับที่ได้มาเขียนกราฟได้ดังนี้
  • 21. 20 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น จะเห็นว่า กราฟที่ได้เป็นจุดที่เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ความสัมพันธ์ของจำนวนเต็มทั้งสองจึงเป็น ความสัมพันธ์เชิงเส้น สมการของความสัมพันธ์เชิงเส้นที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณสองปริมาณ จะเรียกว่า สมการเชิงเส้นสองตัวแปร (two-variable linear equation) ตัวอย่างเช่น ในตัวอย่างที่ 16 สมการ 9 F = C + 32 5 เป็นสมการเชิงเส้นสองตัวแปร นอกจากนี้ตัวอย่างที่ 17 สมการ x y = 3 − ที่กล่าวมาข้างต้นก็เป็นสมการเชิงเส้นสองตัวแปรเช่นเดียวกัน ลักษณะสำคัญ กรณีที่กำหนดสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในรูป Ax + By + C = 0 ถ้าไม่ระบุเงื่อนไขของ x และ y ให้ถือว่า x และ y แทนจำนวนใด ๆ และกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนี้ จะเป็นเส้นตรงที่เรียกว่า ............................... สมการเชิงเส้นสองตัวแปร เป็นสมการที่สามารถเขียนได้ในรูปทั่วไปเป็น Ax + By + C = 0 เมื่อ x, y เป็นตัวแปร A, B และ C เป็นค่าคงตัว โดยที่ A และ B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน 1. มีตัวแปรสองตัว 2. ไม่มีการคูณกันของตัวแปร 3. เลขชี้กำลังของตัวแปรแต่ละตัวต้องเป็นหนึ่ง 4. A และ B ตัวใดตัวหนึ่งเป็นศูนย์ได้ แต่จะเป็นศูนย์พร้อมกันไม่ได้ สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
  • 22. 21 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 19 จงเขียนกราฟของสมการ y = 4 วิธีทำ กำหนดค่า X และค่า y จากสมการ y = 4ได้ดังตาราง x y จากตาราง จะได้คู่อันดับ ...................................................................................................... และได้กราฟของสมการ y = 4 เป็นดังนี้
  • 23. 22 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 20 จงเขียนกราฟของสมการ y = x - 1 วิธีทำ กำหนดค่า X และค่า y จากสมการ y = x - 1 ได้ดังตาราง x … 0 … y … … จากตาราง จะได้คู่อันดับ ...................................................................................................... และได้กราฟของสมการ y = x - 1 เป็นดังนี้
  • 24. 23 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น ตัวอย่างที่ 19 จงเขียนกราฟของสมการ y = -2x + 3 วิธีทำ กำหนดค่า X และค่า y จากสมการ y = -2x + 3ได้ดังตาราง x … 0 … y … … จากตาราง จะได้คู่อันดับ ...................................................................................................... และได้กราฟของสมการ y = -2x + 3 เป็นดังนี้
  • 25. 24 วิชาคณิตศาสตร์ 2 (ค21102) บทที่ 3 | กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเต็มสองจำนวน จากข้อความ “ผลบวกของสี่เท่าของจำนวนเต็มจำนวนหนึ่งกับสอง มีค่าเท่ากับจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง” วิธีทำ ถ้าให้ x แทนจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง y แทนจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง เขียนข้อความข้างต้นในรูปสมการได้เป็น .............................................. เมื่อกำหนดค่า x บางค่า และหาค่า y ที่ทำให้สมการ ............................... เป็นจริง จะได้ค่า x และ y ดังตารางต่อไปนี้ x … 0 … y … … จากตาราง คู่อันดับที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเต็มหนึ่งและจำนวนเต็มอีกจำนวนหนึ่ง คือ ...................................................................................................................................... นำคู่อันดับที่ได้มาเขียนกราฟได้ดังนี้ แบบฝึกหัดที่ 3