SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
2
รายงานการนิเทศการเรียนการสอน
รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
3
บทนา
ความเป็นมาและความจาเป็น
ภารกิจหลักที่จาเป็นของสถานศึกษาคือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สามารถพัฒนาผู้เรียน
ทุกด้านให้เป็นไปตามวัยและศักยภาพ บุคลากรที่สาคัญที่จะปฏิบัติภารกิจนี้ให้บรรลุผลคือครูผู้สอน ซึ่งครูแต่
ละคนล้วนมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ผู้บริหารต้องรวมพลังครู
ให้สามารถดาเนินภารกิจให้ประสบผลสาเร็จตามความต้องการของโรงเรียน ในขณะเดียวกันจาเป็นจะต้อง
เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ในการทางานให้กับครูในโรงเรียน เพื่อเสริมสร้างขวัญและกาลังใจให้ครู
สามารถปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของตนให้ดียิ่งขึ้นอยู่เสมอ ตรงกับความต้องการของนักเรียน
ด้วยเทคนิควิธีที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเพื่อเป็นครูที่ได้ชื่อว่า “ครูมืออาชีพ” การนิเทศที่จัดขึ้นในโรงเรียนด้วย
ความร่วมมือของครูทุกคน จึงเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งของการบริหารโรงเรียนไปสู่ความสาเร็จและครู
จะเกิดความมั่นใจ มีกาลังใจ มีความภาคภูมิใจที่ประสบผลสาเร็จในการปฏิบัติงาน ทาให้เกิดการพัฒนา
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและเกิดการพัฒนาที่ถาวร ดังคากล่าวที่ว่า “การจัดการที่ดีเป็นกุญแจสาคัญ นาไปสู่
ความสาเร็จขององค์กร และการนิเทศจะนาไปสู่การจัดการที่ดี”
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอน
2. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีคุณภาพ
3. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
4. เพื่อเสริมสร้างขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพัฒนา
1. ครูโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จานวน 44 คน
2. ครูโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูมมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานตามบทบาทและหน้าที่
ของตนเอง
3. ครูโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูมมีขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงาน
แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียน
การนิเทศภายในโรงเรียนเป็นงานที่ช่วยพัฒนาครูในด้านต่างๆ เพื่อใช้ประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากร
บุคคลภายในโรงเรียน รวมทั้งการสร้างความร่วมมือและการแก้ไขปัญหาการทางานร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ด้านวิชาการเกี่ยวกับการเรียนการสอนเพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา บุคลากรภายในโรงเรียนที่
สามารถนิเทศได้นอกจากผู้บริหารแล้วยังมีครูที่มีประสบการณ์ ความรู้ ความชานาญ ซึ่งขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย
จานวนผู้รับการนิเทศ เวลา และทรัพยากรอื่นๆ
4
กระบวนการนิเทศภายใน
กระบวนการนิเทศมีความเชื่อมโยงและเป็นกระบวนการที่เกี่ยวพันกับกระบวนการนิเทศการศึกษา
ซึ่งการดาเนินการในการนิเทศให้ได้รับความสาเร็จ สิ่งสาคัญในการจัดการนิเทศการศึกษาก็คือจะดาเนินการ
อย่างไรจึงจะทาให้ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายที่ได้วางไว้ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน โดยกาหนดขั้นตอน
การนิเทศ ดังนี้
ขั้นที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning-P) เป็นขั้นที่ผู้บริหาร ผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศจะทาการ
ประชุมปรึกษาหารือเพื่อให้ได้มาซึ่งปัญหาและความต้องการจาเป็นที่จะต้องมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึง
ขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการนิเทศที่จะจัดขึ้นอีกด้วย
ขั้นที่ 2 ให้ความรู้ในสิ่งที่จะทา (Informing-I) เป็นขั้นตอนของการให้ความรู้ความเข้าใจถึงสิ่งที่จะ
ดาเนินงานว่าจะต้องอาศัยความรู้ความสามารถอย่างไรบ้าง จะมีขั้นตอนในการดาเนินการอย่างไรและจะทา
อย่างไรจึงจะทาให้ได้ผลงานออกมาอย่างมีคุณภาพ
ขั้นที่ 3 การปฏิบัติงาน (Doing -D) ประกอบด้วยงานใน 3 ลักษณะ คือ การปฏิบัติงานของผู้รับนิเทศ
การปฏิบัติงานของผู้ให้การนิเทศ และการปฏิบัติงานของผู้สนับสนุนการนิเทศ
ขั้นที่ 4 การสร้างขวัญและกาลังใจ (Reinforcing-R) ขั้นนี้เป็นขั้นของการเสริมกาลังใจของผู้บริหาร
เพื่อให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
ขั้นที่ 5 ประเมินผลผลิตของการดาเนินงาน (Evaluating-E) เป็นขั้นที่ผู้นิเทศทาการประเมินผลการ
ดาเนินการซึ่งผ่านไปแล้วว่าเป็นอย่างไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ
การดาเนินการนิเทศตามวัฏจักรนี้จะเป็นไปอย่างต่อเนื่องและไม่หยุดนิ่งจนกว่าจะบรรลุผลตามจุดมุ่ง
หมายที่วางไว้ หรือพัฒนาผู้รับการนิเทศให้เป็นไปตามต้องการ หากบรรลุสาเร็จตามจุดมุ่งหมายแล้ว ต้องการ
จะหยุดกระบวนการทางานก็ถือว่าการนิเทศได้สิ้นสุดลง หากต้องการเริ่มนิเทศในสิ่งใหม่หรือตั้งเป้าหมายใหม่
ก็จะต้องดาเนินการตั้งแต่เริ่มแรกอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
กิจกรรมการนิเทศ
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ได้จัดให้มีกิจกรรมนิเทศที่หลากหลายทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
(การปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สนทนา) โดยกาหนดการนิเทศการศึกษาดังนี้
1. การประเมินตนเองเพื่อการนิเทศการสอน
2. การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน
5
3. การอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน
4. การให้คาปรึกษาแนะนา
5. การศึกษาเอกสารหรือข้อมูลทางวิชาการ
ผู้นิเทศ
1. ผู้บริหารสถานศึกษา
2. ผู้ทรงคุณวุฒิ
3. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
4. การนิเทศโดยเพื่อนครู
5. การประเมินตนเองของครู
ปฏิทินการนิเทศภายใน
เพื่อให้การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูมโดยการนิเทศภายในเกิดประสิทธิผล
จึงกาหนดการนิเทศภายในโดยจาแนกเป็น 5 ส่วน คือ การประเมินตนเอง การนิเทศโดยเพื่อนครู การนิเทศ
โดยหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ การนิเทศโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และการนิเทศโดยฝ่ายบริหารโรงเรียน โดยกาหนด
ตารางการดาเนินการนิเทศภายในเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ดังนี้
วัน/เดือน/ปี กิจกรรมการนิเทศ ผู้นิเทศ
1 – 7 ธ.ค. 64 ประเมินตนเองเพื่อการนิเทศการสอน ครูผู้สอน (ตนเอง)
8 – 10 ธ.ค. 64 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน เพื่อนครู ครั้งที่ 1
20 – 28 ธ.ค. 64 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ครั้งที่ 1
5 – 15 ม.ค. 65 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ผู้บริหาร ครั้งที่ 1
19 – 21 ม.ค. 65 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน เพื่อนครู ครั้งที่ 2
24 – 27 ม.ค. 65 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ครั้งที่ 2
6
คณะกรรมการนิเทศภายใน
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
1. นาย พรรษกฤช เกตุรัตน์ ผู้อานวยการโรงเรียน ประธาน
2. นาง สมคิด จ้อยสาเภา รักษาการณ์รองผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการ
3. นางสาว สิรินทร์ โพธิโสโนทัย รักษาการณ์รองผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการ
4. นางสาว ฐิตินันท์ อาจหาญ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กรรมการ
5. นาย สมเจตร์ สวัสดี หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กรรมการ
5. นาย มณฑล เล็กเปีย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กรรมการ
7. นาย สถาพร นิลสานักดี หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กรรมการ
8. นาย ภิญโญ ปานง่อม หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กรรมการ
9. นาง ยินดี วิสารทะ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพฯ กรรมการ
10. นายวินิจ อินทร์พรหม หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กรรมการ
11. นาง สมคิด จ้อยสาเภา หัวหน้างานนิเทศการศึกษา กรรมการ/เลขานุการ
คาชี้แจงการใช้แบบนิเทศการจัดการเรียนรู้
1. การนิเทศโดยการประเมินตนเองเพื่อการนิเทศการสอน ให้คุณครูผู้รับการนิเทศประเมินตนเองตามช่วง
เวลาที่กาหนดและส่งผลการประเมินให้หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
2. การนิเทศโดยการเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ให้คุณครูผู้รับการนิเทศประสานงานกับเพื่อนครูและ
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดวันเวลาและสถานที่ในการรับการนิเทศตามช่วงเวลาที่กาหนด
3. การนิเทศโดยการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ให้คุณครูบันทึกผลการอบรม สัมมนา หรือศึกษาดูงาน ตามที่
โรงเรียนจัดหรือสนับสนุนหรือโดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองของคุณครู
4. การนิเทศโดยการให้คาปรึกษาแนะนา ให้คุณครูบันทึกข้อมูลที่ได้รับคาแนะนาจากผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการเรียนรู้หรือการปฏิบัติงานของตนเอง
5. การศึกษาเอกสารหรือข้อมูลทางวิชาการ ให้คุณครูสรุปเรื่องที่ศึกษาและแนวทางการนามาประยุกต์ใช้ใน
การปฏิบัติงานจากการที่ได้จากการศึกษาทางเอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่างๆ ผ่านการแนะนาของผู้บริหาร
หรือหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้หรือผู้เกี่ยวข้อง
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ
การประเมินตนเองเพื่อการนิเทศการสอน/การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน
7
คานา
การนิเทศการเรียนการสอนเป็นองค์ประกอบหนึ่งชองขบวนการพัฒนาการศึกษาที่ช่วยส่งเสริมให้มีการ
ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เรียนรู้มีอย่างประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้น โดยมีบุคลากรในโรงเรียน
ร่วมรับผิดชอบพัฒนางานด้านการเรียนการสอนตลอดเวลาให้สอดคล้องกับมาตราฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญตามที่กาหนดในหลักสูตร
เอกสารเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้นิเทศการเรียนการสอนรายบุคลภาคเรียนที่ 2 ประจาปี 2564 ใช้เป็น
เครื่องมือในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
ผู้นิเทศแบบกัลยาณมิตรนิเทศ และประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
ข้อมูลที่ได้จากการประเมินในครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะนาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเองใน
ด้านการจัดการเรียนการสอน การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มี
ประสิทธิภาพในทุก ๆ ด้านซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
และสมรรถนะสาคัญตามจุดหมายของหลักสูตรของสถานศึกษา และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาต่อไป
นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
8
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน
หน่วยการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
ตอนที่ 2 เครื่องมือนิเทศการจัดการเรียนรู้
แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง
แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ
แบบนิเทศการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์สาหรับผู้นิเทศ
ภาคผนวก
แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
ภาพถ่ายการเรียนการสอน
ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียน
9
ตอนที่ 1
ข้อมูลพื้นฐาน
1. ข้อมูลทั่วไป
ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
ปฏิบัติการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี
2. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ลาดับที่ รหัสวิชา รายวิชา ชั้น/ห้อง จานวนชั่วโมง/
สัปดาห์
หมายเหตุ
1 ศ21101 ทัศนศิลป์ ม.1 8
2 ศ23101 ทัศนศิลป์ ม.3 6
3 ศ31102 ทัศนศิลป์ ม.4 3
วิชาเลือก ม.3 2
ลูกเสือ/เนตรนารี ม.2 1
กิจกรรมโครงงานคุณธรรม ม.2 1
กิจกรรมชุมนุม ม.2 1
ประชุม PLC กลุ่มสาระ 3
ประชุม PLC วิชาการ 1
โฮมรูม 1
รวม 27
10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
วิชา ทัศนศิลป์ ศ 31102 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ เวลา 4 ชั่วโมง
..................................................
1.มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ 1.3 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
2.ตัวชี้วัด: สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
1. บรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
2. ระบุและบรรยายเทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์
3. วิเคราะห์และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มี
คุณภาพ
4. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
3. สาระการเรียนรู้
* ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ และวิธีการนามาใช้สร้างงานทัศนศิลป์
กิจกรรมเรื่อง : ความสมดุลของศิลปะและธรรมชาติ
* ผลงาน เทคนิค วิธีการของศิลปินไทยในการสร้างงานทัศนศิลป์
กิจกรรมเรื่อง : ตามรอยเหม เวชกร
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
- ความสามารถในการคิดในการสร้างสรรค์
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
- ใฝ่เรียนรู้
6. การบูรณาการ
- ประวัติศาสตร์
- การงานอาชีพ
7. ภาระงาน (สะท้อนการจัดกิจกรรม)
ใบงานที่ 1 อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์
ใบงานที่ 2 เรื่อง ออกแบบงานทัศนศิลป์
- ออกแบบภาพแนวเหมือนจริง
- ออกแบบภาพแนวนามธรรม
11
8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ขั้นต่า
1. ใบงานประจาหน่วย ใบงานที่ 1 อธิบายทัศนธาตุ
หลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์
1. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2. ใบงานประจาหน่วย ใบงานที่ 2 เรื่อง ออกแบบงาน
ทัศนศิลป์
2. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
9. กิจกรรมการเรียนรู้
1.อธิบายและวิเคราะห์วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์
2.อธิบายเทคนิควิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์
3.ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ มา 1 ชิ้น
10. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
10.1 สื่อการเรียนรู้จากเว็บไซต์ครู www.peterfineart.com
*หนังสือเรียนทัศนศิลป์ ม.4-6
11. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
การประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
รายการประเมิน คาอธิบายระดับคุณภาพ
ดีมาก 4 ดี 3 พอใช้ 2 ปรับปรุง 1
ทฤษฏีเนื้อหา อธิบายทัศนธาตุ
หลักการออกแบบ
ในสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์
เนื้อหาครบถ้วน
อธิบายทัศนธาตุ
หลักการออกแบบ
ในสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์
เนื้อหาเกือบครบ
อธิบายทัศนธาตุ
หลักการออกแบบ
ในสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์
เนื้อหา
พอประมาณ
อธิบายทัศนธาตุ
หลักการออกแบบ
ในสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์
เนื้อหาไม่ครบถ้วน
ปฏิบัติงาน สร้างสรรค์ผลงาน
และประยุกต์ใช้
ทัศนธาตุและ
หลักการ
ออกแบบสร้างงาน
ทัศนศิลป์ดีเยี่ยม
สร้างสรรค์ผลงาน
และประยุกต์ใช้
ทัศนธาตุและ
หลักการ
ออกแบบสร้างงาน
ทัศนศิลป์ดี
สร้างสรรค์ผลงาน
และประยุกต์ใช้
ทัศนธาตุและ
หลักการ
ออกแบบสร้างงาน
ทัศนศิลป์พอใช้
สร้างสรรค์ผลงาน
และประยุกต์ใช้
ทัศนธาตุและ
หลักการ
ออกแบบสร้างงาน
ทัศนศิลป์แบบไม่
ตรงจุด
12
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
80-100 ดีมาก
70-79 ดี
60-69 พอใช้
0-50 ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ พอใช้ ขึ้นไปถือว่า ผ่าน
ลงชื่อ
(นายอารมย์ อินทรประเสริฐ)
ตาแหน่ง คศ.2
ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...............................................
(นายวินิจ อินทร์พรหม)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ความคิดเห็นรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ) สมคิด จ้อยสาเภา
(นางสมคิด จ้อยสาเภา)
หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ
........../............./..............
13
ตอนที่ 2
1. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง
2. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ
3. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์สาหรับนิเทศ
ฉบับที่ 1 แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง
แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้
ชื่อ-สกุล นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ตอนที่ 2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่าง ๆ แล้วทาเครื่องหมาย √ ในช่องระดับคะแนนของข้อที่
กาหนดพร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร
เกณฑ์การประเมิน
5 ยอดเยี่ยม หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้สามารถปฏิบัติได้จริง
และเป็นแบบอย่างได้
4 ดีเลิศ หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สามารถปฏิบัติได้จริง
3 ดี หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้
2 ปานกลาง หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน
1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีความถูกต้องบางส่วนและสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้
14
ที่ รายการประเมิน
ระดับการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
1 ด้านวิเคราะห์หลักสูตร
1.1มีการวิเคราะห์หลักสูตรสู่หน่วยการเรียนรู้
1.2 ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา
2 ด้านองค์ประกอบ
2.1 การจัดหน่วยการเรียนมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระ
การเรียนรู้
2.2 แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2.3 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมด้านความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P)
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
2.4 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน
3 ด้านเนื้อหา
3.1. สาระสาคัญสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
3.2. สาระการเรียนรู้เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
3.3. เนื้อหาถูกต้องตามหลักวิชาการและมีความทันสมัย
3.4. เนื้อหามีความชัดเจนและเรียงลาดับจากง่ายไปยาก
4 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน
4.1 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
4.2 เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน
4.3 กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
4.4 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติจริง/ทักษะกระบวนการ/
และกระบวนการคิดเช่น วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์
4.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนด
4.6 กิจกรรมนาความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือมีการเชื่อมโยงความรู้กับชีวิตประจาวัน
4.7 กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
5 ด้านสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้
5.1 มีสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
15
5.2 มีสื่อการเรียนรู้เหมาะสมกับกิจกรรมและศักยภาพของผู้เรียน
5.3 มีสื่อที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
5.4 มีการใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นหรือบูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้
ในการจัดการเรียนรู้
5.5 มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้
6 ด้านการวัดและประเมินผล
6.1 เครื่องมือวัดประเมินผลสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน
มีเกณฑ์การประเมินผลสอดคล้องกับเครื่องมือและวิธีวัดผลฯ
6.2วัดผลประเมินผลครอบคลุมทั้งด้านความความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P)
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
6.3ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและผู้เรียนมีส่วนร่วมใการ
ประเมิน
6.4 มีการบันทึกหลังสอน เพื่อนาไปสู่การวางแผนการสอนต่อไป
6.5 นาผลการประเมินผู้เรียนมาแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิจัย
รวม 22 3
คะแนนรวม 122
ค่าเฉลี่ย 4.55
ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................................ผู้นิเทศ
(นาย อารมย์ อินทรประเสริฐ)
วันที่.........เดือน...........................พ.ศ...........
16
ฉบับที่ 3 แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ในรูปแบบออนไลน์ สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 1)
แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้
ผู้สอน นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ตอนที่ 2 แบบบันทึกการสังเกตการณ์จัดการเรียนการสอน
ครูจัดการเรียนการสอนผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในส่วนของนักเรียนที่เข้าเรียน มีการโต้ตอบกับ
ครูผู้สอนสามารถตอบคาถาม จากกิจกรรมที่ครูสอนได้ นักเรียนไม่เข้าเรียนหลายคน อาจเนื่องจากขาดความ
สนใจเบื่อรูปแบบการเรียนออนไลน์ ช่วยงานผู้ปกครอง
ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ
อาจแนบวีดีโอการสอน หรือสื่อการสอนที่ให้นักเรียนกลุ่มที่ขาดเรียนมาศึกษาด้วยตนเองภายหลัง
ถ้าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ดีขึ้น นักเรียนสามารถมาเรียนแบบ Onsite ได้
จะทาให้บรรยากาศการจัดการเรียนการสอนน่าจะดีขึ้น
ลงชื่อ สมคิด จ้อยสาเภา ผู้นิเทศ
(นางสมคิด จ้อยสาเภา)
วันที่..........เดือน................................พ.ศ...............
17
ฉบับที่ 4 แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ในรูปแบบออนไลน์ สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 2)
แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้
ผู้สอน นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ตอนที่ 2 ประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์
คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่าง ๆ แล้วทาเครื่องหมาย √ ในช่องระดับคะแนนของข้อที่
กาหนดพร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร โดยใช้เกณฑ์ ดังนี้
5 ยอดเยี่ยม หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดีเยี่ยม หรือมากที่สุด
4 ดีเลิศ หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดีมาก
3 ดี หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดี
2 ปานกลาง หมายถึง มีการปฏิบัติดีเป็นที่ยอมรับได้ปานกลาง
1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีการปฏิบัติดีเป็นที่ยอมรับได้น้อย / ควรปรับปรุง
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
5 4 3 2 1
1.ด้านครูผู้สอน
1.1 สร้างบรรยากาศการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มีการเสริมแรง
สร้างแรงจูงใจและสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้
1.2 สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง
สถานการณ์จาลองหรือสถานการณ์จริง
18
1.3 ฝึกให้มีการนาเสนอผลงาน และยอมรับแนวคิดจากผู้อื่น
1.4 แบ่งกลุ่มการทางาน หรือฝึกให้ทางานเป็นทีม
1.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวชี้วัดตาม
หลักสูตรแกนกลาง
1.6 มีการวัดประเมินผลในรูปแบบที่หลากหลาย ตามสภาพจริงสอดคล้อง
กับตัวชี้วัดผลการเรียนรู้ ทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน
1.7 มีการประยุกต์ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีกับการจัดกิจกรรมเพื่อ
กระตุ้นความความสามารถและสร้างทักษะแก่ผู้เรียน
1.8 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามหรือความคิดเห็น
2. ด้านผู้เรียน
2.1 ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
2.2 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้
2.3 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้
2.4 ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน
2.5 ผู้เรียนกล้านาเสนอและแสดงความคิดเห็น และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล
2.6 ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ สามารถทากิจกรรมจนสาเร็จลุล่วง
3. ด้านกระบวนการ
3.1 เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
3.2 เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการอ่าน การฟัง การ
พูดและการคิดเช่น การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์
3.3 เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร,
สารสนเทศ,และหลักการสู่การสร้างความคิดรวบยอด
3.4 เป็นกิจกรรมที่มีการสร้างองค์ความรู้ ทั้งจากการปฏิบัติ จาก
ประสบการณ์
และจากการสรุปทบทวนของผู้เรียน
รวม 100
คะแนนรวม 100
ค่าเฉลี่ย 5.00
ตอนที่2 ปัญหาและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์
สื่อและเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ครูใช้แอปพลิเคชั่น line ในการจัดการเรียนการสอน
19
ปัญหา
เนื่องจากเป็นวิชาที่ต้องปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์..นักเรียนมีโทรศัพท์
ในระดับม.ปลายไม่มีปัญหาการสอน เพียงนักเรียนบางคนที่ต้องไปทางานเพื่อครอบครัวนักเรียนเองที่
ทางบ้านมีฐานะค่อนข้างยากจน นักเรียนสามารถไปเรียนด้วยตนเองในเว็บไซต์ของครู
www.peterfineart.com ประกอบไปด้วยวีดีโอ มีข้อสอบ และตัวอย่างชิ้นงานให้ นักเรียนปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนา
ครูอาจแนบวีดีโอการสอน หรือสื่อการสอนที่ให้นักเรียนกลุ่มที่ขาดเรียนมาศึกษาด้วยตนเองภายหลัง
ถ้าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ดีขึ้น นักเรียนสามารถมาเรียนแบบ Onsite ได้
จะทาให้บรรยากาศการจัดการเรียนการสอนน่าจะดีขึ้น
ลงชื่อ สมคิด จ้อยสาเภา ผู้นิเทศ
(นางสมคิด จ้อยสาเภา)
วันที่..........เดือน................................พ.ศ...............
20
ภาคผนวก
21
22
ฉบับที่ 5 แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียน
แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ในแบบประเมินและตอบทุกข้อ
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เรียน
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เรียน
เพศ ชาย หญิง
ชื่อวิชา .............................................................................. ชั้น...............................
ชื่อผู้สอน ................................................................................................................
ตอนที่ 2 การประเมินการเรียนการสอนตามสภาพจริง
5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง
ข้อ
กิจกรรม
ระดับการประเมิน
มากที่สุด
5
มาก
4
ปานกลาง
3
น้อย
2
น้อย
ที่สุด
1
1 นักเรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดข้อตกลง กิจกรรม
ในการเรียน
2 ครูสอนโดยวิธีการที่หลากหลาย
ใช้สื่อประกอบการเรียนการสอนที่เหมาะสมและเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
3 ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึก
ทักษะการคิด การตัดสินใจ
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง พร้อมแนะนา แหล่ง
ความรู้เพิ่มเติม
4 ครูประยุกต์เนื้อหาที่สอนเข้ากับเหตุการณ์ปัจจุบัน/
สภาพแวดล้อม
5 ครูสอนโดยมีการสอดแทรกคุณธรรม/จริยธรรม
ค่านิยมที่ดีเช่น
ความซื่อสัตย์ ความอดทน ความพอเพียง เห็นแก่
ส่วนรวม
23
6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถาม แสดงความ
คิดเห็น พูดคุย
และรับฟังข้อคิดเห็นของนักเรียน
7 ครูมีความสามารถในการถ่ายทอด จัดการเรียนการ
สอน เป็นขั้นตอน
เหมาะสมเข้าใจง่าย และตั้งใจในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน
8 ครูสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมใน
ชั้นเรียน
9 ครูมีการประเมินผลการเรียนด้วยวิธีการที่
หลากหลาย ยุติธรรม
และให้ข้อมูลป้อนกลับที่สามารถนาไปปรับและ
พัฒนาตนเองได้
10 ความตรงต่อเวลา และความสม่าเสมอในการสอน
รวม
เฉลี่ย
ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ
1. สิ่งที่นักเรียนประทับใจ
………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. สิ่งที่นักเรียนอยากให้ครูปรับปรุง
...............................................................................................................................................................
2. กิจกรรมที่นักเรียนชอบ..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
24

More Related Content

Similar to นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf

โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6kruchaily
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยครูเย็นจิตร บุญศรี
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55dockrupornpana55
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55dockrupornpana55
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยBSOOREETA
 

Similar to นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf (20)

โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
naphopittayakhom
naphopittayakhomnaphopittayakhom
naphopittayakhom
 
Pranitee present tahoma
Pranitee present tahomaPranitee present tahoma
Pranitee present tahoma
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
6รายชื่อคณะกรรมการเขียนแผน
6รายชื่อคณะกรรมการเขียนแผน6รายชื่อคณะกรรมการเขียนแผน
6รายชื่อคณะกรรมการเขียนแผน
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยBการพัฒนาหลักสูตร  ภาษาไทยB
การพัฒนาหลักสูตร ภาษาไทยB
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

นิเทศการเรียนรู้ 64เทอม2.pdf

  • 1.
  • 2. 2 รายงานการนิเทศการเรียนการสอน รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. 3 บทนา ความเป็นมาและความจาเป็น ภารกิจหลักที่จาเป็นของสถานศึกษาคือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สามารถพัฒนาผู้เรียน ทุกด้านให้เป็นไปตามวัยและศักยภาพ บุคลากรที่สาคัญที่จะปฏิบัติภารกิจนี้ให้บรรลุผลคือครูผู้สอน ซึ่งครูแต่ ละคนล้วนมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน ผู้บริหารต้องรวมพลังครู ให้สามารถดาเนินภารกิจให้ประสบผลสาเร็จตามความต้องการของโรงเรียน ในขณะเดียวกันจาเป็นจะต้อง เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ในการทางานให้กับครูในโรงเรียน เพื่อเสริมสร้างขวัญและกาลังใจให้ครู สามารถปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของตนให้ดียิ่งขึ้นอยู่เสมอ ตรงกับความต้องการของนักเรียน ด้วยเทคนิควิธีที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเพื่อเป็นครูที่ได้ชื่อว่า “ครูมืออาชีพ” การนิเทศที่จัดขึ้นในโรงเรียนด้วย ความร่วมมือของครูทุกคน จึงเป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งของการบริหารโรงเรียนไปสู่ความสาเร็จและครู จะเกิดความมั่นใจ มีกาลังใจ มีความภาคภูมิใจที่ประสบผลสาเร็จในการปฏิบัติงาน ทาให้เกิดการพัฒนา ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและเกิดการพัฒนาที่ถาวร ดังคากล่าวที่ว่า “การจัดการที่ดีเป็นกุญแจสาคัญ นาไปสู่ ความสาเร็จขององค์กร และการนิเทศจะนาไปสู่การจัดการที่ดี” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอน 2. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีคุณภาพ 3. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น 4. เพื่อเสริมสร้างขวัญกาลังใจและความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพัฒนา 1. ครูโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม จานวน 44 คน 2. ครูโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูมมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานตามบทบาทและหน้าที่ ของตนเอง 3. ครูโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูมมีขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงาน แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียน การนิเทศภายในโรงเรียนเป็นงานที่ช่วยพัฒนาครูในด้านต่างๆ เพื่อใช้ประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากร บุคคลภายในโรงเรียน รวมทั้งการสร้างความร่วมมือและการแก้ไขปัญหาการทางานร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านวิชาการเกี่ยวกับการเรียนการสอนเพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา บุคลากรภายในโรงเรียนที่ สามารถนิเทศได้นอกจากผู้บริหารแล้วยังมีครูที่มีประสบการณ์ ความรู้ ความชานาญ ซึ่งขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย จานวนผู้รับการนิเทศ เวลา และทรัพยากรอื่นๆ
  • 4. 4 กระบวนการนิเทศภายใน กระบวนการนิเทศมีความเชื่อมโยงและเป็นกระบวนการที่เกี่ยวพันกับกระบวนการนิเทศการศึกษา ซึ่งการดาเนินการในการนิเทศให้ได้รับความสาเร็จ สิ่งสาคัญในการจัดการนิเทศการศึกษาก็คือจะดาเนินการ อย่างไรจึงจะทาให้ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายที่ได้วางไว้ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน โดยกาหนดขั้นตอน การนิเทศ ดังนี้ ขั้นที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning-P) เป็นขั้นที่ผู้บริหาร ผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศจะทาการ ประชุมปรึกษาหารือเพื่อให้ได้มาซึ่งปัญหาและความต้องการจาเป็นที่จะต้องมีการนิเทศ รวมทั้งวางแผนถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการนิเทศที่จะจัดขึ้นอีกด้วย ขั้นที่ 2 ให้ความรู้ในสิ่งที่จะทา (Informing-I) เป็นขั้นตอนของการให้ความรู้ความเข้าใจถึงสิ่งที่จะ ดาเนินงานว่าจะต้องอาศัยความรู้ความสามารถอย่างไรบ้าง จะมีขั้นตอนในการดาเนินการอย่างไรและจะทา อย่างไรจึงจะทาให้ได้ผลงานออกมาอย่างมีคุณภาพ ขั้นที่ 3 การปฏิบัติงาน (Doing -D) ประกอบด้วยงานใน 3 ลักษณะ คือ การปฏิบัติงานของผู้รับนิเทศ การปฏิบัติงานของผู้ให้การนิเทศ และการปฏิบัติงานของผู้สนับสนุนการนิเทศ ขั้นที่ 4 การสร้างขวัญและกาลังใจ (Reinforcing-R) ขั้นนี้เป็นขั้นของการเสริมกาลังใจของผู้บริหาร เพื่อให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ขั้นที่ 5 ประเมินผลผลิตของการดาเนินงาน (Evaluating-E) เป็นขั้นที่ผู้นิเทศทาการประเมินผลการ ดาเนินการซึ่งผ่านไปแล้วว่าเป็นอย่างไร หลังจากการประเมินผลการนิเทศ การดาเนินการนิเทศตามวัฏจักรนี้จะเป็นไปอย่างต่อเนื่องและไม่หยุดนิ่งจนกว่าจะบรรลุผลตามจุดมุ่ง หมายที่วางไว้ หรือพัฒนาผู้รับการนิเทศให้เป็นไปตามต้องการ หากบรรลุสาเร็จตามจุดมุ่งหมายแล้ว ต้องการ จะหยุดกระบวนการทางานก็ถือว่าการนิเทศได้สิ้นสุดลง หากต้องการเริ่มนิเทศในสิ่งใหม่หรือตั้งเป้าหมายใหม่ ก็จะต้องดาเนินการตั้งแต่เริ่มแรกอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน กิจกรรมการนิเทศ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ได้จัดให้มีกิจกรรมนิเทศที่หลากหลายทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ (การปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สนทนา) โดยกาหนดการนิเทศการศึกษาดังนี้ 1. การประเมินตนเองเพื่อการนิเทศการสอน 2. การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน
  • 5. 5 3. การอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน 4. การให้คาปรึกษาแนะนา 5. การศึกษาเอกสารหรือข้อมูลทางวิชาการ ผู้นิเทศ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา 2. ผู้ทรงคุณวุฒิ 3. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. การนิเทศโดยเพื่อนครู 5. การประเมินตนเองของครู ปฏิทินการนิเทศภายใน เพื่อให้การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูมโดยการนิเทศภายในเกิดประสิทธิผล จึงกาหนดการนิเทศภายในโดยจาแนกเป็น 5 ส่วน คือ การประเมินตนเอง การนิเทศโดยเพื่อนครู การนิเทศ โดยหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ การนิเทศโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และการนิเทศโดยฝ่ายบริหารโรงเรียน โดยกาหนด ตารางการดาเนินการนิเทศภายในเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ดังนี้ วัน/เดือน/ปี กิจกรรมการนิเทศ ผู้นิเทศ 1 – 7 ธ.ค. 64 ประเมินตนเองเพื่อการนิเทศการสอน ครูผู้สอน (ตนเอง) 8 – 10 ธ.ค. 64 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน เพื่อนครู ครั้งที่ 1 20 – 28 ธ.ค. 64 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ครั้งที่ 1 5 – 15 ม.ค. 65 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ผู้บริหาร ครั้งที่ 1 19 – 21 ม.ค. 65 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน เพื่อนครู ครั้งที่ 2 24 – 27 ม.ค. 65 การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ครั้งที่ 2
  • 6. 6 คณะกรรมการนิเทศภายใน โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 1. นาย พรรษกฤช เกตุรัตน์ ผู้อานวยการโรงเรียน ประธาน 2. นาง สมคิด จ้อยสาเภา รักษาการณ์รองผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการ 3. นางสาว สิรินทร์ โพธิโสโนทัย รักษาการณ์รองผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการ 4. นางสาว ฐิตินันท์ อาจหาญ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กรรมการ 5. นาย สมเจตร์ สวัสดี หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กรรมการ 5. นาย มณฑล เล็กเปีย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กรรมการ 7. นาย สถาพร นิลสานักดี หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ กรรมการ 8. นาย ภิญโญ ปานง่อม หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กรรมการ 9. นาง ยินดี วิสารทะ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพฯ กรรมการ 10. นายวินิจ อินทร์พรหม หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กรรมการ 11. นาง สมคิด จ้อยสาเภา หัวหน้างานนิเทศการศึกษา กรรมการ/เลขานุการ คาชี้แจงการใช้แบบนิเทศการจัดการเรียนรู้ 1. การนิเทศโดยการประเมินตนเองเพื่อการนิเทศการสอน ให้คุณครูผู้รับการนิเทศประเมินตนเองตามช่วง เวลาที่กาหนดและส่งผลการประเมินให้หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 2. การนิเทศโดยการเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ให้คุณครูผู้รับการนิเทศประสานงานกับเพื่อนครูและ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อกาหนดวันเวลาและสถานที่ในการรับการนิเทศตามช่วงเวลาที่กาหนด 3. การนิเทศโดยการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ให้คุณครูบันทึกผลการอบรม สัมมนา หรือศึกษาดูงาน ตามที่ โรงเรียนจัดหรือสนับสนุนหรือโดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองของคุณครู 4. การนิเทศโดยการให้คาปรึกษาแนะนา ให้คุณครูบันทึกข้อมูลที่ได้รับคาแนะนาจากผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง กับการจัดการเรียนรู้หรือการปฏิบัติงานของตนเอง 5. การศึกษาเอกสารหรือข้อมูลทางวิชาการ ให้คุณครูสรุปเรื่องที่ศึกษาและแนวทางการนามาประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติงานจากการที่ได้จากการศึกษาทางเอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่างๆ ผ่านการแนะนาของผู้บริหาร หรือหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้หรือผู้เกี่ยวข้อง เกณฑ์การประเมินคุณภาพ การประเมินตนเองเพื่อการนิเทศการสอน/การเยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน
  • 7. 7 คานา การนิเทศการเรียนการสอนเป็นองค์ประกอบหนึ่งชองขบวนการพัฒนาการศึกษาที่ช่วยส่งเสริมให้มีการ ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เรียนรู้มีอย่างประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้น โดยมีบุคลากรในโรงเรียน ร่วมรับผิดชอบพัฒนางานด้านการเรียนการสอนตลอดเวลาให้สอดคล้องกับมาตราฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญตามที่กาหนดในหลักสูตร เอกสารเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้นิเทศการเรียนการสอนรายบุคลภาคเรียนที่ 2 ประจาปี 2564 ใช้เป็น เครื่องมือในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ผู้นิเทศแบบกัลยาณมิตรนิเทศ และประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ข้อมูลที่ได้จากการประเมินในครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะนาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเองใน ด้านการจัดการเรียนการสอน การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มี ประสิทธิภาพในทุก ๆ ด้านซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญตามจุดหมายของหลักสูตรของสถานศึกษา และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาต่อไป นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
  • 8. 8 สารบัญ เรื่อง หน้า ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน หน่วยการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ตอนที่ 2 เครื่องมือนิเทศการจัดการเรียนรู้ แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ แบบนิเทศการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์สาหรับผู้นิเทศ ภาคผนวก แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ภาพถ่ายการเรียนการสอน ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียน
  • 9. 9 ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1. ข้อมูลทั่วไป ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ ปฏิบัติการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี 2. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ลาดับที่ รหัสวิชา รายวิชา ชั้น/ห้อง จานวนชั่วโมง/ สัปดาห์ หมายเหตุ 1 ศ21101 ทัศนศิลป์ ม.1 8 2 ศ23101 ทัศนศิลป์ ม.3 6 3 ศ31102 ทัศนศิลป์ ม.4 3 วิชาเลือก ม.3 2 ลูกเสือ/เนตรนารี ม.2 1 กิจกรรมโครงงานคุณธรรม ม.2 1 กิจกรรมชุมนุม ม.2 1 ประชุม PLC กลุ่มสาระ 3 ประชุม PLC วิชาการ 1 โฮมรูม 1 รวม 27
  • 10. 10 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 วิชา ทัศนศิลป์ ศ 31102 โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ เวลา 4 ชั่วโมง .................................................. 1.มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.3 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 2.ตัวชี้วัด: สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ 1. บรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ 2. ระบุและบรรยายเทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ 3. วิเคราะห์และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มี คุณภาพ 4. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ 3. สาระการเรียนรู้ * ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ และวิธีการนามาใช้สร้างงานทัศนศิลป์ กิจกรรมเรื่อง : ความสมดุลของศิลปะและธรรมชาติ * ผลงาน เทคนิค วิธีการของศิลปินไทยในการสร้างงานทัศนศิลป์ กิจกรรมเรื่อง : ตามรอยเหม เวชกร 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการคิดในการสร้างสรรค์ 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ใฝ่เรียนรู้ 6. การบูรณาการ - ประวัติศาสตร์ - การงานอาชีพ 7. ภาระงาน (สะท้อนการจัดกิจกรรม) ใบงานที่ 1 อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ ใบงานที่ 2 เรื่อง ออกแบบงานทัศนศิลป์ - ออกแบบภาพแนวเหมือนจริง - ออกแบบภาพแนวนามธรรม
  • 11. 11 8. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ขั้นต่า 1. ใบงานประจาหน่วย ใบงานที่ 1 อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ 1. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2. ใบงานประจาหน่วย ใบงานที่ 2 เรื่อง ออกแบบงาน ทัศนศิลป์ 2. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 9. กิจกรรมการเรียนรู้ 1.อธิบายและวิเคราะห์วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ 2.อธิบายเทคนิควิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ 3.ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ มา 1 ชิ้น 10. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 10.1 สื่อการเรียนรู้จากเว็บไซต์ครู www.peterfineart.com *หนังสือเรียนทัศนศิลป์ ม.4-6 11. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล การประเมินชิ้นงาน แบบประเมินชิ้นงาน รายการประเมิน คาอธิบายระดับคุณภาพ ดีมาก 4 ดี 3 พอใช้ 2 ปรับปรุง 1 ทฤษฏีเนื้อหา อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบ ในสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ เนื้อหาครบถ้วน อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบ ในสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ เนื้อหาเกือบครบ อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบ ในสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ เนื้อหา พอประมาณ อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบ ในสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ เนื้อหาไม่ครบถ้วน ปฏิบัติงาน สร้างสรรค์ผลงาน และประยุกต์ใช้ ทัศนธาตุและ หลักการ ออกแบบสร้างงาน ทัศนศิลป์ดีเยี่ยม สร้างสรรค์ผลงาน และประยุกต์ใช้ ทัศนธาตุและ หลักการ ออกแบบสร้างงาน ทัศนศิลป์ดี สร้างสรรค์ผลงาน และประยุกต์ใช้ ทัศนธาตุและ หลักการ ออกแบบสร้างงาน ทัศนศิลป์พอใช้ สร้างสรรค์ผลงาน และประยุกต์ใช้ ทัศนธาตุและ หลักการ ออกแบบสร้างงาน ทัศนศิลป์แบบไม่ ตรงจุด
  • 12. 12 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 80-100 ดีมาก 70-79 ดี 60-69 พอใช้ 0-50 ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับ พอใช้ ขึ้นไปถือว่า ผ่าน ลงชื่อ (นายอารมย์ อินทรประเสริฐ) ตาแหน่ง คศ.2 ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ............................................... (นายวินิจ อินทร์พรหม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ความคิดเห็นรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ) สมคิด จ้อยสาเภา (นางสมคิด จ้อยสาเภา) หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ ........../............./..............
  • 13. 13 ตอนที่ 2 1. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง 2. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ 3. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์สาหรับนิเทศ ฉบับที่ 1 แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้ ชื่อ-สกุล นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่าง ๆ แล้วทาเครื่องหมาย √ ในช่องระดับคะแนนของข้อที่ กาหนดพร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร เกณฑ์การประเมิน 5 ยอดเยี่ยม หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้สามารถปฏิบัติได้จริง และเป็นแบบอย่างได้ 4 ดีเลิศ หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สามารถปฏิบัติได้จริง 3 ดี หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ 2 ปานกลาง หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน 1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีความถูกต้องบางส่วนและสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้
  • 14. 14 ที่ รายการประเมิน ระดับการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 1 ด้านวิเคราะห์หลักสูตร 1.1มีการวิเคราะห์หลักสูตรสู่หน่วยการเรียนรู้ 1.2 ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา 2 ด้านองค์ประกอบ 2.1 การจัดหน่วยการเรียนมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระ การเรียนรู้ 2.2 แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2.3 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมด้านความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 2.4 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน 3 ด้านเนื้อหา 3.1. สาระสาคัญสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 3.2. สาระการเรียนรู้เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 3.3. เนื้อหาถูกต้องตามหลักวิชาการและมีความทันสมัย 3.4. เนื้อหามีความชัดเจนและเรียงลาดับจากง่ายไปยาก 4 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.1 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 4.2 เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน 4.3 กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 4.4 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติจริง/ทักษะกระบวนการ/ และกระบวนการคิดเช่น วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ 4.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนด 4.6 กิจกรรมนาความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือมีการเชื่อมโยงความรู้กับชีวิตประจาวัน 4.7 กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 5 ด้านสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ 5.1 มีสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
  • 15. 15 5.2 มีสื่อการเรียนรู้เหมาะสมกับกิจกรรมและศักยภาพของผู้เรียน 5.3 มีสื่อที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 5.4 มีการใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นหรือบูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ 5.5 มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ 6 ด้านการวัดและประเมินผล 6.1 เครื่องมือวัดประเมินผลสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน มีเกณฑ์การประเมินผลสอดคล้องกับเครื่องมือและวิธีวัดผลฯ 6.2วัดผลประเมินผลครอบคลุมทั้งด้านความความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 6.3ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและผู้เรียนมีส่วนร่วมใการ ประเมิน 6.4 มีการบันทึกหลังสอน เพื่อนาไปสู่การวางแผนการสอนต่อไป 6.5 นาผลการประเมินผู้เรียนมาแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิจัย รวม 22 3 คะแนนรวม 122 ค่าเฉลี่ย 4.55 ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ลงชื่อ..................................................................ผู้นิเทศ (นาย อารมย์ อินทรประเสริฐ) วันที่.........เดือน...........................พ.ศ...........
  • 16. 16 ฉบับที่ 3 แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในรูปแบบออนไลน์ สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 1) แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้ ผู้สอน นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 2 แบบบันทึกการสังเกตการณ์จัดการเรียนการสอน ครูจัดการเรียนการสอนผ่านแอปพลิเคชันไลน์ ในส่วนของนักเรียนที่เข้าเรียน มีการโต้ตอบกับ ครูผู้สอนสามารถตอบคาถาม จากกิจกรรมที่ครูสอนได้ นักเรียนไม่เข้าเรียนหลายคน อาจเนื่องจากขาดความ สนใจเบื่อรูปแบบการเรียนออนไลน์ ช่วยงานผู้ปกครอง ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ อาจแนบวีดีโอการสอน หรือสื่อการสอนที่ให้นักเรียนกลุ่มที่ขาดเรียนมาศึกษาด้วยตนเองภายหลัง ถ้าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ดีขึ้น นักเรียนสามารถมาเรียนแบบ Onsite ได้ จะทาให้บรรยากาศการจัดการเรียนการสอนน่าจะดีขึ้น ลงชื่อ สมคิด จ้อยสาเภา ผู้นิเทศ (นางสมคิด จ้อยสาเภา) วันที่..........เดือน................................พ.ศ...............
  • 17. 17 ฉบับที่ 4 แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในรูปแบบออนไลน์ สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 2) แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้ ผู้สอน นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 2 ประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่าง ๆ แล้วทาเครื่องหมาย √ ในช่องระดับคะแนนของข้อที่ กาหนดพร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร โดยใช้เกณฑ์ ดังนี้ 5 ยอดเยี่ยม หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดีเยี่ยม หรือมากที่สุด 4 ดีเลิศ หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดีมาก 3 ดี หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดี 2 ปานกลาง หมายถึง มีการปฏิบัติดีเป็นที่ยอมรับได้ปานกลาง 1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีการปฏิบัติดีเป็นที่ยอมรับได้น้อย / ควรปรับปรุง รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 1.ด้านครูผู้สอน 1.1 สร้างบรรยากาศการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มีการเสริมแรง สร้างแรงจูงใจและสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ 1.2 สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง สถานการณ์จาลองหรือสถานการณ์จริง
  • 18. 18 1.3 ฝึกให้มีการนาเสนอผลงาน และยอมรับแนวคิดจากผู้อื่น 1.4 แบ่งกลุ่มการทางาน หรือฝึกให้ทางานเป็นทีม 1.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวชี้วัดตาม หลักสูตรแกนกลาง 1.6 มีการวัดประเมินผลในรูปแบบที่หลากหลาย ตามสภาพจริงสอดคล้อง กับตัวชี้วัดผลการเรียนรู้ ทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 1.7 มีการประยุกต์ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีกับการจัดกิจกรรมเพื่อ กระตุ้นความความสามารถและสร้างทักษะแก่ผู้เรียน 1.8 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามหรือความคิดเห็น 2. ด้านผู้เรียน 2.1 ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2.2 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ 2.3 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ 2.4 ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน 2.5 ผู้เรียนกล้านาเสนอและแสดงความคิดเห็น และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล 2.6 ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ สามารถทากิจกรรมจนสาเร็จลุล่วง 3. ด้านกระบวนการ 3.1 เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ 3.2 เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการอ่าน การฟัง การ พูดและการคิดเช่น การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ 3.3 เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ,และหลักการสู่การสร้างความคิดรวบยอด 3.4 เป็นกิจกรรมที่มีการสร้างองค์ความรู้ ทั้งจากการปฏิบัติ จาก ประสบการณ์ และจากการสรุปทบทวนของผู้เรียน รวม 100 คะแนนรวม 100 ค่าเฉลี่ย 5.00 ตอนที่2 ปัญหาและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ สื่อและเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ครูใช้แอปพลิเคชั่น line ในการจัดการเรียนการสอน
  • 19. 19 ปัญหา เนื่องจากเป็นวิชาที่ต้องปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์..นักเรียนมีโทรศัพท์ ในระดับม.ปลายไม่มีปัญหาการสอน เพียงนักเรียนบางคนที่ต้องไปทางานเพื่อครอบครัวนักเรียนเองที่ ทางบ้านมีฐานะค่อนข้างยากจน นักเรียนสามารถไปเรียนด้วยตนเองในเว็บไซต์ของครู www.peterfineart.com ประกอบไปด้วยวีดีโอ มีข้อสอบ และตัวอย่างชิ้นงานให้ นักเรียนปฏิบัติ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนา ครูอาจแนบวีดีโอการสอน หรือสื่อการสอนที่ให้นักเรียนกลุ่มที่ขาดเรียนมาศึกษาด้วยตนเองภายหลัง ถ้าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ดีขึ้น นักเรียนสามารถมาเรียนแบบ Onsite ได้ จะทาให้บรรยากาศการจัดการเรียนการสอนน่าจะดีขึ้น ลงชื่อ สมคิด จ้อยสาเภา ผู้นิเทศ (นางสมคิด จ้อยสาเภา) วันที่..........เดือน................................พ.ศ...............
  • 21. 21
  • 22. 22 ฉบับที่ 5 แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียน แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ในแบบประเมินและตอบทุกข้อ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เรียน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เรียน เพศ ชาย หญิง ชื่อวิชา .............................................................................. ชั้น............................... ชื่อผู้สอน ................................................................................................................ ตอนที่ 2 การประเมินการเรียนการสอนตามสภาพจริง 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง ข้อ กิจกรรม ระดับการประเมิน มากที่สุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อย ที่สุด 1 1 นักเรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดข้อตกลง กิจกรรม ในการเรียน 2 ครูสอนโดยวิธีการที่หลากหลาย ใช้สื่อประกอบการเรียนการสอนที่เหมาะสมและเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ 3 ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึก ทักษะการคิด การตัดสินใจ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง พร้อมแนะนา แหล่ง ความรู้เพิ่มเติม 4 ครูประยุกต์เนื้อหาที่สอนเข้ากับเหตุการณ์ปัจจุบัน/ สภาพแวดล้อม 5 ครูสอนโดยมีการสอดแทรกคุณธรรม/จริยธรรม ค่านิยมที่ดีเช่น ความซื่อสัตย์ ความอดทน ความพอเพียง เห็นแก่ ส่วนรวม
  • 23. 23 6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถาม แสดงความ คิดเห็น พูดคุย และรับฟังข้อคิดเห็นของนักเรียน 7 ครูมีความสามารถในการถ่ายทอด จัดการเรียนการ สอน เป็นขั้นตอน เหมาะสมเข้าใจง่าย และตั้งใจในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน 8 ครูสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมใน ชั้นเรียน 9 ครูมีการประเมินผลการเรียนด้วยวิธีการที่ หลากหลาย ยุติธรรม และให้ข้อมูลป้อนกลับที่สามารถนาไปปรับและ พัฒนาตนเองได้ 10 ความตรงต่อเวลา และความสม่าเสมอในการสอน รวม เฉลี่ย ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ 1. สิ่งที่นักเรียนประทับใจ …………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. สิ่งที่นักเรียนอยากให้ครูปรับปรุง ............................................................................................................................................................... 2. กิจกรรมที่นักเรียนชอบ.. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 24. 24