SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
ในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒
สมาชิก
๑.นายนภดล น้อยเหนื่อย รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๐๓
๒.น.ส.ปรียานุช ทองยอด รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๑๙
๓.น.ส.วารุณี วาที รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๔๐
๔.น.ส.ศศิมา เฉยดี รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๔๒
๕.น.ส.นิดา ยิ่งรุ่งเรือง รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๕๒
๖.น.ส.ทิพวรรณ จันทร์จร รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๕๙
๗.น.ส.เกตน์นิภา อ้วนหินกอง รหัส ๕๕๘๑๑๒๔๐๙๖
D๒ คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ในยุค ๒๐๐๐ ยุคสหัษวรรษใหม่ (New millennium)
ยุคข้อมูลข่าวสาร(information technology) ยุคโลกาภิวัฒน์
(Globalization) ภาษาไทยจัดอยู่ในระบบสารของภาษาโลก
แต่ถูกเรียกรวมๆว่าภาษาอื่นๆ ที่สอนกันอย่างไม่แพร่หลาย
ซึ่งถ้าเปรียบเทียบกับภาษาที่มีการสอนอย่างแพร่หลาย
เช่น ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน เยอรมัน จีน เป็นต้น ความ
นิยมและความต้องการที่จะเรียนภาษาไทยเริ่มขึ้นแต่เป็นเพียงจุด
เล็กในบางประเทศทั่วโลกที่มีการสอนกันเพียงสิบยี่สิบคน
ปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาต่างๆทั่วโลกได้เปิดสอนหลักสูตร
ภาษาไทยเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น มหาวิทยาลัยต่างประเทศ
กวางโจว เริ่มเปิดสอนภาษาไทยตั้งแต่ ค.ศ.๑๙๗๐ นักศึกษาที่ได้รับ
คัดเลือกเข้ามาเรียนมีทั้งหมด ๑๕ คน อาจารย์ ๔ คน เป็นคนจีน
ที่เกิดในประเทศไทยแต่ได้เดินทางกลับประเทศจีนเมื่ออายุ
๑๕-๒๐ ปี และเรียนต่อจนจบมหาวิทยาลัย มหาลัยในประเทศจีน
เริ่มมีการเปิดสอนภาษาไทยในทศวรรษที่ ๕๐ ส่วนมากคนจีน
ที่กลับมาจากประเทศไทยก็จะมาเป็นอาจารย์สอนภาษาไทยตาม
มหาลัยต่างๆในประเทศจีน
แต่ละมณฑลมีภาษาถิ่นเป็นภาษาประจาและสาเนียงในการ
พูดภาษาจีนกลางก็แตกต่างกันไป สิ่งเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อ
การอ่านออกเสียงภาษาไทย นักศึกษาที่มาจากมณฑลที่อยู่ตอนเหนือ
ของประเทศจีนจะมีปัญหาในเรื่องการออกเสียงตัวสะกด
เสียงวรรณยุกต์ และสาเนียงในการพูดมากกว่านักศึกษาที่มาจาก
ทางใต้ของประเทศจีน เรื่องการอ่านออกเสียงก็ยังคงเป็นปัญหาสาหรับ
นักศึกษาบางคนไม่ว่ามาจากทางเหนือหรือใต้
มหาวิทยาลัยปักกิ่ง หลังจากสถาปนาความสัมพันธ์
ทางการทูตระหว่างประเทศไทยกับประเทศจีน ความสัมพันธ์
ระหว่างไทยกับจีนได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วซึ่งมีส่วนช่วยในการพัฒนา
วิชาภาษาไทย ในทศวรรษที่๙๐ สถาบันชนชาติส่วนน้อยยูนนาน
เปิดสอนวิชาภาษาไทย ในค.ศ. ๒๐๐๐ สถาบันภาษาต่างประเทศ
เซี่ยงไฮ้ ได้ประกาศจัดตั้งสาขาวิชาภาษาไทย ปัจจุบันมหาวิทยาลัยใน
ประเทศจีนที่มีสาขาวิชาภาษาไทยมี ๘ แห่ง
ในปี ค.ศ. ๑๙๙๙ ภาควิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย
มหาวิทยาลัยปักกิ่ง เปิดรับนักศึกษาปริญญาโทซึ่งเป็นการเริ่มต้น
ประวัติการฝึกอบรมผลิตนักศึกษาปริญญาโทสาขาวิชาภาษาไทย
ในประเทศจีน ในปี ค.ศ.๑๙๙๖ มหาวิทยาลัยปักกิ่งได้ก่อตั้งสถาบัน
ไทยศึกษามหาวิทยาลัยปักกิ่งขึ้น เมื่อปี ค.ศ.๒๐๐๑
กระทรวงศึกษาธิการจีนได้จัดตั้งศูนย์อบรมผลิตบุคลากร
ภาษาต่างประเทศที่ใช้กันน้อยขึ้นในมหาวิทยาลัยปักกิ่ง มีส่วนช่วย
พัฒนาภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่ใช้น้อยในมหาวิทยาลัย
ปักกิ่งและประเทศจีนด้วย
ในเกาหลี มหาวิทยาลัยฮันกุ๊ก ในปีค.ศ. ๑๙๖๖ ภาควิชา
ภาษาไทยได้เริ่มเปิดสอนวิชาภาษาไทยเป็นวิชาเอก รับนักศึกษา
วิชาเอกภาษาไทยรุ่นแรก ๒๐ คน มีการติดต่อขอความร่วมมือ
และแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับสถาบันอุดมศึกษาในเมืองไทย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในมาเลเซีย วิชาภาษาไทยมีสอนที่มหาวิทยาลัยมลายา
มานานกว่า ๒๐ ปี วิชาภาษาไทยเป็นวิชาเลือกที่บังคับวิชาหนึ่งของ
ภาษาต่างๆในภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้สาหรับนักศึกษาของ
คณะอักษรศาสตร์ คณะภาษาศาสตร์และคณะอื่นๆ ในมหาวิทยาลัย
มลายา ปกตินักศึกษาจะต้องเรียนอย่างน้อย ๑ ปี แต่ถ้าเลือก
วิชาเอกตะวันออกเฉียงใต้นักศึกษาจะมีโอกาสเรียนภาษาไทย
ถึง ๓ ปี หลักสูตรในการเรียนจะเรียนทุกทักษะ คือ ฟัง พูด อ่าน
และเขียน
ในออสเตรเลีย การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยอย่างเป็น
ระบบในออสเตรเลียเริ่มขึ้นที่สถาบันสอนภาษาพอยต์คุก
(Point Cook) ในรัฐวิกตอเรีย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ทางการทหารเป็นสาคัญ
ในปี ๒๕๑๘ ได้มีการเปิดสอนภาษาไทยระดับปริญญา
ขึ้นเป็นครั้งแรกทีคณะเอเชียศึกษามหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย
โดยสนับสนุนในการเชิญอาจารย์ผู้สอนวิชาภาษาไทยที่มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร คือ ผู้ช่วยศาตราจารย์วิพุธ โสภวงศ์
มาเป็นผู้สอนที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลียเป็นเวลา ๔ ปี
แม้ตอนแรกยังมีนักศึกษาจานวนไม่มากนักแต่ก็ถือ ว่า
ประสบความสาเร็จในการสอนภาษาไทย
ในปี พ.ศ.๒๕๒๑ รัฐบาลออสเตรเลียได้ให้งบประมาณรายปี
แก่มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย เพื่อสนับสนุนการสอน
ภาษาเอเชีย ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาฮินดี-ฮุร์ดู ภาษาสันสกฤต
ภาษาชวา ภาษาเปอร์เซีย ภาษาเวียดนาม ภาษาอารบิค
และภาษาเกาหลี
ในปี พ.ศ.๒๕๒๑-๒๕๓๒ ได้จ้างอาจารย์ประจา
จานวน ๒ คน เพื่อสอนภาษาไทย ทาการวิจัย เป็นผู้บริหาร
ในด้านการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย และรับผิดชอบงานบริหาร
บางอย่างของคณะ
จากบทความทาให้เห็นได้ว่าการเรียนการสอนภาษาไทยได้
ขยายวงกว้างออกไปสู่มหาวิทยาลัย โดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น
อังกฤษ อเมริกา เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่สนใจเรียนภาษาไทยได้มีโอกาส
มากยิ่งขึ้น ทั้งการเดินทางที่สะดวกรวดเร็วเป็นผลให้ชาวต่างชาติ
เกิดการแลกเปลี่ยนภาษา จนทาให้ภาษากระจายวงกว้างมากขึ้น
ที่สาคัญนอกจากการเรียนภาษาแล้วผู้เรียนยังได้ความเป็นไทย
และวัฒนธรรมไทย หรือแม้แต่การเรียนรู้วิถีชีวิตของคนไทยในมุมมอง
ของชาวต่างชาติ
ผลการสารวจความสนใจและแรงจูงใจในการเรียนภาษาไทย
ที่ได้จัดทาขึ้นในปี ๒๕๓๘ และปี ๒๕๔๓ โดยใช้แบบสอบถาม
และการสัมภาษณ์นักศึกษามหาวิทยาลัยปูซาน ประเทศเกาหลี
จานวน ๒๐ คน ที่เข้ามาเรียนภาษาไทยคณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีข้อสรุป ดังนี้
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อศึกษาเหตุผลในการเลือกเรียนภาษาไทย จุดมุ่งหมาย
ในอนาคตด้านการศึกษาต่อและด้านอาชีพตลอดจนความสนใจ
เกี่ยวกับไทยศึกษา
๒. เพื่อทราบความคิดเห็นของนักศึกษาชาวเกาหลีในฐานะ
ผู้เรียนภาษาไทย ด้านปัจจัยที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนภาษาไทย
ความยากหรือปัญหาในการเรียนภาษาไทย ข้อเสนอแนะด้านการสอน
ของอาจารย์และการเรียนนอกห้องเรียนของผู้เรียน
เหตุผลที่เลือกเรียนภาษาไทย
๑.เพื่อจะได้รู้จักประเทศไทย ความเป็นอยู่ของคนไทย
ตลอดจนเศรษฐกิจเเละวัฒนธรรมไทย
๒.ต้องการมาทางานกับบริษัทเกาหลีในประเทศไทย เช่น
ทางานเป็นนักธุรกิจ มัคคุเทศก์ สถานทูตหรือสายการบิน
๓.ต้องการพูดภาษาไทยเเละศึกษาต่อในประเทศไทย
๔.ต้องการท่องเที่ยวในประเทศไทย
ความสนใจไทยศึกษา
๑. สนใจเรียนภาษาไทยเเละวัฒนธรรมไทย
๒. สนใจเรียนสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง
๓. สนใจวรรณคดีไทย ประวัติศาสตร์ ศาสนาพุทธ
ทัศนคติต่อภาษาเเละหลักสูตรภาษาไทยที่เคยเรียนมา
๑. อาจารย์สอนภาษาไทยขั้นเริ่มควรเป็นคนเกาหลี
๒. อาจารย์สอนขั้นนกลางเเละขั้นสูงควรเป็นคนไทย
๓. ผู้สอนต้องสอนให้ง่ายเเละสนุก มีวิธีการสอนที่หลากหลาย
๔. ด้านเนื้อหา ผู้สอนควรสอดเเทรกให้เข้าใจสังคม การเมือง
วรรณคดี
๕. มีการสอนโดยการฝึกทักษะมากขึ้นเเละให้ได้มีโอกาส
สนทนากับคนไทย
ทัศนคติต่อภาษาเเละหลักสูตรภาษาไทยที่เคยเรียนมา (ต่อ)
๖. ผู้เรียนควรสนใจเเละพยายามฝึกฝนการเเต่งประโยคเเละ
การพูด
๗. ผู้เรียนควรมีวิธีฝึกฝนเรียนรู้นอกชั้นเรียนโดยหาโอกาสอ่าน
หนังสือพิมพ์ภาษาไทย พูดกับคนไทย ท่องจาคาศัพท์เเละมาท่องเที่ยว
ประเทศไทย
สิ่งที่ยากในการเรียนภาษาไทย
๑. เรื่องการออกเสียงเป็นเรื่องยากที่สุด โดยเฉพาะเสียง
วรรณยุกต์เเละเสียงควบกล้า
๒. นักศึกษามีปัญหามากด้านการเรียงคาในการเเต่งประโยค
ภาษาไทย
๓. นักศึกษามีปัญหาในการฟังคนไทยพูด โดยจะเข้าได้ยากมาก
เพราะไม่มีโอกาส ได้ฝึกการฟังเท่าใดนัก
ประโยชน์ของการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์ในการจัดทาโปรแกรมการสอน
ภาษาไทย การจัดทาแบบฝึกทักษะ และการเรียบเรียงบทอ่านเสริม
ทักษะภาษาไทยของศูนย์ไทยศึกษา คณะศึกษาศาสตร์เป็นอย่างมาก
ความคิดเห็นของชาวต่างประเทศ ต่อกรณี การสอนภาษาไทย เป็นภาษาที่สอง
๑. ความยาก-ง่ายของภาษาไทย เมื่อเทียบกับภาษาอังกฤษ
(ภาษาไทยไม่ยากเท่า)
๒. ครูภาษาไทยระดับต้นควรรู้ภาษาแม่ของผู้เรียน
(ไม่จาเป็นเสมอไป)
๓. อาจารย์สอนภาษาไทยชั้นกลางและชั้นสูงควรเป็นคนไทย
(เห็นด้วย)
๔. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่ได้เรียนภาษาไทย
(อยู่ในระดับดี)
ความคิดเห็นของชาวต่างประเทศ ต่อกรณี การสอนภาษาไทย เป็นภาษาที่สอง(ต่อ)
๕. ความพึงพอใจต่อหลักสูตรภาษาไทยที่เคยเรียน
(อยู่ในระดับดี)
๖. เรียนภาษาไทยในประเทศไทยมีประโยชน์มาก
(เห็นด้วยอย่างยิ่ง)
๗. เรียนภาษาไทยให้ได้ผลดีต้องฝึกปฏิบัติด้านการพูด การฟัง
การอ่าน และการเขียน (เป็นข้อเสนอแนะที่เห็นด้วยอย่างยิ่ง)
แรงจูงใจในการเรียนภาษาไทยของชาวต่างประเทศ
ชาวต่างประเทศที่เรียนภาษาไทยแบ่งได้เป็น ๒ ลักษณะ คือ
๑. ผู้ที่เรียนในประเทศของตน ส่วนใหญ่มีจุดประสงค์เพื่อเป็น
พื้นฐานในการเรียนรู้ประเทศไทย หรือการเข้ามาศึกษาต่อและ
ท่องเที่ยวในประเทศไทย
๒. ผู้ที่เข้ามาเรียนในประเทศไทย มีจุดประสงค์ที่หลากหลาย
ตามแรงจูงใจของแต่ละคนซึ่งอาจเป็นด้านการค้า การท่องเที่ยว หรือ
การศึกษา
ซึ่งความคิดเห็นของชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศไทย
มีหลายเหตุผล เช่น การเข้ามาเพราะหนีจากสภาพอากาศที่
หนาวเย็น มีความสบายใจกว่าอยู่อเมริกาที่มีความแข่งขันสูง
ความผ่อนคลายในไทยมีหลากหลาย จะนวดแผนไทยโบราณ
เกือบทุกวันก็ได้ ค่าเงินก็ไม่สูงมาก และคนไทยก็มีเอกลักษณ์
คือ นิยมผมสั้น แต่งกายเรียบร้อย แต่คนไทยมีนิสัยเจ้าชู้ ซึ่งอาจเป็น
เพราะกฎหมายของไทยไม่รุนแรงเท่าของอเมริกา ตลอดจนความ
ชื่นชอบในภูมิศาสตร์ของไทยในจัเงหวัดเชียงใหม่ ที่ชาวต่างชาติ
บอกว่า "เชียงใหม่คือสวรรค์บนดิน"

More Related Content

What's hot

การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศenoomtoe
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติshelercherries
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศNuzzNussara
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศNamTarn Sasima
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศPuck Songpon
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศเจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)G ''Pamiiz Porpam
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง jutamat tawebunyasap
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่jutamat tawebunyasap
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์เจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศJanjira Kunnapan
 
งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑Oiw Kiddie
 
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศAorsuwanee
 
ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57Vattana Lapanich
 
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1Medploy Ploypraphat
 

What's hot (20)

การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
 
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติการเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
 
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศบทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
บทที่ 6 การเป็นครูสอนภาษาไทยแก่ผู้เรียนชาวต่างประเทศ
 
มหาลัยในไทย ดีสอง
มหาลัยในไทย  ดีสอง มหาลัยในไทย  ดีสอง
มหาลัยในไทย ดีสอง
 
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
การสอนภาษาไทย มหาลัยต้าลี่
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติลีดส์
 
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
 
ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57ระเบียบการรับนักเรียน57
ระเบียบการรับนักเรียน57
 
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
งานอาจารย์ฤดี ชิ้นที่1
 

Similar to แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย

แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยNamTarn Sasima
 
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศD2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศAorsuwanee
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)Aorsuwanee
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศKanthika Sriman
 
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยnokporn phetwiset
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4okpkanjana
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีSutat Inpa
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศjutamat tawebunyasap
 
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2สุทัศน์ อินปา
 

Similar to แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย (9)

แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศD2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
D2 งานชิ้นที่3 การสรุปหนังสือพื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ2
 

แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย