SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
เรื่อง
“ทาไมเด็กไทยพูดภาษาอังกฤษไม่ได้”
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
โดย นางสาวดิฐี นพตลุง, นางสาวรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และนางสาวณีรวัลย์ ตินานพ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ครูที่ปรึกษา นางวัชราภรณ์ สารวมจิต ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
นางรุ่งทิพย์ สายแสงจันทร์ ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
นายนฤพนธ์ สายเสมา ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สังกัด โรงเรียนประสาทวิทยาคาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 (สุรินทร์)
ปีการศึกษา 2556
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
บทนา
“ภาษาอังกฤษ คือ หน้าต่างของการสื่อสาร และเป็นหน้าต่างของโลก”
ภาษา คือ เครื่องมือของการสื่อสารของทุกสิ่ง การที่เราจะถ่ายทอดความรู้ของเรา หรือ
วัฒนธรรมไปยังผู้อื่นนั้น เราต้องผ่านทั้งวัจนภาษา และอวัจนภาษา การที่วัฒนธรรมแต่ละวัฒนธรรมจะสืบ
ทอดลักษณะ และรายละเอียดทั้งมวล จาก อดีต มาถึงปัจจุบันและจากปัจจุบันที่จะสืบทอดต่อไปใน
อนาคตได้นั้น ก็ด้วยอาศัยภาษาเป็นเครื่องมือทั้งโดยการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และการเล่าจดจา
สืบกันต่อมาจึงมีคากล่าวว่า ภาษาจึงเป็นหัวใจของวัฒนธรรม ถ้าปราศจากจากหัวใจคือภาษาเสียแล้ว
วัฒนธรรมก็สืบทอดไม่ได้และต้องสูญหายไปโดยเร็วขณะที่ภาษาทาหน้าที่สืบทอดวัฒนธรรมไทยนั้น ภาษา
ยังมีความสาคัญอย่างยิ่งในแง่เป็นเครื่องสื่อความหมายทางวัฒนธรรมด้วย จะเห็นว่า ภาษามีความสาคัญ
และมีประโยชน์มากมาย ได้แก่ ภาษาช่วยธารงสังคม ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล ภาษาช่วยให้
มนุษย์พัฒนา ภาษาช่วยกาหนดอนาคต ภาษาช่วยจรรโลงใจ
ในภาวะปัจจุบันที่อิทธิพลของโลกาภิวัตน์ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง และยังจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
นั้นการเรียนรู้ภาษาของประเทศอื่นย่อมได้เปรียบในการทากิจการต่างๆ จึงทาให้มีการใช้ภาษาอังกฤษเป็น
ภาษากลางในการสื่อสาร และการเรียนภาษามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ไม่เน้นให้อ่านอออกเสียงอย่าง
เดียวแต่จะเน้นเพื่อการสื่อสารกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนได้นาไปใช้จริงในโลกโลกาภิวัตน์
มีผู้คนไม่น้อยพยายามเรียนรู้และพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในด้านการสื่อสารของตนเอง
ในปีพุทธศักราช 2558 จะมีการเปิดประชาคมอาเซียน และในประชาคมอาเซียนได้มีการใช้
ภาษาอังกฤษในการสื่อสารเป็นภาษากลาง เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารและค้าขายระหว่างประเทศสมาชิก
ของอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ในขณะที่รอการเปิดอาเซียนประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศต่างก็
เตรียมพร้อมเกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อใช้ในการสื่อสาร ดังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเยาวชนแห่ง
อาเซียน คือ สื่อสาร 2 ภาษา ล้าหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้าง ร่วมกันเป็นพลโลก ในทุกๆประเทศ
ถือว่าประสบความสาเร็จในการพูดภาษาอังกฤษยกเว้นประเทศไทย ที่ยังล้าหลังในการพัฒนาทักษะด้าน
การใช้ภาษาอังกฤษของเยาวชนเป็นจานวนมาก
ปัญหาดังกล่าวที่ทาให้เด็กไทยไม่มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร มีหลาย
สาเหตุ เช่น ความกล้าแสดงอออก ไม่มั่นใจในตนเอง ไม่ตระหนักว่าภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สาคัญ ขาด
แรงจูงใจ นี่เป็นแค่สาเหตุส่วนหนึ่งเท่านั้น แต่มันน่าคิดตรงที่ว่าเด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษมาตั้งแต่ ป.1
จนถึงระดับมหาวิทยาลัย แต่ทาไมจึงไม่สามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้
ผู้รายงานได้ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทาให้เด็กไทยพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ รวมถึง
ปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จและไม่ประสบความสาเร็จในการพูดและสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ โดย
ศึกษาจากเอกสารต่างๆ และเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์นักเรียนที่ไม่ชอบภาษาอังกฤษ
และบุคคลที่ประสบความสาเร็จในการพูดภาษา ได้แก่ สตรีชาวไทยที่ได้สามีเป็นชาวต่างชาติ ครูและ
ศึกษานิเทศก์ที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษ พบสาเหตุที่น่าสนใจ ดังนี้
ทาไมเด็กไทยไม่สามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้
ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าจากเอกสาร และเก็บข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์ พบว่าสาเหตุที่
เด็กไทยไม่สามารถพูดและสื่อสารได้ด้วยภาษาอังกฤษ มีสาเหตุหลายประการ สรุปได้ดังนี้
1. พื้นฐานทางวัฒนธรรม
โดยพื้นฐานทางวัฒนธรรมของคนไทยจะอบรมให้ลูกหลานเป็นคนสงบเสงี่ยม เจียมตัว
เรียบร้อย จึงทาให้เด็กไทยบางส่วนไม่มีความกล้าแสดงออก ไม่กล้าคิด ไม่กล้าพูด ที่บ้านขาดการส่งเสริม
ให้ใช้ภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่อง เช่น การดูหนัง หรือฟังเพลงที่เป็นภาษาอังกฤษ บางครั้งเมื่อทาเช่นนั้นจะ
ถูกผู้ใหญ่ หรือเพื่อนๆ พูดในเชิงประชดประชันว่า หัวสูงบ้าง ทาให้นักเรียนขาดกาลังใจและส่งผลให้การ
เรียนรู้ภาษาอังกฤษตามธรรมชาติขาดไปด้วย
2. ระบบการเรียนของไทย
เมื่อนักเรียนถึงวัยที่เข้าเรียนในระบบโรงเรียน ก็เข้าเรียนในห้องเรียนที่มีจานวนนักเรียน
เป็นจานวนมาก อาจะ 30, 40 หรือ 50 คน ทาให้การเรียนไม่ทั่วถึง อีกทั้งวิชาภาษาอังกฤษเป็นวิชาที่
จาเป็นต้องอาศัยทักษะ และการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง และรูปแบบการสอนที่ใช้ส่วนมาก จะเน้นที่ไวยากรณ์
มากจนเกินไป โดยที่ไม่ได้เน้นการสื่อสาร สอนไม่เป็นไปตามธรรมชาติของภาษา คือ ต้องเริ่มจากการฟัง
ก่อน จึงทาให้เวลาพูดออกมากลัวจะผิดไม่ถูกตามหลักไวยากรณ์ กลัวโดนล้อ จึงทาให้ทักษะการใช้ภาษา
ด้อยลงไปในที่สุด
3. ขาดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ลักษณะชุมของอาเภอปราสาท และอาเภอใกล้เคียงผู้ศึกษาอาศัยอยู่นั้น เป็นชุมชนที่มีการ
ผสมผสานทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษานั้น มีการสื่อสารกันหลายภาษา หลักๆ คือ ภาษาไทย ภาษา
เขมรถิ่นไทย และภาษาลาว อาจจะมีภาษาส่วน หรือกูย ด้วยบางส่วน ผู้ศึกษามีเพื่อนที่พูดแต่ละภาษา
เหล่านั้น และตั้งข้อสังเกตอย่างหนึ่งว่า บางบ้านพ่อแม่และคนในหมู่บ้านพูดสื่อสารกันด้วยภาษาเขมรถิ่น
ไทย บางบ้านนักเรียนสามารถพูดภาษาเขมรถิ่นไทยได้ ในขณะที่นักเรียนบางคนกลับไม่สามารถสื่อสาร
ด้วยภาษาเขมรถิ่นไทยได้ หรือพูดไม่ได้ แต่ฟังพอได้ บางคนพูดไม่ได้เพราะที่บ้านพูดภาษาลาว แต่เมื่อมี
เพื่อนเป็นคนที่พูดภาษาเขมรถิ่นไทย ก็สามารถพูดคุยสื่อสารได้ เมื่อสอบถามแล้วพบว่า กลุ่มที่พูดภาษา
เขมรถิ่นไทยได้ตั้งแต่แรก คือ กลุ่มที่ครอบครัวพูดภาษาเขมรถิ่นไทยกับนักเรียนตั้งแต่เล็กๆ ส่วนกลุ่มที่พ่อ
แม่พูดได้ แต่ลูกพูดไม่ได้ คือ กลุ่มที่ไม่ได้สื่อสารกับลูกด้วยภาษาเขมรถิ่นไทย และกลุ่มที่มาพูดได้ภายหลัง
คือ นักเรียนที่จาเป็นต้องพูดกับเพื่อน และแสดงออกด้วยการพูดเพื่อให้เพื่อนยอมรับเข้ากลุ่ม และไม่เกิด
ความแตกต่างและแปลกแยก
ภาษาอังกฤษก็เช่นกัน นักเรียนที่ไม่ประสบความสาเร็จในการพูดภาษาอังกฤษนั้น บางคน
ขาดการศึกษาต่อเนื่องด้วยตนเอง เช่น การฟังจากสื่อต่างๆ เช่น เพลง ภาพยนตร์ ข่าว ฯลฯ การอ่านจาก
สื่อต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ ข้อความต่างๆ การพูด ซึ่งไม่ค่อยได้พูดอยู่แล้วเมื่อออกจากห้องเรียน เพื่อน
นักเรียนคนหนึ่งเล่าว่า เมื่อนักเรียนเดินทางไปทัศนศึกษาที่ประเทศเวียดนามกับโรงเรียน (โรงเรียน
ประสาทวิทยาคารเป็นโรงเรียนในโครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค หรือ
Thailand Education Hub) นักเรียนที่นั่นพูดภาษาไทยไม่ได้ แต่สามารถสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้
นักเรียนคนที่พูดภาษาอังกฤษก็จะพูดคุย และฟังสิ่งที่นักเรียนเวียดนามอธิบาย ส่วนคนที่พูดไม่ค่อยได้ก็
จะทาได้เพียงเดินชมสถานที่เท่านั้น ทาให้แม้จะมีโอกาสได้ใช้ แต่เมื่อไม่กล้า และหรือมีความรู้
ความสามารถไม่พอก็ไม่สามารถสื่อสารได้
อีกประการหนึ่งคือ เมื่อนักเรียนพบปัญหาเกี่ยวกับภาษาอังกฤษแล้ว นักเรียนขาด
การศึกษาอย่างต่อเนื่อง เช่น เห็นประโยคภาษาอังกฤษ แต่มีคาศัพท์บางคาไม่ทราบความหมาย ก็ไม่คิดที่
จะศึกษาค้นคว้าหาความหมายของศัพท์คานั้น ปล่อยผ่านไป ไม่ต้องรู้ ซึ่งนับว่าน่าเสียดายอย่างมาก อีกทั้ง
นักเรียนหลายคนมักพูดว่า “ภาษาอังกฤษไม่ใช่ภาษาพ่อภาษาแม่” ซึ่งประโยคนี้เป็นการแสดงให้เห็นว่าผู้
พูดไม่เห็นความสาคัญของภาษาอังกฤษ และเรื่องใดๆ ก็ตามที่บรรพบุรุษของเราไม่ได้ทา จึงไม่ให้
ความสาคัญกับสิ่งนั้น ส่งผลให้นักเรียนเลือกที่จะไม่พูดภาษาอังกฤษเพียงเพราะพ่อแม่ตัวเองไม่พูดเท่า
นั้นเอง
วิธีที่ทาให้ประสบความสาเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษ
จากการศึกษาเอกสารต่างๆ และสัมภาษณ์ผู้ที่ประสบความสาเร็จในการสื่อสารด้วย
ภาษาอังกฤษนั้น ผู้ศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้
1. การสร้างแรงจูงใจ หรือการสร้างแรงบันดาลใจให้ตัวเองก่อน หาเหตุผลเข้าข้างตัวเองให้ได้
ว่าทาไมต้องพูด สังเกตว่าผู้ที่ตกอยู่ในสถานการณ์จาเป็นที่จะต้องใช้ภาษาอังกฤษ เมื่อพยายามก็มักจะพูด
ได้
2. ศึกษาหาความรู้ ในเบื้องต้นการศึกษาในชั้นเรียน ในโรงเรียนจะเป็นพื้นฐานสาหรับนักเรียน
ทุกคนอยู่แล้ว จากนั้นนักเรียนควรจะศึกษาด้วยตนเอง โดยเลือกรูปแบบการศึกษาได้หลายแนวทาง
อาจจะเรียนพิเศษก็ได้ แต่การศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจะทาให้มีโอกาสประสบความสาเร็จมากที่สุด ไม่ว่า
จะเป็นการดูหนัง ฟังเพลง พูดคุยสื่อสารกับชาวต่างชาติที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ
3. เมื่อมีข้อสงสัยจึงควรรสอบถามผู้รู้ หรือจากหนังสือ และอินเทอร์เน็ต
4. ฝึกอ่านและออกเสียงโดยเริ่มจากคาง่ายๆ ก่อน จากนั้นจึง ฝึกใช้ภาษาอังกฤษกับผู้คนรอบ
ข้าง หรือเพื่อนๆ เพื่อประเมินตนเองไปในตัว ยิ่งปัจจุบันสื่อสังคม (Social Media) เข้ามามีบทบาทใน
ชีวิตประจาวันของเรามากขึ้น ช่วยย่อโลกให้แคบลง ดังนั้น เราอาจจะมีเพื่อนเป็นชาวต่างชาติเพื่อ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกันด้วยยิ่งดี โดยเป็นเพื่อนในเฟซบุ๊กก็ได้ ไม่จาเป็นต้องรอให้เขามาถึง
เมืองไทย ที่สาคัญการมีเพื่อนลักษณะนี้ช่วยให้เราพัฒนาทักษะการเขียนได้อีกด้วย
5. เรียนรู้ตลอดเวลา ทุกสถานที่ที่เป็นไปได้ เช่น ป้ายบอกทาง เมนูอาหารในร้านบ้างแห่ง
อย่างในโรงเรียนประสาทวิทยาคารก็มีป้ายสอนภาษาต่างๆ อยู่ นักเรียนหลายคนก็ได้เรียนรู้ประโยคง่ายๆ
จากป้ายเหล่านั้น
เอกสารประกอบการศึกษาค้นคว้า
จารึก อะยะวงศ์. (2556, 20 กุมภาพันธ์). “เด็กไทยอ่อนภาษาอังกฤษ “ผิดที่หลักสูตร”,” (ออนไลน์).
สืบค้นจาก http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1361335846.
เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2557.
ดาริกา ตินานพ. (2557, 19 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์
ตินานพ, ที่บ้านเลขที่ 163 หมู่ 14 ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์.
ทัศวรรณ เดวิส. (2557, 18 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์
ตินานพ, ที่ร้านเดอะคอฟฟี่ชอป ตาบลในเมือง อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์.
ทีมเดลินิวส์ออนไลน์. (2555, 22 พฤศจิกายน). “คนไทยไร้ความกล้า ส่งผลพูดภาษาอังกฤษรองบ๊วยโลก
,” (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.dailynews.co.th/Content/Article/15262/คน
ไทยไร้ความกล้า+ส่งผลพูดภาษาอังกฤษรองบ๊วยโลก. เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2557.
ธริณี ผลจันทร์ดี. (2557, 19 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์
ตินานพ, ที่บ้านเลขที่ 177 หมู่ 1 ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์.
ฟาฏินา วงศ์เลขา. (2553, 7 ธันวาคม). “พัฒนาภาษาอังกฤษ เตรียมเด็กไทยสู่อาเซียนและเวทีโลก,”
(ออนไลน์). สืบค้นจาก http://social.obec.go.th/node/89. เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2557.
วาริภา หล่าคา. (2557, 17 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์
ตินานพ, ที่โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์.
ศศิวิมล สติยานุช. (2557, 17 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์
ตินานพ, ที่โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์.
สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวันฉบับการ์ตูนความรู้. (2553). กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส.
สาราญ คายิ่ง. (2555). อ่อนอังกฤษก็พูดได้ง่ายจังเลย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์.
สุวภา ภิญโญภาพ. (2557, 17 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์
ตินานพ, ที่โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์.
อาไพวรรณ ทัพเป็นไทย. (2554). การเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :
ม.ป.ท.
อินทิรา ศรีประสิทธิ์. (ม.ป.ป.). “เด็กไทยติดเกม เพราะอ่านภาษาอังกฤษไม่ออก,” (ออนไลน์). สืบค้น
จาก https://www.saijai.net/frontEnd/newsHtml.jsp?id=reading. เข้าถึงเมื่อ 16
มกราคม 2557.
อุดม ภาสดา. (2557, 20 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์
ตินานพ, ที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3.

More Related Content

What's hot

หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศหลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศokpkanjana
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศenoomtoe
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศNamTarn Sasima
 
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศสื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศlinda kriluck
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1nokporn phetwiset
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศNuzzNussara
 
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศJanjira Kunnapan
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยNamTarn Sasima
 
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศlinda kriluck
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่jutamat tawebunyasap
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)G ''Pamiiz Porpam
 
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติshelercherries
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Ocean'Funny Haha
 
แผนที่ 5 mlabri hilltribe
แผนที่ 5 mlabri hilltribeแผนที่ 5 mlabri hilltribe
แผนที่ 5 mlabri hilltribeTeacher Sophonnawit
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยJarinya Chaiyabin
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Krudoremon
 

What's hot (20)

หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศหลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติการเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศสื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
 
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
 
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
 
แผนที่ 5 mlabri hilltribe
แผนที่ 5 mlabri hilltribeแผนที่ 5 mlabri hilltribe
แผนที่ 5 mlabri hilltribe
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Viewers also liked (20)

31202 final502
31202 final50231202 final502
31202 final502
 
31202 mid512
31202 mid51231202 mid512
31202 mid512
 
Understanding mechanisms underlying human gene expression variation with RNA ...
Understanding mechanisms underlying human gene expression variation with RNA ...Understanding mechanisms underlying human gene expression variation with RNA ...
Understanding mechanisms underlying human gene expression variation with RNA ...
 
Mundial 2010
Mundial 2010Mundial 2010
Mundial 2010
 
Sepas
SepasSepas
Sepas
 
Expocompr
ExpocomprExpocompr
Expocompr
 
Material Enviado A Montana
Material Enviado A MontanaMaterial Enviado A Montana
Material Enviado A Montana
 
Technisource Overview
Technisource OverviewTechnisource Overview
Technisource Overview
 
Report Gus
Report GusReport Gus
Report Gus
 
Admission Open form MBA by Distance Learning from IMSR Mumbai
Admission Open form MBA by Distance Learning from IMSR MumbaiAdmission Open form MBA by Distance Learning from IMSR Mumbai
Admission Open form MBA by Distance Learning from IMSR Mumbai
 
0102 02 ประพจน์
0102 02 ประพจน์0102 02 ประพจน์
0102 02 ประพจน์
 
Portfolio Arjan Helmer Feb 2011
Portfolio Arjan Helmer Feb 2011Portfolio Arjan Helmer Feb 2011
Portfolio Arjan Helmer Feb 2011
 
Trela(2)
Trela(2)Trela(2)
Trela(2)
 
New Rules of Successful Job Hunting
New Rules of Successful Job Hunting New Rules of Successful Job Hunting
New Rules of Successful Job Hunting
 
سمر إسماعيل
سمر إسماعيلسمر إسماعيل
سمر إسماعيل
 
Living a dignified life.
Living a dignified life.Living a dignified life.
Living a dignified life.
 
Elektronikus médiumok és tananyagok - Óravázlat
Elektronikus médiumok és tananyagok - ÓravázlatElektronikus médiumok és tananyagok - Óravázlat
Elektronikus médiumok és tananyagok - Óravázlat
 
Week10
Week10Week10
Week10
 
Moving From Small Science To Big Science
Moving From Small Science To Big ScienceMoving From Small Science To Big Science
Moving From Small Science To Big Science
 
Lion example
Lion exampleLion example
Lion example
 

Similar to ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้

การสอนคำศัพท์โดยใช้วิธีจิ๊กซอว์
การสอนคำศัพท์โดยใช้วิธีจิ๊กซอว์การสอนคำศัพท์โดยใช้วิธีจิ๊กซอว์
การสอนคำศัพท์โดยใช้วิธีจิ๊กซอว์AumAiim Phoomsrikaew
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Gankorn Inpia
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Wilaiwan Wasuthanathee
 
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)Darunpob Srisombut
 
แผนที่ 2 the 21century education
แผนที่ 2 the 21century educationแผนที่ 2 the 21century education
แผนที่ 2 the 21century educationTeacher Sophonnawit
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)yosita tewapitak
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
ทำไมเด็กไทยถึงไม่เก่งภาษาอังกฤษ
ทำไมเด็กไทยถึงไม่เก่งภาษาอังกฤษทำไมเด็กไทยถึงไม่เก่งภาษาอังกฤษ
ทำไมเด็กไทยถึงไม่เก่งภาษาอังกฤษGik Trio
 
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553 2554
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553   2554รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553   2554
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553 2554Pochchara Tiamwong
 
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...ssuserd8430c
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfนิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfpeter dontoom
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichailittle-pig
 
portfolio วราัตน์ จันทะบาล
portfolio วราัตน์ จันทะบาลportfolio วราัตน์ จันทะบาล
portfolio วราัตน์ จันทะบาลwararatjantaban
 

Similar to ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ (20)

การสอนคำศัพท์โดยใช้วิธีจิ๊กซอว์
การสอนคำศัพท์โดยใช้วิธีจิ๊กซอว์การสอนคำศัพท์โดยใช้วิธีจิ๊กซอว์
การสอนคำศัพท์โดยใช้วิธีจิ๊กซอว์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
 
แผนที่ 2 the 21century education
แผนที่ 2 the 21century educationแผนที่ 2 the 21century education
แผนที่ 2 the 21century education
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน(แพรว)
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
ทำไมเด็กไทยถึงไม่เก่งภาษาอังกฤษ
ทำไมเด็กไทยถึงไม่เก่งภาษาอังกฤษทำไมเด็กไทยถึงไม่เก่งภาษาอังกฤษ
ทำไมเด็กไทยถึงไม่เก่งภาษาอังกฤษ
 
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553 2554
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553   2554รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553   2554
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553 2554
 
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานกา...
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdfนิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf
 
Research 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichaiResearch 1333352020 pichai
Research 1333352020 pichai
 
portfolio วราัตน์ จันทะบาล
portfolio วราัตน์ จันทะบาลportfolio วราัตน์ จันทะบาล
portfolio วราัตน์ จันทะบาล
 

More from คุณครูพี่อั๋น

การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลการตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลคุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งคุณครูพี่อั๋น
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkคุณครูพี่อั๋น
 

More from คุณครูพี่อั๋น (20)

Tangram
TangramTangram
Tangram
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
02 roman numeral
02 roman numeral02 roman numeral
02 roman numeral
 
01 history of numbers and numerals
01 history of numbers and numerals01 history of numbers and numerals
01 history of numbers and numerals
 
เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2
 
เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1
 
I30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้าI30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้า
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลการตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
Complex Number Practice
Complex Number PracticeComplex Number Practice
Complex Number Practice
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Ans_TME54_jh1
Ans_TME54_jh1Ans_TME54_jh1
Ans_TME54_jh1
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
Mathematics vocabulary slide
Mathematics vocabulary slideMathematics vocabulary slide
Mathematics vocabulary slide
 

ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้

  • 1. รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรื่อง “ทาไมเด็กไทยพูดภาษาอังกฤษไม่ได้” - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - โดย นางสาวดิฐี นพตลุง, นางสาวรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และนางสาวณีรวัลย์ ตินานพ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ครูที่ปรึกษา นางวัชราภรณ์ สารวมจิต ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นางรุ่งทิพย์ สายแสงจันทร์ ครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ นายนฤพนธ์ สายเสมา ครูชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สังกัด โรงเรียนประสาทวิทยาคาร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 (สุรินทร์) ปีการศึกษา 2556 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - บทนา “ภาษาอังกฤษ คือ หน้าต่างของการสื่อสาร และเป็นหน้าต่างของโลก” ภาษา คือ เครื่องมือของการสื่อสารของทุกสิ่ง การที่เราจะถ่ายทอดความรู้ของเรา หรือ วัฒนธรรมไปยังผู้อื่นนั้น เราต้องผ่านทั้งวัจนภาษา และอวัจนภาษา การที่วัฒนธรรมแต่ละวัฒนธรรมจะสืบ ทอดลักษณะ และรายละเอียดทั้งมวล จาก อดีต มาถึงปัจจุบันและจากปัจจุบันที่จะสืบทอดต่อไปใน อนาคตได้นั้น ก็ด้วยอาศัยภาษาเป็นเครื่องมือทั้งโดยการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และการเล่าจดจา สืบกันต่อมาจึงมีคากล่าวว่า ภาษาจึงเป็นหัวใจของวัฒนธรรม ถ้าปราศจากจากหัวใจคือภาษาเสียแล้ว วัฒนธรรมก็สืบทอดไม่ได้และต้องสูญหายไปโดยเร็วขณะที่ภาษาทาหน้าที่สืบทอดวัฒนธรรมไทยนั้น ภาษา ยังมีความสาคัญอย่างยิ่งในแง่เป็นเครื่องสื่อความหมายทางวัฒนธรรมด้วย จะเห็นว่า ภาษามีความสาคัญ และมีประโยชน์มากมาย ได้แก่ ภาษาช่วยธารงสังคม ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล ภาษาช่วยให้ มนุษย์พัฒนา ภาษาช่วยกาหนดอนาคต ภาษาช่วยจรรโลงใจ ในภาวะปัจจุบันที่อิทธิพลของโลกาภิวัตน์ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง และยังจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ นั้นการเรียนรู้ภาษาของประเทศอื่นย่อมได้เปรียบในการทากิจการต่างๆ จึงทาให้มีการใช้ภาษาอังกฤษเป็น ภาษากลางในการสื่อสาร และการเรียนภาษามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ไม่เน้นให้อ่านอออกเสียงอย่าง
  • 2. เดียวแต่จะเน้นเพื่อการสื่อสารกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนได้นาไปใช้จริงในโลกโลกาภิวัตน์ มีผู้คนไม่น้อยพยายามเรียนรู้และพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในด้านการสื่อสารของตนเอง ในปีพุทธศักราช 2558 จะมีการเปิดประชาคมอาเซียน และในประชาคมอาเซียนได้มีการใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่อสารเป็นภาษากลาง เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารและค้าขายระหว่างประเทศสมาชิก ของอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ในขณะที่รอการเปิดอาเซียนประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศต่างก็ เตรียมพร้อมเกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อใช้ในการสื่อสาร ดังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเยาวชนแห่ง อาเซียน คือ สื่อสาร 2 ภาษา ล้าหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้าง ร่วมกันเป็นพลโลก ในทุกๆประเทศ ถือว่าประสบความสาเร็จในการพูดภาษาอังกฤษยกเว้นประเทศไทย ที่ยังล้าหลังในการพัฒนาทักษะด้าน การใช้ภาษาอังกฤษของเยาวชนเป็นจานวนมาก ปัญหาดังกล่าวที่ทาให้เด็กไทยไม่มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร มีหลาย สาเหตุ เช่น ความกล้าแสดงอออก ไม่มั่นใจในตนเอง ไม่ตระหนักว่าภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สาคัญ ขาด แรงจูงใจ นี่เป็นแค่สาเหตุส่วนหนึ่งเท่านั้น แต่มันน่าคิดตรงที่ว่าเด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษมาตั้งแต่ ป.1 จนถึงระดับมหาวิทยาลัย แต่ทาไมจึงไม่สามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้ ผู้รายงานได้ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทาให้เด็กไทยพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ รวมถึง ปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จและไม่ประสบความสาเร็จในการพูดและสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ โดย ศึกษาจากเอกสารต่างๆ และเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์นักเรียนที่ไม่ชอบภาษาอังกฤษ และบุคคลที่ประสบความสาเร็จในการพูดภาษา ได้แก่ สตรีชาวไทยที่ได้สามีเป็นชาวต่างชาติ ครูและ ศึกษานิเทศก์ที่เกี่ยวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษ พบสาเหตุที่น่าสนใจ ดังนี้ ทาไมเด็กไทยไม่สามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้ ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าจากเอกสาร และเก็บข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์ พบว่าสาเหตุที่ เด็กไทยไม่สามารถพูดและสื่อสารได้ด้วยภาษาอังกฤษ มีสาเหตุหลายประการ สรุปได้ดังนี้ 1. พื้นฐานทางวัฒนธรรม โดยพื้นฐานทางวัฒนธรรมของคนไทยจะอบรมให้ลูกหลานเป็นคนสงบเสงี่ยม เจียมตัว เรียบร้อย จึงทาให้เด็กไทยบางส่วนไม่มีความกล้าแสดงออก ไม่กล้าคิด ไม่กล้าพูด ที่บ้านขาดการส่งเสริม ให้ใช้ภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่อง เช่น การดูหนัง หรือฟังเพลงที่เป็นภาษาอังกฤษ บางครั้งเมื่อทาเช่นนั้นจะ ถูกผู้ใหญ่ หรือเพื่อนๆ พูดในเชิงประชดประชันว่า หัวสูงบ้าง ทาให้นักเรียนขาดกาลังใจและส่งผลให้การ เรียนรู้ภาษาอังกฤษตามธรรมชาติขาดไปด้วย
  • 3. 2. ระบบการเรียนของไทย เมื่อนักเรียนถึงวัยที่เข้าเรียนในระบบโรงเรียน ก็เข้าเรียนในห้องเรียนที่มีจานวนนักเรียน เป็นจานวนมาก อาจะ 30, 40 หรือ 50 คน ทาให้การเรียนไม่ทั่วถึง อีกทั้งวิชาภาษาอังกฤษเป็นวิชาที่ จาเป็นต้องอาศัยทักษะ และการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง และรูปแบบการสอนที่ใช้ส่วนมาก จะเน้นที่ไวยากรณ์ มากจนเกินไป โดยที่ไม่ได้เน้นการสื่อสาร สอนไม่เป็นไปตามธรรมชาติของภาษา คือ ต้องเริ่มจากการฟัง ก่อน จึงทาให้เวลาพูดออกมากลัวจะผิดไม่ถูกตามหลักไวยากรณ์ กลัวโดนล้อ จึงทาให้ทักษะการใช้ภาษา ด้อยลงไปในที่สุด 3. ขาดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ลักษณะชุมของอาเภอปราสาท และอาเภอใกล้เคียงผู้ศึกษาอาศัยอยู่นั้น เป็นชุมชนที่มีการ ผสมผสานทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษานั้น มีการสื่อสารกันหลายภาษา หลักๆ คือ ภาษาไทย ภาษา เขมรถิ่นไทย และภาษาลาว อาจจะมีภาษาส่วน หรือกูย ด้วยบางส่วน ผู้ศึกษามีเพื่อนที่พูดแต่ละภาษา เหล่านั้น และตั้งข้อสังเกตอย่างหนึ่งว่า บางบ้านพ่อแม่และคนในหมู่บ้านพูดสื่อสารกันด้วยภาษาเขมรถิ่น ไทย บางบ้านนักเรียนสามารถพูดภาษาเขมรถิ่นไทยได้ ในขณะที่นักเรียนบางคนกลับไม่สามารถสื่อสาร ด้วยภาษาเขมรถิ่นไทยได้ หรือพูดไม่ได้ แต่ฟังพอได้ บางคนพูดไม่ได้เพราะที่บ้านพูดภาษาลาว แต่เมื่อมี เพื่อนเป็นคนที่พูดภาษาเขมรถิ่นไทย ก็สามารถพูดคุยสื่อสารได้ เมื่อสอบถามแล้วพบว่า กลุ่มที่พูดภาษา เขมรถิ่นไทยได้ตั้งแต่แรก คือ กลุ่มที่ครอบครัวพูดภาษาเขมรถิ่นไทยกับนักเรียนตั้งแต่เล็กๆ ส่วนกลุ่มที่พ่อ แม่พูดได้ แต่ลูกพูดไม่ได้ คือ กลุ่มที่ไม่ได้สื่อสารกับลูกด้วยภาษาเขมรถิ่นไทย และกลุ่มที่มาพูดได้ภายหลัง คือ นักเรียนที่จาเป็นต้องพูดกับเพื่อน และแสดงออกด้วยการพูดเพื่อให้เพื่อนยอมรับเข้ากลุ่ม และไม่เกิด ความแตกต่างและแปลกแยก ภาษาอังกฤษก็เช่นกัน นักเรียนที่ไม่ประสบความสาเร็จในการพูดภาษาอังกฤษนั้น บางคน ขาดการศึกษาต่อเนื่องด้วยตนเอง เช่น การฟังจากสื่อต่างๆ เช่น เพลง ภาพยนตร์ ข่าว ฯลฯ การอ่านจาก สื่อต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ ข้อความต่างๆ การพูด ซึ่งไม่ค่อยได้พูดอยู่แล้วเมื่อออกจากห้องเรียน เพื่อน นักเรียนคนหนึ่งเล่าว่า เมื่อนักเรียนเดินทางไปทัศนศึกษาที่ประเทศเวียดนามกับโรงเรียน (โรงเรียน ประสาทวิทยาคารเป็นโรงเรียนในโครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค หรือ Thailand Education Hub) นักเรียนที่นั่นพูดภาษาไทยไม่ได้ แต่สามารถสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้ นักเรียนคนที่พูดภาษาอังกฤษก็จะพูดคุย และฟังสิ่งที่นักเรียนเวียดนามอธิบาย ส่วนคนที่พูดไม่ค่อยได้ก็ จะทาได้เพียงเดินชมสถานที่เท่านั้น ทาให้แม้จะมีโอกาสได้ใช้ แต่เมื่อไม่กล้า และหรือมีความรู้ ความสามารถไม่พอก็ไม่สามารถสื่อสารได้ อีกประการหนึ่งคือ เมื่อนักเรียนพบปัญหาเกี่ยวกับภาษาอังกฤษแล้ว นักเรียนขาด การศึกษาอย่างต่อเนื่อง เช่น เห็นประโยคภาษาอังกฤษ แต่มีคาศัพท์บางคาไม่ทราบความหมาย ก็ไม่คิดที่ จะศึกษาค้นคว้าหาความหมายของศัพท์คานั้น ปล่อยผ่านไป ไม่ต้องรู้ ซึ่งนับว่าน่าเสียดายอย่างมาก อีกทั้ง
  • 4. นักเรียนหลายคนมักพูดว่า “ภาษาอังกฤษไม่ใช่ภาษาพ่อภาษาแม่” ซึ่งประโยคนี้เป็นการแสดงให้เห็นว่าผู้ พูดไม่เห็นความสาคัญของภาษาอังกฤษ และเรื่องใดๆ ก็ตามที่บรรพบุรุษของเราไม่ได้ทา จึงไม่ให้ ความสาคัญกับสิ่งนั้น ส่งผลให้นักเรียนเลือกที่จะไม่พูดภาษาอังกฤษเพียงเพราะพ่อแม่ตัวเองไม่พูดเท่า นั้นเอง วิธีที่ทาให้ประสบความสาเร็จในการใช้ภาษาอังกฤษ จากการศึกษาเอกสารต่างๆ และสัมภาษณ์ผู้ที่ประสบความสาเร็จในการสื่อสารด้วย ภาษาอังกฤษนั้น ผู้ศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. การสร้างแรงจูงใจ หรือการสร้างแรงบันดาลใจให้ตัวเองก่อน หาเหตุผลเข้าข้างตัวเองให้ได้ ว่าทาไมต้องพูด สังเกตว่าผู้ที่ตกอยู่ในสถานการณ์จาเป็นที่จะต้องใช้ภาษาอังกฤษ เมื่อพยายามก็มักจะพูด ได้ 2. ศึกษาหาความรู้ ในเบื้องต้นการศึกษาในชั้นเรียน ในโรงเรียนจะเป็นพื้นฐานสาหรับนักเรียน ทุกคนอยู่แล้ว จากนั้นนักเรียนควรจะศึกษาด้วยตนเอง โดยเลือกรูปแบบการศึกษาได้หลายแนวทาง อาจจะเรียนพิเศษก็ได้ แต่การศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจะทาให้มีโอกาสประสบความสาเร็จมากที่สุด ไม่ว่า จะเป็นการดูหนัง ฟังเพลง พูดคุยสื่อสารกับชาวต่างชาติที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ 3. เมื่อมีข้อสงสัยจึงควรรสอบถามผู้รู้ หรือจากหนังสือ และอินเทอร์เน็ต 4. ฝึกอ่านและออกเสียงโดยเริ่มจากคาง่ายๆ ก่อน จากนั้นจึง ฝึกใช้ภาษาอังกฤษกับผู้คนรอบ ข้าง หรือเพื่อนๆ เพื่อประเมินตนเองไปในตัว ยิ่งปัจจุบันสื่อสังคม (Social Media) เข้ามามีบทบาทใน ชีวิตประจาวันของเรามากขึ้น ช่วยย่อโลกให้แคบลง ดังนั้น เราอาจจะมีเพื่อนเป็นชาวต่างชาติเพื่อ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกันด้วยยิ่งดี โดยเป็นเพื่อนในเฟซบุ๊กก็ได้ ไม่จาเป็นต้องรอให้เขามาถึง เมืองไทย ที่สาคัญการมีเพื่อนลักษณะนี้ช่วยให้เราพัฒนาทักษะการเขียนได้อีกด้วย 5. เรียนรู้ตลอดเวลา ทุกสถานที่ที่เป็นไปได้ เช่น ป้ายบอกทาง เมนูอาหารในร้านบ้างแห่ง อย่างในโรงเรียนประสาทวิทยาคารก็มีป้ายสอนภาษาต่างๆ อยู่ นักเรียนหลายคนก็ได้เรียนรู้ประโยคง่ายๆ จากป้ายเหล่านั้น
  • 5. เอกสารประกอบการศึกษาค้นคว้า จารึก อะยะวงศ์. (2556, 20 กุมภาพันธ์). “เด็กไทยอ่อนภาษาอังกฤษ “ผิดที่หลักสูตร”,” (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1361335846. เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2557. ดาริกา ตินานพ. (2557, 19 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์ ตินานพ, ที่บ้านเลขที่ 163 หมู่ 14 ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์. ทัศวรรณ เดวิส. (2557, 18 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์ ตินานพ, ที่ร้านเดอะคอฟฟี่ชอป ตาบลในเมือง อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. ทีมเดลินิวส์ออนไลน์. (2555, 22 พฤศจิกายน). “คนไทยไร้ความกล้า ส่งผลพูดภาษาอังกฤษรองบ๊วยโลก ,” (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.dailynews.co.th/Content/Article/15262/คน ไทยไร้ความกล้า+ส่งผลพูดภาษาอังกฤษรองบ๊วยโลก. เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2557. ธริณี ผลจันทร์ดี. (2557, 19 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์ ตินานพ, ที่บ้านเลขที่ 177 หมู่ 1 ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์. ฟาฏินา วงศ์เลขา. (2553, 7 ธันวาคม). “พัฒนาภาษาอังกฤษ เตรียมเด็กไทยสู่อาเซียนและเวทีโลก,” (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://social.obec.go.th/node/89. เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2557. วาริภา หล่าคา. (2557, 17 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์ ตินานพ, ที่โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์. ศศิวิมล สติยานุช. (2557, 17 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์ ตินานพ, ที่โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์. สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวันฉบับการ์ตูนความรู้. (2553). กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส. สาราญ คายิ่ง. (2555). อ่อนอังกฤษก็พูดได้ง่ายจังเลย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์. สุวภา ภิญโญภาพ. (2557, 17 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์ ตินานพ, ที่โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์. อาไพวรรณ ทัพเป็นไทย. (2554). การเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. อินทิรา ศรีประสิทธิ์. (ม.ป.ป.). “เด็กไทยติดเกม เพราะอ่านภาษาอังกฤษไม่ออก,” (ออนไลน์). สืบค้น จาก https://www.saijai.net/frontEnd/newsHtml.jsp?id=reading. เข้าถึงเมื่อ 16 มกราคม 2557. อุดม ภาสดา. (2557, 20 มกราคม). สัมภาษณ์โดย ดิฐี นพตลุงรัตนภรณ์ วงศ์ศักดิ์ และณีรวัลย์ ตินานพ, ที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3.