SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
สมาชิกในกลุ่ม
นายธวัชชัย ใจเพชร รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๔๕
นางสาวภรณ์ประภา คาหล่อ รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๑๘
นางสาวฐิตินันท์ สุปัญญา รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๒๔๓
นายอนวรรษ ไกลถิ่น รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๘
นางสาวจิรภา พรายอินท์ รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๘๙
นางสาวจุฑามาศ ทวีปัญญาทรัพย์ รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๑๐๓
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
ประธานสาขาวิชา : อาจารย์อุบลวรรณ สวนมาลี
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
ชื่อย่อ : ศศ.บ.
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Art Program in Thai as A Foreign Language
ชื่อย่อ : B.A. (Thai as A Foreign Language)
จานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ........................... หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : ......................................................................
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : ภาคปกติ 4 ปี ( 8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : ภาคปกติ 180,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 22,500)
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน
- ลักษณะเฉพาะภาษาไทย
- สัมมนาภาษาไทย
- การวิจัยทางภาษาไทย
- ภาษากับวัฒนธรรมไทย
- วรรณกรรมไทยเบื้องต้น
- ภาษาศาสตร์เบื้องต้นสาหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ
- การอ่านออกเสียงภาษาไทย
- ระบบเสียงภาษาไทย
- ภาษาไทยเพื่อการท่องเที่ยว
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
- สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ
เทียบเท่า
คุณลักษณะของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยในฐานภาษาต่างประเทศ
- เป็นนักศึกษาต่างชาติ ที่รักและสนใจในภาษาไทย หรือ เป็น
ผู้ที่สามารถใช้ความรู้ในภาษาไทยเป็นเครื่องมือในการสื่อสารได้มี
ความรู้และทักษะทางด้านภาษาไทยเป็นอย่างดี
บัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศทางานอะไรได้บ้าง
- ล่าม มัคคุเทศก์ด้านภาษาไทย ครูสอนวิชาภาษาไทยให้กับ
นักศึกษาต่างชาติ หรือนักศึกษาในสถาบันที่สอนภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ ประกอบอาชีพอิสระที่ต้องใช้ภาษาไทย
หมายเลขโทรศัพท์ : 032 493 268
Website : http://hs.pbru.ac.th
แหล่งที่มา http://www.pbru.ac.th/th/index.php/admission-
infomation/bachelor-admission/2015-10-12-06-53-47/1997-2015-10-12-
04-04-43
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2552
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา ภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts Program in Thai as a Foreign Language
2. ชื่อปริญญา
ภาษาไทย ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ)
ศศ.บ. (ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ)
ภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts (Thai as a Foreign Language)
B.A. (Thai as a Foreign Language)
3. ระดับการศึกษา
ปริญญาตรี
4. สังกัดคณะ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
5. สังกัดภาควิชา/สาขาวิชา
ไทย
6. วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้ที่สนใจภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศมีทางเลือกที่ดี
7. กาหนดการเปิดสอน
จะเปิดดาเนินการเรียนการสอนหลักสูตรนี้ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2 ปี
การศึกษา 2552 เป็นต้นไป
8. สถานะหลักสูตร
เปิด
แผน/แบบการศึกษา
ปริญญาตรีรหัสหลักสูตร 310803109052
แหล่งที่มา
http://gsmis.gs.kku.ac.th/curriculum/program/detail/887
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Thai
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)
ชื่อย่อ : ศศ.บ. (ภาษาไทย)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Arts (Thai)
ชื่อย่อ : B.A. (Thai)
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
3. วิชาเอก
สาขาวิชาภาษาไทย
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
131 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทย
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาชาวต่างประเทศที่สามารถฟัง พูด
อ่าน เขียน และสื่อสารด้วยภาษาไทยได้อย่างดี โดยผ่านเกณฑ์การทดสอบ
ความรู้ทางภาษาไทย (SD-Thai Test) จากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตที่จัดการเรียนการ
สอนโดยตรง
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
6.1 เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 โดยปรับปรุงจากหลักสูตร
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย พ.ศ. 2551
6.2 เริ่มใช้ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2555 เป็นต้นไป
6.3 คณะอนุกรรมการสภาวิชาการกลั่นกรองหลักสูตร พิจารณา
หลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 36 (49/2554) เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2554
6.4 คณะกรรมการสภาวิชาการพิจารณาหลักสูตรในการประชุม
ครั้งที่ 8(16) / 2554 เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2554
6.5 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรในการประชุมครั้งที่
13(40)/2554 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554
6.6 องค์กรวิชาชีพรับรองหลักสูตร
ไม่มี
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตาม
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย ปีการศึกษา พ.ศ. 2557
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ผู้สาเร็จการศึกษาในหลักสูตรภาษาไทยสามารถประกอบ
อาชีพต่างๆ ได้โดยเฉพาะอาชีพที่ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
อาทิ
8.1 นักวิชาการด้านภาษาไทย
8.2 นักเขียน นักพิสูจน์อักษร
8.3 นักข่าว ผู้ประกาศข่าว พิธีกร
8.4 ผู้เขียนบทในรายการวิทยุกระจายเสียง และรายการวิทยุ
โทรทัศน์
8.5 เลขานุการ
8.6 นักประชาสัมพันธ์ นักเอกสารสนเทศ
8.7 อาจารย์สอนภาษาไทยและอาจารย์สอนภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ
8.8 มัคคุเทศก์
8.9 นักแปลหรือล่าม
8.10 เจ้าของกิจการหรือนักธุรกิจทุกระดับ
9. สถานที่จัดการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร
10. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นในการวางแผนหลักสูตร
10.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาประเทศเพื่อให้ก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงตามในด้าน
เศรษฐกิจ การศึกษาสังคมการเมืองการปกครอง และเทคโนโลยีมีความสาคัญ
เป็นอย่างยิ่ง การที่ทาให้คนในชาติมีความเข้าใจตรงกันเพื่อการประสานงานใน
ด้านต่างๆ ซึ่งจะทาให้เกิดความคล่องตัว จาเป็นต้องใช้ภาษาเป็นเครื่องมือสาคัญ
ในการสื่อสาร ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติไทย คนไทยทุกคนใช้ภาษาไทยใน
การติดต่อสื่อสาร การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
จาเป็นที่จะต้องเตรียมความพร้อมให้ประชาชนมีทักษะในการใช้ภาษาไทยที่มี
ประสิทธิภาพ
10.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม
ในยุคเทคโนโลยีการสื่อสารที่แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว ประชากรใน
แต่ละประเทศต่างมีการไปมาหาสู่ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างกัน ซึ่งการรับ
ข่าวสารข้อมูลของประชาชนเป็นไปอย่างเสรี จึงเกิดการเผยแพร่ภาษาและ
วัฒนธรรมของคนในชาติต่างๆ ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ แสดงเอกลักษณ์
ความเป็นชาติไทย คนไทยมีภาษาไทยเป็นเครื่องมือในการสื่อสารระหว่างคนใน
ชาติ ทั้งในภาษาพูด ภาษาเขียน ทาให้เกิดความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร ทาให้
การสื่อสารกับคนในชาติเป็นไปอย่างสะดวก เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก >
- ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
( Preparatory Thai language program for foreigners)
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นสิ่งหนึ่งที่ชาวต่างประเทศให้ความ
สนใจมาก ทั้งนี้เนื่องจากการติดต่อระหว่างประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจ
การเมืองสังคมและ วัฒนธรรมมีความเจริญก้าวหน้ากว่าสมัยก่อน ทาให้ความ
จาเป็นการเรียนรู้ภาษาไทยของบุคคลที่ประสงค์จะติดต่อกับประเทศไทยในด้าน
ต่างๆ เห็นความจาเป็น ในการมีทักษะทางภาษาไทยคือการฟัง พูด อ่าน เขียน
ภาษาไทยได้ว่าจะเป็นลู่ทางหนึ่งในการรู้จักประเทศไทย หรือประกอบอาชีพที่
เกี่ยวข้องกับประเทศไทย โดยมีพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจวัฒนธรรมเป็น
แนวทาง ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้
ตระหนักในภาวะดังกล่าว จึงได้สร้างหลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทย
สาหรับชาวต่างประเทศขึ้น โดยหลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรเบื้องต้นสาหรับผู้ที่ไม่
เคยเรียนรู้ภาษาไทยมาก่อนเป็นสาคัญ
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
๑. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย
ระดับพื้นฐาน ระดับกลางและระดับสูงได้
๒. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้ภาษาไทยในการติดต่อสื่อสารใน
ชีวิตประจาวันได้
๓. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะภาษาไทย ประเทศไทย
และวัฒนธรรมไทย โดยการเรียนรู้ผ่านภาษาไทยและการจัดประสบการณ์ต่างๆ
โครงสร้างหลักสูตร
หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศนี้ เป็นหลักสูตรระยะ
สั้นใช้เวลาเรียน ๓ - ๑๒ เดือน โครงสร้างของหลักสูตรประกอบด้วย
๑. ภาษาไทยเบื้องต้น ๒ รายวิชา
๒. ภาษาไทยระดับกลาง ๘ รายวิชา
๓. ภาษาไทยระดับสูง ๘ รายวิชา
รวม ๑๘ รายวิชา
กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์
เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจสภาพสังคมและประวัติศาสตร์ โบราณคดี
เกี่ยวกับประเทศไทยเพิ่มขึ้น อาจจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรดังนี้
๑. ทัศนศึกษาแหล่งโบราณคดีและวัฒนธรรม
๒. กิจกรรมศิลปวัฒนธรรมไทย
ดังมีรายละเอียดคือ
๑. ทัศนศึกษาแหล่งโบราณคดีและวัฒนธรรม เช่น โบราณสถาน
พิพิธภัณฑ์หมู่บ้าน อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อยุธยา วัดพระแก้ว วัดโพธิ์
วัดอรุณฯ วัดบวรนิเวศฯ
๒. กิจกรรมศิลปวัฒนธรรมไทย เช่น การทาอาหารไทย การราไทย
มวยไทย การแกะสลัก การเล่นดนตรีไทย การเล่นดนตรีพื้นบ้าน การร้องเพลง
ไทยเดิม การร้องเพลงลูกทุ่ง การร้องเพลงสมัยใหม่ เป็นต้น
ที่มา https://sites.google.com/site/khnamnusysastrmms/phakh-
wicha/4-phakh-wicha-phasa-thiy-laea-phasa-tawan-xxk/--phasa-thiy-
ni-thana-phasa-tang-prathes
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาควิชาภาษาไทย
หลักสูตรภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
(นานาชาติ)
ที่มา
http://www.human.cmu.ac.th/curriculum.php
หลักสูตรคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อ
การสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ. 2554
ที่มา
http://www.huso.buu.ac.th/FacultyCurriculum.asp

More Related Content

What's hot

รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติshelercherries
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศPuck Songpon
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1nokporn phetwiset
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยNamTarn Sasima
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)G ''Pamiiz Porpam
 
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศlinda kriluck
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศNuzzNussara
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศเจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศNamTarn Sasima
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศJanjira Kunnapan
 
งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑Oiw Kiddie
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์เจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยNamTarn Sasima
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)G ''Pamiiz Porpam
 
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1Medploy Ploypraphat
 

What's hot (20)

รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติการเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในไทย)
 
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
 
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
 
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
 

Viewers also liked

คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Watcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2สุทัศน์ อินปา
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
College Website Design Document
College Website Design DocumentCollege Website Design Document
College Website Design DocumentAnkit Dutt
 
Journalismia verkossa ja somen trendit
Journalismia verkossa ja somen trenditJournalismia verkossa ja somen trendit
Journalismia verkossa ja somen trenditHarto Pönkä
 
Ecosystems Angel naturales tema 5
Ecosystems Angel naturales tema 5Ecosystems Angel naturales tema 5
Ecosystems Angel naturales tema 5angelayusodefensa9
 

Viewers also liked (10)

Week 2 of TTFL
Week 2 of TTFLWeek 2 of TTFL
Week 2 of TTFL
 
Week 3 of WS4T
Week 3 of WS4TWeek 3 of WS4T
Week 3 of WS4T
 
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
Alejandro Sánchez - Reflection Paper Årstiderna
Alejandro Sánchez - Reflection Paper ÅrstidernaAlejandro Sánchez - Reflection Paper Årstiderna
Alejandro Sánchez - Reflection Paper Årstiderna
 
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
College Website Design Document
College Website Design DocumentCollege Website Design Document
College Website Design Document
 
Journalismia verkossa ja somen trendit
Journalismia verkossa ja somen trenditJournalismia verkossa ja somen trendit
Journalismia verkossa ja somen trendit
 
Ecosystems Angel naturales tema 5
Ecosystems Angel naturales tema 5Ecosystems Angel naturales tema 5
Ecosystems Angel naturales tema 5
 

Similar to มหาลัยในไทย ดีสอง

D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศAorsuwanee
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555ohmxworrall
 
แก้ไข
แก้ไขแก้ไข
แก้ไขnotriple
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีSutat Inpa
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยJarinya Chaiyabin
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3Tharinee Japhimai
 
Nooooooooooooooooooooooooooooo
NoooooooooooooooooooooooooooooNooooooooooooooooooooooooooooo
Nooooooooooooooooooooooooooooonotriple
 
ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57Vattana Lapanich
 
ระเบียบการสมัครรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2557
ระเบียบการสมัครรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2557ระเบียบการสมัครรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2557
ระเบียบการสมัครรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2557Arunvithaya
 
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2Sometime Eng
 
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายบทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายenoomtoe
 

Similar to มหาลัยในไทย ดีสอง (20)

D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
แก้ไข
แก้ไขแก้ไข
แก้ไข
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ PPP Unit: Career Topic: Future Career M3
 
Nooooooooooooooooooooooooooooo
NoooooooooooooooooooooooooooooNooooooooooooooooooooooooooooo
Nooooooooooooooooooooooooooooo
 
ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57
 
ระเบียบการสมัครรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2557
ระเบียบการสมัครรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2557ระเบียบการสมัครรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2557
ระเบียบการสมัครรับนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2557
 
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
 
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายบทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
 

มหาลัยในไทย ดีสอง