SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
บทที่ 4
การวิเคราะห์ภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้ าหมาย
สมาชิกในกลุ่ม
นายธวัชชัย ใจเพชร รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๔๕
นางสาวภรณ์ประภา คาหล่อ รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๑๘
นางสาวฐิตินันท์ สุปัญญา รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๒๔๓
นายอนวรรษ ไกลถิ่น รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๗๘
นางสาวจิรภา พรายอินท์ รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๘๙
นางสาวจุฑามาศ ทวีปัญญาทรัพย์ รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๑๐๓
การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา
ของผู้เรียนกับภาษาเป้ าหมาย
ในการสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศนั้นไม่สามารถ
หลีกเลี่ยงการสอนข้ามวัฒนธรรมในด้าน
ความคิด
ความเชื่อ
ค่านิยม
แนวปฏิบัติ
ประเพณีนิยม
การสอนภาษาอังกฤษให้ง่ายขึ้น โดยการนาเทคนิคของ
การจัดทาบทเรียน และหาจุดเน้นในการสอนมีวิธีการที่เรียกว่า
การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างภาษาที่สอง
jack C. Richards ได้กล่าวว่า มีความสาคัญ
และความจาเป็ นสาหรับการเรียนการสอน
ภาษาต่างประเทศในการเรียนภาษาที่สอง
อุไมยะห์ ดามันฮูรี ผู้สอนภาษาไทยที่
มหาวิทยาลัยมลายา ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์
แนะนาลักษณะที่สาคัญของภาษาไทยเพื่อช่วย
ให้การเรียนการสอนง่ายขึ้น
ถ้าภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้ าหมายอยู่ในตระกูล
ภาษาเดียวกันกลุ่มภาษาต่างกันและประโยคต่างกันดังนั้น
ถ้าผู้สอนและผู้เรียนรู้เขารู้เราแต่เบื้องต้นก็เป็นการเตรียม
ความพร้อมเตรียมตัวเตรียมใจที่จะได้พบกับความเคยชิน
หรือโลกทัศน์ใหม่ในทางภาษา ครูสอนภาษาอังกฤษก็จะ
เข้าใจได้ง่ายเพราะทางเทคนิคของการจัดทาบทเรียนและ
หาจุดเน้นในการสอนมีวิธีการที่เรียกว่าการวิเคราะห์ความ
แตกต่างระหว่างภาษาของผู้เรียน กับภาษาเป้าหมาย
” ”การสอนภาษาไทยให้แก่นักเรียนชาวมาเลเซียได้รับความ
สนใจซึ่งแต่ละต่างประเทศมีวัฒนธรรมประเพณี และภาษาที่ต่างกัน
การที่ผู้สอนเข้าใจภาษาแม่ของนักศึกษา ซึ่งมีทั้งภาษาแม่ที่มีเสียง
วรรณยุกต์ เช่นภาษาจีนและภาษาแม่ที่ไม่มีเสียงวรรณยุกต์เช่นภาษา
มลายู อินเดีย ดายับ คาดาซัน และภาษาอื่นๆ นั้นจะช่วยให้
กระบวนการสอนมีความง่ายขึ้น
การให้โอกาสผู้เรียนเตรียมตัว
ในการเรียนภาษาใหม่
ในการสอนภาษาไทย วันแรกของการเรียนได้แจกผังภูมิเสียง
ภาษาไทย (Table of Thai consonants) แล้วออกเสียงให้นักศึกษาว่าตาม
ให้เห็นตัวอย่างคาในภาษาอังกฤษ เช่น ง/ ng / ของไทยมีทั้งตาแหน่งต้น
คาและท้ายคา แต่ในภาษาอังกฤษมีเฉพาะในตาแหน่งท้ายคา
การให้โอกาสผู้เรียนเตรียมตัวในการเรียนภาษาใหม่
หากบางภาษาไม่มีเสียงเหมือนในภาษาแม่แบบ เช่นในเสียง
อือ / uu / ที่ไม่มีในภาษาอังกฤษ ไม่สามารถยกคาตัวอย่างในคา
ภาษาอังกฤษมาให้ดูได้ แนะนาว่าออกเสียง / uu / ก่อนแล้ว
“แสยะยิ้ม” (grin) เมื่อแนะนาอย่างนี้ นักศึกษาก็จะเปรียบเทียบกับ
ภาษาของตนได้เอง แต่หากในภาษาของนักศึกษามีเสียงนี้ในภาษา
ของตน จะทาให้ออกเสียงได้ เช่นนักศึกษาชาวฝรั่งเศส
ส่วนด้านโครงสร้างภาษา ประโยคบางประโยคในภาษาไทย
เหมือนกับภาษาอังกฤษ แปลตรงตัวได้ทันที เช่น ถามว่า “ไปรษณีย์อยู่
ที่ไหน” แทนที่นักศึกษาจะตอบว่า “ไม่ไกลจากที่นี่” แต่เขาคิดว่า
ภาษาไทยน่าจะมีโครงสร้างต่างไปจากภาษาอังกฤษ จึงตอบว่า “ไม่
ไกลนี่”
การให้โอกาสผู้เรียนเตรียมตัวในการเรียนภาษาใหม่
ดังนั้นถ้าครูไม่ชี้ให้เห็นเสียก่อน นักศึกษา
ก็มักจะวางส่วนขยายไว้ส่วนหน้าคาขยายด้วยความเคยชิน
เช่น อากาศมากร้อน ดุร้ายสัตว์ หอพักนี้มากถูก ฯลฯ กรณีนี้
ความผิดพลาดอยู่ที่นิสัยความเคยชิน การฝึกจะช่วยแก้นิสัย
เดิมและปลูกฝังความเคยชินใหม่ ดังนั้นการสอนแบบตรง
(Direct method) จึงมีข้อดีที่ช่วยไม่ให้นักศึกษาใช้การ
แปลภาษาเป็นภาษาของตนอยู่ตลอดเวลา
การทาความเข้าใจ
ความรู้สึกของผู้เรียน
ผู้เรียนอาจไม่เข้าใจประโยคคาถามหรือปฏิเสธ และวิธีการตอบของคน
ไทย เช่น ไม่หิวหรือ ซึ่งตอบว่า ใช่ ไม่หิว, ไม่ชอบหรือ ซึ่งตอบว่า เปล่าครับ
ชอบ, ไม่อร่อยหรือ ซึ้งตอบว่า ครับ ไม่อร่อย
ความยากของการตอบคาถามแบบนี้ผู้สอนอาจจะไม่เข้าใจเพราะผู้สอน
เคยชินและคล่องมากในการคิดแบบนี้แต่มันมากสาหรับผู้เรียนที่เขามีวิธีการ
คิดอีกแบบหนึ่ง
ถ้าตั้งใจทา C.A. เพื่อรวบรวมข้อควรทราบมาบอกกล่าวกัน
ล่วงหน้า ย่อมจะทาให้ผู้สอนและผู้เรียนมีกรอบความคิดเดียวกันว่า
กรอบภาษา 2 กรอบ จะมีความเลื่อมล้าเหมือนและต่างกันในด้าน
ไหน อย่างไร
นฤมล ลี้ปิยชาติ (2549) ได้สรุปประโยชน์ของการวิเคราะห์
และเปรียบเทียบภาษาไว้ว่า
1. ช่วยให้ผู้สอนเข้าถึงปัญหาล่วงหน้า และเตรียมการสอนให้ถูกต้อง
รัดกุม
2. ช่วยชี้ขอบข่ายของความลาบากหรือปัญหาที่จะเกิดขึ้นในการเรียนรู้
3. ช่วยให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมเนื้อหาในการสอนได้เหมาะสมยิ่งขึ้น
4. สามารถให้เหตุผลกับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้
5. ช่วยในการจัดทาแบบทดสอบและประเมินผล
การวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาเป็นงานของ
ผู้สอนที่จะต้องทาก่อนการสอน เพื่อเตรียมการแต่
ไม่ใช่เนื้อหาที่จะนาไปสอนผู้เรียน ผู้สอนต้องนา
วิธีการวิเคราะห์มาใช้กับการทาแบบเรียนภาษาที่จะ
สอนโดยเปรียบเทียบกับภาษาแม่ของผู้เรียนเพื่อ
ให้ได้ประโยชน์ และนาไปสู่การสอนที่มีประสิทธิภาพ
เสียงพยัญชนะ
การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษา ผู้สอนจะต้องนาวิธีการวิเคราะห์มาใช้
ทาแบบเรียนภาษาที่จะสอน โดยเปรียบเทียบกับภาษาแม่ ของผู้เรียนเพื่อให้ได้
ประโยชน์ และนาไปสู่การสอนที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อให้เกิดประโยชน์สาหรับผู้สอนภาษาไทยให้ผู้เรียนชาวญี่ปุ่น
นฤมล ลี้ปิยะชาติ ได้แสดงผลการวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาไทยกับ
ภาษาญี่ปุ่น โดยสรุป ดังนี้
เสียงพยัญชนะ
๑. กรณีที่ภาษาไทยถือเป็น ๒ หน่วยเสียง ภาษาญี่ปุ่นถือเป็นหน่วยเสียง
เดียว คือ
ภาษาไทย ภาษาญี่ปุ่น
P, ph p
T,th t
K,kh k
ดังนั้นคนญี่ปุ่นจะมีปัญหาใน
การออกเสียง ผ พ ภ /ph / และ ป / p /
การออกเสียง ถ ท ธ / th / และ ด ฎ / t/
การออกเสียง ข ค ฆ / kh/ และ ก / k /
๒. เสียงที่คล้ายคลึงกันบางส่วน แต่ไม่เหมือนกันทีเดียว
เช่น / r / j /
เสียงพยัญชนะ
๓. เสียงที่ไม่มีในภาษาไทย แต่มีในภาษาญี่ปุ่น
เช่น g, ts, dz, tʃ,dƺ,φ, z, ʃ, Ʒ, Ν
เสียงเหล่านี้จึงเป็นปัญหาสาหรับนักเรียนไทยที่เรียนภาษาญี่ปุ่น
เสียงตัวสะกดในภาษาญี่ปุ่นมีเพียงเสียง / - n / และเปลี่ยนได้เป็น / - m
/,/ - n /, / -ng / แล้วแต่พยัญชนะที่ตามมา คล้ายนคหิตของภาษา
สันสกฤตที่อาจออกเสียงเป็น / -ng /, / - n /, / - m /, / - y / แล้วแต่
คาสนธิที่ตามมา จึงต้องเข้าใจว่า ตัวสะกดถึง ๙ เสียงในภาษาไทย ย่อม
เป็นปัญหากับคนญี่ปุ่นที่เรียนภาษาไทย
๔. เสียงที่ไม่มีในภาษาญี่ปุ่น แต่มีในภาษาไทย เช่น
Ph, tk, kh, Ɂ, ng(ต้นคา)
เสียงสระ
สาหรับเสียงสระ ในภาษาไทยจะมีเสียงสระที่มากกว่าภาษาญี่ปุ่นทาให้
ผู้เรียนมีปัญหาในการออกเสียงอีกประการหนึ่งก็คือความคล้ายกันของเสียงสระ
เช่น เอะ เอ และในภาษาญี่ปุ่นนั้นไม่มี แอะ แอ ทาให้การออกเสียงจะไม่ต่างกัน
มาก เช่นคาว่า เกะกับแกะ เตะกับแตะ
ประการที่สองเสียงสระบางเสียงจะไม่มีในภาษาญี่ปุ่น เช่น
a,æ,i,ә,u,ͻ,ia,ua รวมถึงการออกเสียงสระให้สั้นยาวเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลา
ฝึกฝน เช่นคาว่า ไขกับขาย , ไกลกับกลาย , เด็ดกับเดช เป็นต้น
เสียงวรรณยุกต์
ในภาษาญี่ปุ่ นจะไม่มีเสียงวรรณยุกต์แต่จะใช้การเน้นเสียงในคาหรือวลี เช่น
hí ga พระอาทิตย์
hì ga ไฟ
kí ga ความรู้สึก
kì ga ต้นไม้
hashì ตะเกียบ
hashí สะพาน
amè ฝน
amé ลูกกวาด
hí ga พระอาทิตย์hì ga ไฟkí ga ความรู้สึก
วิธีการเป็นขั้นตอนดังแผนภูมิต่อไป
1.1 (D1)
(x)
(X/Y) (P)
(Y)
1.2 (D2)
Description Selection Contrast Predict
แผนภูมิวิธีการเปรียบเทียบภาษา
จากแผนภูมิอธิบายได้ว่า
ขั้นแรก ให้เลือกภาษา 2 ภาษาคือ L1 และ L2 โดยให้คานึงถึงการเลือก
ภาษาที่นามาวิเคราะห์ต้องเป็นภาษาวรรณนาแทนด้วย D1 และ D2
ตามลาดับ
ขั้นที่ 2 ให้เลือกสิ่งที่คาดว่าจะเป็นปัญหาจากภาษาทั้งสอง ( X และ Y )
ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบส่วนที่เลือกมานั้น ( X / Y )
ขั้นสุดท้าย เมื่อได้ผลจากการวิเคราะห์และเปรียบเทียบระหว่างสอง
ภาษาแล้วก็นาผลมาใช้ในการทานายปัญหา ( P ) ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ใน
การเรียนการสอนภาษา
วิธีการเปรียบเทียบภาษา
จากการอธิบายวิธีการเปรียบเทียบภาษาจะเห็นได้ว่ามีวิธีการต่างๆ
ที่จะทาให้เข้าใจแนวทางในการวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาษาได้อย่างละเอียด
เพื่อเป็นการทานายและเปรียบเทียบผลจากจากวิเคราะห์เกี่ยวกับปัญหาการ
เรียนการสอนในภาษาต่างประเทศ และรวมไปถึงภาษาของผู้เรียนอีกด้วย
ในวิธีการเปรียบเทียบมี 3 ส่วนดังนี้
วิธีการเปรียบเทียบภาษา
1. ควรสังเกตความแตกต่างโครงสร้างของภาษา
สังเกตได้จากส่วนที่ขาดหรือเกิดขึ้นมาจากภาษาหนึ่ง
2. ต้องมีการหาข้ออ้างอิงมาอธิบายส่วนที่ขาด
หรือเกิดขึ้น หรือความแตกต่างของภาษา
3. ควรหาขั้นตอนและกฎที่เปลี่ยนรูปแบบจาก
โครงสร้างนั้นมาทาการวิเคราะห์และเปรียบเทียบโดยหา
กฎร่วมกันให้มากที่สุด
วิธีการเปรียบเทียบภาษา
และต่อจากการเปรียบเทียบโครงสร้างของภาษา
แล้ว ต้องมีการทานายถึงสิ่งที่เป็นปัญหาในการเรียน
การสอนและปัญหาของภาษา มีด้วยกัน 2 วิธี ดังนี้
1. ในขั้นตอนการวิเคราะห์และเปรียบเทียบจาก
โครงสร้างแล้ว ไม่ใช่การทานายถึงปัญหาที่แท้จริง แต่
เป็นปัญหาที่เห็นได้จากการเปรียบเทียบ
2. การทานายปัญหาจากการใช้ทฤษฏี
ภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยาอธิบาย โดยใช้หลักจิตวิทยา
เข้ามาเสริมในส่วนที่เป็นปัญหา โดยวิธีนี้จะช่วยให้การ
ทานายปัญหาชัดเจนยิ่งขึ้น

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
Nun'Top Lovely LoveLove
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
กชนุช คำเวียง
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
sripayom
 
แบบทดสอบภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น
แบบทดสอบภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้นแบบทดสอบภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น
แบบทดสอบภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น
peter dontoom
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
Ppt Itwc
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
mouseza
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
Nirut Uthatip
 

What's hot (20)

รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบทดสอบภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น
แบบทดสอบภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้นแบบทดสอบภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น
แบบทดสอบภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
คำศัพท์ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ป.6
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษานโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
นโยบายไทยแลนด์ 4 กับการศึกษา
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food
 

Similar to บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ

ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
Thidarat Termphon
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
Sutat Inpa
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
thanakit553
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สปายด์ 'ดื้อ
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
jutamat tawebunyasap
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
jutatip3059
 

Similar to บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ (20)

บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายบทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
Basic Thai Language Course
Basic Thai Language CourseBasic Thai Language Course
Basic Thai Language Course
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
9789740329886
97897403298869789740329886
9789740329886
 

บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ