SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
ก
คำนำ
เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อนาผลงานเสนอขอรับการประกวด ผลงานที่มีวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ “Best
Practice” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต ๒ โดยผู้จัดทาได้จัดทาการส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในสถานการณ์จริง จนเกิด
การเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเมื่อนักเรียนและเกิดกระบวนการการแก้ไขปัญหาด้วยตนเองได้ ซึ่งทาให้นักเรียนมี
แรงจูงใจในการใฝ่เรียน ใฝ่รู้ เกิดความสนุกสนาน มีความสุขที่จะเรียน จึงเป็นแนวทางที่ส่งเสริมให้นักเรียน
สามารถพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษได้ดียิ่งขึ้น
ขอขอบคุณผู้บริหารโรงเรียนบ้านหัวนา คณะครูและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ที่ให้ความร่วมมือ
สนับสนุนในการทางานจนประสบความสาเร็จ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนผู้ที่สนใจได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
นางฐิติยา พาสมบูรณ์
ข
สำรบัญ
หน้ำ
คานา ก
สารบัญ ข
ชื่อผลงาน ๑
ข้อมูลทั่วไป ๑
ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ ๑
จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน ๒
กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนินงาน ๓
ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ๓
ปัจจัยความสาเร็จ ๔
บทเรียนที่ได้รับ ๔
การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ ๕
ภาคผนวก ๖
นวัตกรรมการบริหาร การจัดการเรียนการสอน
ภายใต้นโยบาย 3 สร้าง
.........................................................................................
ชื่อผลงำน การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็น
ฐานการเรียนรู้
ข้อมูลทั่วไป
1. ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหัวนา อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ เครือข่ายโรงเรียนสนม ๒
๒. ชื่อครูผู้สอน นางฐิติยา พาสมบูรณ์
๓. เรื่องที่สอน How to make sandwich
๑. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ
การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่งสอดคล้องกับแนวการจัดการศึกษาตาม
พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ.2542 (สานักงานคณะการศึกษาแห่งชาติ, 2542) ในหมวด 4 มาตรา 22 การ
จัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า “ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด”
สภาวการณ์ในปัจจุบันทั่วโลกกาลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม การเมืองเศรษฐกิจและ
เทคโนโลยีที่ก้าวไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วหรือกาลังพัฒนา ส่งผลให้วิถีชีวิตของคนมี
ความแตกต่างกันมากขึ้น ผู้คนจานวนมากหลากหลายเชื้อชาติย้ายข้ามประเทศ ข้ามภาษาและข้ามวัฒนธรรม มา
อาศัยอยู่ร่วมกันและทางานร่วมกัน ก่อให้เกิดเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม ในด้านทางการศึกษาจึงจาเป็นต้องปรับตัว
ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยต้องจัดการศึกษาให้ทันกับสถานการณ์โลกที่เต็มไปด้วยความรู้และข้อมูลที่เพิ่มขึ้น
ต้องพัฒนาการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนได้มีโอกาสรับรู้ เพิ่มพูนความรู้และ
ประสบการณ์ ให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดทั้งในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ และก้าวทันต่อการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
การจัดกระบวนการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้
วิชาภาษาอังกฤษจัดอยู่ในหมวดของวิชาภาษาต่างประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากปัจจุบันภาษาต่างประเทศมีความสาคัญ
และจาเป็นอย่างยิ่งในชีวิตประจาวันด้วย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลในหลายๆประเทศ การ
แสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ และการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม วิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
การจะพัฒนาทักษะการพูดภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ การจัดการเรียนการสอนควรมี
ลักษณะที่ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้และความรอบรู้ นอกจากนี้การจัดกระบวนการสอนยังควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและการเรียน
ภาษาจึงควรประกอบไปด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งกิจกรรมการฝึกทักษะทางภาษา ซึ่งกิจกรรมควรฝึกให้
ควบคู่กับการเรียนรู้ที่ไปสู่การเรียนที่พึ่งตัวเองได้ (Learner–Independence) และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
(Lifelong Learning) (กรมวิชาการ, 2544) อันนาไปสู่การใช้ภาษาให้ถูกต้องคล่องแคล่วเหมาะสม และใช้ได้
จริงมากที่สุด
อย่างไรก็ตามในปัจจุบันปัญหานักเรียนขาดทักษะการพูดภาษาอังกฤษ รวมถึงขาดความมั่นใจในตนเอง
อันเนื่องมาจากบุคลิกภาพส่วนตัว ความกลัวจะพูดเพราะสาเนียงไม่ดี ขาดความรู้เรื่องไวยากรณ์หรือการใช้คาใน
บริบท รวมถึงขาดคลังคาศัพท์ที่มากพอ การจะแก้ปัญหานี้ได้ การจัดกระบวนการเรียนการสอนต้องสอดคล้อง
กับสถานการณ์จริง ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ และผ่อนคลาย โดยกิจกรรมเหล่านี้ต้องเปิดโอกาสให้
นักเรียนได้ฝึกทักษะทางภาษา เสริมสร้างความมั่นใจ และรู้วิธีการเรียนภาษาต่างประเทศ
ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความสนใจในการนาเอาเทคนิคการสอนโดยใช้สถานการณ์
เป็นฐานการเรียนรู้ (Situation Based Learning) มาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งการเรียนรู้แบบสถานการณ์เป็น
ฐานการเรียนรู้ เป็นการสร้างสถานการณ์ขึ้นมาให้ใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงที่ผู้เรียนอาจประสบในภายหลัง
การเรียนด้วยสถานการณ์ จะช่วยให้เกิดการถ่ายโยงความรู้ ผู้เรียนจะได้คิดแก้ปัญหาจากสถานการณ์ทา ให้เกิด
การเรียนรู้ อีกทั้งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการกระตือรือร้นในการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษจากสถานการณ์ที่ผู้สอน
จาลองขึ้น การสอนโดยใช้สถานการณ์เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะพัฒนาทักษะการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษของนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น สถานการณ์จะทาให้เกิดการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ ในสถานการณ์ และใช้
ข้อมูลที่มีสภาพแวดล้อมคล้ายกับข้อมูลในความเป็นจริงในสถานการณ์ การตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีหลักการและ
การตัดสินใจ ในสถานการณ์จะส่งผลกับผู้ร่วมกิจกรรมเหมือนในสถานการณ์จริงและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้
ทักษะทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ในลักษณะการผสมผสานกันในสถานการณ์
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้พบปัญหาเด็กนักเรียนไม่สามารถพูดด้วยประโยคง่ายๆ สาเหตุที่
ผู้เรียนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ก็เพราะว่าไม่ได้ฝึกฝนให้เกิดความชานาญ ในฐานะที่เป็น
ครูผู้สอนได้เล็งเห็นว่าหากไม่พัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของเด็กแล้ว อาจจะส่งผลให้นักเรียนไม่กล้าพูด
ภาษาอังกฤษ ไม่มีความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ และก็ไม่สามารถพูดสื่อสารได้ในที่สุด ครูจึงได้จัดกิจกรรม
เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษขึ้นมา รวมทั้งนักเรียนมีความสนใจในการทาอาหารด้วย ครูและนักเรียนได้
ปรึกษาหารือกัน จึงได้จัดทาโครงงาน (How to make sandwich) ขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกพูด พูดแนะนาตัว
พูดบอกส่วนประกอบของอาหาร และพูดบอกวิธีการทาอาหารตามลาดับขั้นตอน
๒. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน
1. เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ
3. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ
เป้าหมาย
- เป้าหมายเชิงปริมาณ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหัวนา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 14 คน
- เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1. นักเรียนมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้อยู่ในระดับพอใช้ขึ้นไป สามารถ
พูดแนะนาตัว แนะนาส่วนประกอบและขั้นตอนวิธีการทาแซนวิชเป็นภาษาอังกฤษตามเนื้อหาที่ครู
กาหนดให้ได้
2. นักเรียนเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างมีความสุข กล้าแสดงออก และมีเจตคติที่ดีในการเรียน
ภาษาอังกฤษ
๓. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนินงาน
3.1 ขั้นวางแผน
- ศึกษาวิธีการใช้สื่อนวัตกรรมใหม่ๆ
- วิเคราะห์ข้อมูลความรู้พื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เกี่ยวกับการพูดภาษาอังกฤษ
- จัดทาใบความรู้การพูดแนะนาตนเอง แนะนาส่วนประกอบและขั้นตอนการทาแซนวิชเป็น
ภาษาอังกฤษ
- จัดทาแบบฝึกหัดเพื่อให้นักเรียนทาเป็นมินิบุ๊ค
- พัฒนาสื่อนวัตกรรม
3.2 ขั้นดาเนินงาน
- ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
- นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและคาศัพท์เกี่ยวกับส่วนประกอบของแซนวิช
- นักเรียนศึกษาประโยคในการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษในใบความรู้
- นักเรียนออกมาพูดหน้าชั้นพร้อมแสดงท่าทางประกอบ
- นักเรียนฝึกทาแบบฝึกหัดเพื่อเช็คความรู้ความเข้าใจในใบงาน
3.3 ขั้นติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
- ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- รวบรวมสรุปผล
3.4 ขั้นพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง
- นาผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข ทบทวน พัฒนารูปแบบการสอนให้ถูกต้อง สมบูรณ์
๔. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ
4.1 ผลที่เกิดตามวัตถุประสงค์
1) นักเรียนมีทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษ นักเรียนได้เรียนรู้การปฏิบัติการจริง ซึ่งทาให้
นักเรียนมีความสนใจและตั้งใจเรียนเพราะได้ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง
2) นักเรียนเกิดความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และมีการฝึกและพัฒนาการพูด
ภาษาอังกฤษของตนเอง
3) นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการพูดในวิชาภาษาอังกฤษ เนื่องจากมีการสร้างกิจกรรมและ
บรรยากาศที่ดีในห้องเป็น ทาให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อครูและเพื่อนร่วมชั้น
4.2 ประโยชน์ที่ได้รับ
การใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีผลจากการดาเนินงานที่น่าประทับใจ คือ
1. นักเรียน 7 คน สามารถพูดอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 50, นักเรียน ๗ คน สามารถพูดอยู่ในระดับ
ดี คิดเป็นร้อยละ ๕๐
2. นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น
๓. นักเรียนเกิดความสนุกสนานและมีความสุขในการเรียน ไม่รู้สึกเบื่อหรือกลัวที่จะเรียนภาษาอังกฤษ
อีกต่อไป ส่งผลให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาอังกฤษ
๕. ปัจจัยความสาเร็จ
1. รูปแบบการจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง เรียนรู้คาศัพท์จากของจริง ส่งผลให้
นักเรียนมีโอกาสทาแซนวิชด้วยตัวเอง พร้อมพูดแนะนาตนเอง พูดอธิบายส่วนประกอบและขั้นตอนการทา
แซนวิชจนเกิดเป็นชิ้นงานขึ้นมา
2. นักเรียนมีความตั้งใจและอยากลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง พอนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงนักเรียนได้
ชิ้นงานที่เกิดจากความสามารถของตนเอง นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง มีความมั่นใจในตนเอง
สนุกสนานกับกิจกรรมที่ทา
3. ผู้อานวยการโรงเรียน คณะครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านหัวนาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้การสนับสนุน
เป็นอย่างดียิ่ง
6. บทเรียนที่ได้รับ
จากการใช้สถานการณ์เป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทาให้นักเรียนได้มีการฝึกการใช้
ภาษาจริง ได้ปฏิบัติจริงโดยเป็นเหตุการณ์ที่สอดคล้องกับชีวิตประจาวัน ทาให้นักเรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตของตนได้
ข้อสังเกต /ข้อเสนอแนะและข้อควรระวัง
1. นักเรียนไม่มั่นใจในการออกเสียง ครูจึงพูดให้กาลังใจนักเรียน และให้นักเรียนฝึกฝนเป็นประจา
เพื่อให้นักเรียนมีความมั่นใจและพูดภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น
2. การพูดสื่อสารภาษาอังกฤษนั้น ครูผู้สอนต้องพูดช้า ๆ ชัด ๆ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฟังและพูดได้
ถูกต้อง
3. การใช้สถานการณ์เป็นฐานครูควรดูแลและให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด เพื่อให้นักเรียนมีความกล้า
แสดงออกและมีความมั่นใจมากขึ้น
4. นักเรียนและครูควรแลกเปลี่ยนความคิดและช่วยกันออกแบบกิจกรรม ซึ่งเป็นการทาให้นักเรียนได้มี
ส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมต่อไป
๕. ควรจะมีการใช้สถานการณ์ที่หลากหลาย และรูปแบบแตกต่างกันออกไป เช่น บทสนทนาใน
สถานการณ์ต่างๆที่ง่ายๆ เพื่อให้นักเรียนนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
๗. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ
การเผยแพร่ เรื่อง การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้
สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ เผยแพร่ให้ครูทุกระดับชั้น ต่างกลุ่มสาระของโรงเรียน
การได้รับการยอมรับ ผ่านทาง FACEBOOK
ภาคผนวก
ตารางแสดงผลการประเมินทักษะด้านการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดยการใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
รายชื่อนักเรียน ความคล่
อ
งแคล่
ว
(Fluency)
ความเข้
า
ใจง่
า
ย
(Comprehensibility)
ปริ
ม
าณการสื
่
อ
สาร
(Amount
of
Communication)
คุ
ณ
ภาพของการสื
่
อ
สาร
(Quality
of
Communication)
ผลการประเมิ
น
การแปลผล
1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 24
เด็กชายอิศรายุทธ เอนกศักดิ์     1๒ พอใช้
เด็กชายปรมัตถ์ วิลาวรรณ์     21 ดี
เด็กชายรุจิเวธน์ แก้วเหลี่ยม     1๕ พอใช้
เด็กชายสันติภาพ แบบอย่าง     1๔ พอใช้
เด็กชายไกรสร สมสิทธิ์     1๔ พอใช้
เด็กชายเมธาวิชย์ ทองคา     1๕ พอใช้
เด็กชายไชยวัฒน์ พัตรสิงห์     18 ดี
เด็กชายสุพัฒน์ ยิ่งนอก     21 ดี
เด็กหญิงนัฐนิชา เศรษฐ์ภักดี     21 ดี
เด็กหญิงอินทรา ธุระหาย    21 ดี
เด็กหญิงไปรยา ไทยเดิม     1๖ พอใช้
เด็กหญิงดวงขวัญ เกิดแก้ว     21 ดี
เด็กหญิงณัฐธิชาประเสริฐแก้ว     1๕ พอใช้
เด็กหญิงณัฐกมล กายชาติ     21 ดี
รวม 2๔๕
ค่าเฉลี่ย ๗๒.๙๑ ดี
เกณฑ์ของระดับคะแนน
ช่วงคะแนน
การแปลผล
การพูด
(คะแนนเต็ม 24 คะแนน)
ร้อยละ 90 - 100 22 - 24 ดีมาก
ร้อยละ 70 - 89 17 - 21 ดี
ร้อยละ 50 - 69 12 - 16 พอใช้
ร้อยละ 0 - 49 0 - 11 ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษ
การประเมิน คะแนน ระดับความสามารถ
ความคล่องแคล่ว
(Fluency)
1
2
3
4
5
6
พูดไม่เป็นธรรมชาติ หยุดชะงักบ่อย ตะกุกตะกักจนไม่สามารถเข้าใจได้
พูดค่อนข้างไม่เป็นธรรมชาติ หยุดชะงักบ่อย ตะกุกตะกักจนไม่สามารถพูดต่อเนื่องได้
พูดเป็นธรรมชาติเล็กน้อย หยุดชะงัก ตะกุกตะกักเป็นบางครั้ง
พูดค่อนข้างเป็นธรรมชาติ มีความราบรื่น สามารถเข้าใจได้
พูดเป็นธรรมชาติ มีความราบรื่น สามารถเข้าใจได้ แต่ไม่ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา
พูดเป็นธรรมชาติ มีความราบรื่น สามารถเข้าใจง่าย และใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา
ความเข้าใจง่าย
(Comprehensibility)
1
2
3
4
5
6
ไม่สามารถเข้าใจในสิ่งที่พูดได้
เข้าใจเป็นบางคา ไม่สามารถประติดประต่อได้
เข้าใจเป็นบางวลี หรือกลุ่มคา
เข้าใจเป็นประโยคสั้นๆง่ายๆ
เข้าใจเกือบทั้งหมดที่ผู้พูดกล่าวถึง
เข้าใจทั้งหมดที่ผู้พูดกล่าวถึง
ปริมาณการสื่อสาร
(Amount of
Communication)
1
2
3
4
5
6
ไม่สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้
สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้น้อยมาก
สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้เป็นบางครั้ง
สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้พอประมาณ
สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้เกือบทั้งหมด
สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้ทั้งหมด
คุณภาพของการสื่อสาร
(Quality of
Communication)
1
2
3
4
5
6
สื่อสารไม่ถูกต้องตามโครงสร้างประโยค
สื่อสารตามโครงสร้างประโยคได้น้อยมาก
สื่อสารได้ถูกต้องตามโครงสร้างประโยคเป็นบางส่วน
สื่อสารได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ มีผิดบ้างเล็กน้อย
สื่อสารได้ถูกต้องตามโครงสร้างประโยคเกือบทั้งหมด
สื่อสารถูกต้องตามโครงสร้างประโยคทั้งหมด
How to make sandwich
Good morning, My name ………………………………………. I am a student in
Pratom 4 at Banhuana school. Today, I will show you how to make
sandwich. Let's get to know all our ingredients.
1. bread
2. cheese
3. ham
4. tomatoes
5. lettuce
6. mayonnaise
You can add more ingredients if you want. Ok, let’s start.
1. First, put the bread slice on the plate.
2. Then, spread mayonnaise on each slice.
3. Next, put slice of tomato, slice of ham, slice of cheese and some
lettuce on the bread
4. After that, put the second slice of bread on the top.
5. Finally, cut the bread in half and serve.
วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหัวนา ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหัวนา ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหัวนา ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหัวนา ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหัวนา ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหัวนา ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
โรงเรียนบ้านหัวนา ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์
การได้รับการยอมรับ
ผ่านทาง FACEBOOK
plate
First, put the bread slice on the plate. Then, spread
mayonnaise on each slice. Next, put slice of tomato, slice
of ham, slice of cheese and some lettuce on the bread.
After that, put the second slice of bread on the top.
Finally, cut the bread and serve.
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้
การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plankhanidthakpt
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)นางสาวอารียา แย้มภู
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง OccupationsChamchuree88
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundpantiluck
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านWanida Keawprompakdee
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals Kartinee
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 

What's hot (20)

คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
Sickness lesson plan
Sickness lesson planSickness lesson plan
Sickness lesson plan
 
daily routine
daily routine daily routine
daily routine
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
ชุดฝึกทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ เล่ม 2 การอ่านข่าว(news)
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบฝึกทักษะการสอนภาษอังกฤษอ่าน เขียน Graphs and tables
แบบฝึกทักษะการสอนภาษอังกฤษอ่าน เขียน Graphs and tablesแบบฝึกทักษะการสอนภาษอังกฤษอ่าน เขียน Graphs and tables
แบบฝึกทักษะการสอนภาษอังกฤษอ่าน เขียน Graphs and tables
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 

Similar to การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้

คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓SujittraTabmanee1
 
รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010Sopa
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหาGratae
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษGratae
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษYoo Ni
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ชุดกิจกรรมงฟื้นฟูภาษาอังกฤษ2.pdf
ชุดกิจกรรมงฟื้นฟูภาษาอังกฤษ2.pdfชุดกิจกรรมงฟื้นฟูภาษาอังกฤษ2.pdf
ชุดกิจกรรมงฟื้นฟูภาษาอังกฤษ2.pdfUthitSonkaew
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมAtima Teraksee
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2Sometime Eng
 

Similar to การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ (20)

คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
คู่มือการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สพป.ขก.เขต ๔ ปี๒๕๖๓
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ชุดกิจกรรมงฟื้นฟูภาษาอังกฤษ2.pdf
ชุดกิจกรรมงฟื้นฟูภาษาอังกฤษ2.pdfชุดกิจกรรมงฟื้นฟูภาษาอังกฤษ2.pdf
ชุดกิจกรรมงฟื้นฟูภาษาอังกฤษ2.pdf
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2Pedagogical constrains in elt in thailand 2
Pedagogical constrains in elt in thailand 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 

การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้

  • 1.
  • 2. ก คำนำ เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อนาผลงานเสนอขอรับการประกวด ผลงานที่มีวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ “Best Practice” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุรินทร์ เขต ๒ โดยผู้จัดทาได้จัดทาการส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในสถานการณ์จริง จนเกิด การเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเมื่อนักเรียนและเกิดกระบวนการการแก้ไขปัญหาด้วยตนเองได้ ซึ่งทาให้นักเรียนมี แรงจูงใจในการใฝ่เรียน ใฝ่รู้ เกิดความสนุกสนาน มีความสุขที่จะเรียน จึงเป็นแนวทางที่ส่งเสริมให้นักเรียน สามารถพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษได้ดียิ่งขึ้น ขอขอบคุณผู้บริหารโรงเรียนบ้านหัวนา คณะครูและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ที่ให้ความร่วมมือ สนับสนุนในการทางานจนประสบความสาเร็จ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้ที่สนใจได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป นางฐิติยา พาสมบูรณ์
  • 3. ข สำรบัญ หน้ำ คานา ก สารบัญ ข ชื่อผลงาน ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑ ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ ๑ จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน ๒ กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนินงาน ๓ ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ๓ ปัจจัยความสาเร็จ ๔ บทเรียนที่ได้รับ ๔ การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ ๕ ภาคผนวก ๖
  • 4. นวัตกรรมการบริหาร การจัดการเรียนการสอน ภายใต้นโยบาย 3 สร้าง ......................................................................................... ชื่อผลงำน การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็น ฐานการเรียนรู้ ข้อมูลทั่วไป 1. ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหัวนา อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ เครือข่ายโรงเรียนสนม ๒ ๒. ชื่อครูผู้สอน นางฐิติยา พาสมบูรณ์ ๓. เรื่องที่สอน How to make sandwich ๑. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่งสอดคล้องกับแนวการจัดการศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ.2542 (สานักงานคณะการศึกษาแห่งชาติ, 2542) ในหมวด 4 มาตรา 22 การ จัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า “ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด” สภาวการณ์ในปัจจุบันทั่วโลกกาลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม การเมืองเศรษฐกิจและ เทคโนโลยีที่ก้าวไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วหรือกาลังพัฒนา ส่งผลให้วิถีชีวิตของคนมี ความแตกต่างกันมากขึ้น ผู้คนจานวนมากหลากหลายเชื้อชาติย้ายข้ามประเทศ ข้ามภาษาและข้ามวัฒนธรรม มา อาศัยอยู่ร่วมกันและทางานร่วมกัน ก่อให้เกิดเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม ในด้านทางการศึกษาจึงจาเป็นต้องปรับตัว ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยต้องจัดการศึกษาให้ทันกับสถานการณ์โลกที่เต็มไปด้วยความรู้และข้อมูลที่เพิ่มขึ้น ต้องพัฒนาการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนได้มีโอกาสรับรู้ เพิ่มพูนความรู้และ ประสบการณ์ ให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดทั้งในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ และก้าวทันต่อการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 การจัดกระบวนการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้ วิชาภาษาอังกฤษจัดอยู่ในหมวดของวิชาภาษาต่างประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากปัจจุบันภาษาต่างประเทศมีความสาคัญ และจาเป็นอย่างยิ่งในชีวิตประจาวันด้วย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลในหลายๆประเทศ การ แสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ และการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม วิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม การจะพัฒนาทักษะการพูดภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ การจัดการเรียนการสอนควรมี ลักษณะที่ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้และความรอบรู้ นอกจากนี้การจัดกระบวนการสอนยังควรสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงและการเรียน ภาษาจึงควรประกอบไปด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งกิจกรรมการฝึกทักษะทางภาษา ซึ่งกิจกรรมควรฝึกให้ ควบคู่กับการเรียนรู้ที่ไปสู่การเรียนที่พึ่งตัวเองได้ (Learner–Independence) และสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) (กรมวิชาการ, 2544) อันนาไปสู่การใช้ภาษาให้ถูกต้องคล่องแคล่วเหมาะสม และใช้ได้ จริงมากที่สุด อย่างไรก็ตามในปัจจุบันปัญหานักเรียนขาดทักษะการพูดภาษาอังกฤษ รวมถึงขาดความมั่นใจในตนเอง อันเนื่องมาจากบุคลิกภาพส่วนตัว ความกลัวจะพูดเพราะสาเนียงไม่ดี ขาดความรู้เรื่องไวยากรณ์หรือการใช้คาใน บริบท รวมถึงขาดคลังคาศัพท์ที่มากพอ การจะแก้ปัญหานี้ได้ การจัดกระบวนการเรียนการสอนต้องสอดคล้อง
  • 5. กับสถานการณ์จริง ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ และผ่อนคลาย โดยกิจกรรมเหล่านี้ต้องเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้ฝึกทักษะทางภาษา เสริมสร้างความมั่นใจ และรู้วิธีการเรียนภาษาต่างประเทศ ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้ามีความสนใจในการนาเอาเทคนิคการสอนโดยใช้สถานการณ์ เป็นฐานการเรียนรู้ (Situation Based Learning) มาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งการเรียนรู้แบบสถานการณ์เป็น ฐานการเรียนรู้ เป็นการสร้างสถานการณ์ขึ้นมาให้ใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงที่ผู้เรียนอาจประสบในภายหลัง การเรียนด้วยสถานการณ์ จะช่วยให้เกิดการถ่ายโยงความรู้ ผู้เรียนจะได้คิดแก้ปัญหาจากสถานการณ์ทา ให้เกิด การเรียนรู้ อีกทั้งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการกระตือรือร้นในการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษจากสถานการณ์ที่ผู้สอน จาลองขึ้น การสอนโดยใช้สถานการณ์เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะพัฒนาทักษะการสื่อสาร ภาษาอังกฤษของนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น สถานการณ์จะทาให้เกิดการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ ในสถานการณ์ และใช้ ข้อมูลที่มีสภาพแวดล้อมคล้ายกับข้อมูลในความเป็นจริงในสถานการณ์ การตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีหลักการและ การตัดสินใจ ในสถานการณ์จะส่งผลกับผู้ร่วมกิจกรรมเหมือนในสถานการณ์จริงและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้ ทักษะทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ในลักษณะการผสมผสานกันในสถานการณ์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้พบปัญหาเด็กนักเรียนไม่สามารถพูดด้วยประโยคง่ายๆ สาเหตุที่ ผู้เรียนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ก็เพราะว่าไม่ได้ฝึกฝนให้เกิดความชานาญ ในฐานะที่เป็น ครูผู้สอนได้เล็งเห็นว่าหากไม่พัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของเด็กแล้ว อาจจะส่งผลให้นักเรียนไม่กล้าพูด ภาษาอังกฤษ ไม่มีความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ และก็ไม่สามารถพูดสื่อสารได้ในที่สุด ครูจึงได้จัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษขึ้นมา รวมทั้งนักเรียนมีความสนใจในการทาอาหารด้วย ครูและนักเรียนได้ ปรึกษาหารือกัน จึงได้จัดทาโครงงาน (How to make sandwich) ขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกพูด พูดแนะนาตัว พูดบอกส่วนประกอบของอาหาร และพูดบอกวิธีการทาอาหารตามลาดับขั้นตอน ๒. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน 1. เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ 3. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ เป้าหมาย - เป้าหมายเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหัวนา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 14 คน - เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1. นักเรียนมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้อยู่ในระดับพอใช้ขึ้นไป สามารถ พูดแนะนาตัว แนะนาส่วนประกอบและขั้นตอนวิธีการทาแซนวิชเป็นภาษาอังกฤษตามเนื้อหาที่ครู กาหนดให้ได้ 2. นักเรียนเรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างมีความสุข กล้าแสดงออก และมีเจตคติที่ดีในการเรียน ภาษาอังกฤษ
  • 6. ๓. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการดาเนินงาน 3.1 ขั้นวางแผน - ศึกษาวิธีการใช้สื่อนวัตกรรมใหม่ๆ - วิเคราะห์ข้อมูลความรู้พื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เกี่ยวกับการพูดภาษาอังกฤษ - จัดทาใบความรู้การพูดแนะนาตนเอง แนะนาส่วนประกอบและขั้นตอนการทาแซนวิชเป็น ภาษาอังกฤษ - จัดทาแบบฝึกหัดเพื่อให้นักเรียนทาเป็นมินิบุ๊ค - พัฒนาสื่อนวัตกรรม 3.2 ขั้นดาเนินงาน - ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและคาศัพท์เกี่ยวกับส่วนประกอบของแซนวิช - นักเรียนศึกษาประโยคในการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษในใบความรู้ - นักเรียนออกมาพูดหน้าชั้นพร้อมแสดงท่าทางประกอบ - นักเรียนฝึกทาแบบฝึกหัดเพื่อเช็คความรู้ความเข้าใจในใบงาน 3.3 ขั้นติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล - ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - รวบรวมสรุปผล 3.4 ขั้นพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง - นาผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข ทบทวน พัฒนารูปแบบการสอนให้ถูกต้อง สมบูรณ์ ๔. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ 4.1 ผลที่เกิดตามวัตถุประสงค์ 1) นักเรียนมีทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษ นักเรียนได้เรียนรู้การปฏิบัติการจริง ซึ่งทาให้ นักเรียนมีความสนใจและตั้งใจเรียนเพราะได้ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง 2) นักเรียนเกิดความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และมีการฝึกและพัฒนาการพูด ภาษาอังกฤษของตนเอง 3) นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการพูดในวิชาภาษาอังกฤษ เนื่องจากมีการสร้างกิจกรรมและ บรรยากาศที่ดีในห้องเป็น ทาให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อครูและเพื่อนร่วมชั้น
  • 7. 4.2 ประโยชน์ที่ได้รับ การใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีผลจากการดาเนินงานที่น่าประทับใจ คือ 1. นักเรียน 7 คน สามารถพูดอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 50, นักเรียน ๗ คน สามารถพูดอยู่ในระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ ๕๐ 2. นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น ๓. นักเรียนเกิดความสนุกสนานและมีความสุขในการเรียน ไม่รู้สึกเบื่อหรือกลัวที่จะเรียนภาษาอังกฤษ อีกต่อไป ส่งผลให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาอังกฤษ ๕. ปัจจัยความสาเร็จ 1. รูปแบบการจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง เรียนรู้คาศัพท์จากของจริง ส่งผลให้ นักเรียนมีโอกาสทาแซนวิชด้วยตัวเอง พร้อมพูดแนะนาตนเอง พูดอธิบายส่วนประกอบและขั้นตอนการทา แซนวิชจนเกิดเป็นชิ้นงานขึ้นมา 2. นักเรียนมีความตั้งใจและอยากลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง พอนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงนักเรียนได้ ชิ้นงานที่เกิดจากความสามารถของตนเอง นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง มีความมั่นใจในตนเอง สนุกสนานกับกิจกรรมที่ทา 3. ผู้อานวยการโรงเรียน คณะครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านหัวนาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้การสนับสนุน เป็นอย่างดียิ่ง 6. บทเรียนที่ได้รับ จากการใช้สถานการณ์เป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทาให้นักเรียนได้มีการฝึกการใช้ ภาษาจริง ได้ปฏิบัติจริงโดยเป็นเหตุการณ์ที่สอดคล้องกับชีวิตประจาวัน ทาให้นักเรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตของตนได้ ข้อสังเกต /ข้อเสนอแนะและข้อควรระวัง 1. นักเรียนไม่มั่นใจในการออกเสียง ครูจึงพูดให้กาลังใจนักเรียน และให้นักเรียนฝึกฝนเป็นประจา เพื่อให้นักเรียนมีความมั่นใจและพูดภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น 2. การพูดสื่อสารภาษาอังกฤษนั้น ครูผู้สอนต้องพูดช้า ๆ ชัด ๆ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฟังและพูดได้ ถูกต้อง 3. การใช้สถานการณ์เป็นฐานครูควรดูแลและให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด เพื่อให้นักเรียนมีความกล้า แสดงออกและมีความมั่นใจมากขึ้น 4. นักเรียนและครูควรแลกเปลี่ยนความคิดและช่วยกันออกแบบกิจกรรม ซึ่งเป็นการทาให้นักเรียนได้มี ส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมต่อไป ๕. ควรจะมีการใช้สถานการณ์ที่หลากหลาย และรูปแบบแตกต่างกันออกไป เช่น บทสนทนาใน สถานการณ์ต่างๆที่ง่ายๆ เพื่อให้นักเรียนนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
  • 8. ๗. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ การเผยแพร่ เรื่อง การส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ เผยแพร่ให้ครูทุกระดับชั้น ต่างกลุ่มสาระของโรงเรียน การได้รับการยอมรับ ผ่านทาง FACEBOOK
  • 10. ตารางแสดงผลการประเมินทักษะด้านการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ รายชื่อนักเรียน ความคล่ อ งแคล่ ว (Fluency) ความเข้ า ใจง่ า ย (Comprehensibility) ปริ ม าณการสื ่ อ สาร (Amount of Communication) คุ ณ ภาพของการสื ่ อ สาร (Quality of Communication) ผลการประเมิ น การแปลผล 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 24 เด็กชายอิศรายุทธ เอนกศักดิ์     1๒ พอใช้ เด็กชายปรมัตถ์ วิลาวรรณ์     21 ดี เด็กชายรุจิเวธน์ แก้วเหลี่ยม     1๕ พอใช้ เด็กชายสันติภาพ แบบอย่าง     1๔ พอใช้ เด็กชายไกรสร สมสิทธิ์     1๔ พอใช้ เด็กชายเมธาวิชย์ ทองคา     1๕ พอใช้ เด็กชายไชยวัฒน์ พัตรสิงห์     18 ดี เด็กชายสุพัฒน์ ยิ่งนอก     21 ดี เด็กหญิงนัฐนิชา เศรษฐ์ภักดี     21 ดี เด็กหญิงอินทรา ธุระหาย    21 ดี เด็กหญิงไปรยา ไทยเดิม     1๖ พอใช้ เด็กหญิงดวงขวัญ เกิดแก้ว     21 ดี เด็กหญิงณัฐธิชาประเสริฐแก้ว     1๕ พอใช้ เด็กหญิงณัฐกมล กายชาติ     21 ดี รวม 2๔๕ ค่าเฉลี่ย ๗๒.๙๑ ดี
  • 11. เกณฑ์ของระดับคะแนน ช่วงคะแนน การแปลผล การพูด (คะแนนเต็ม 24 คะแนน) ร้อยละ 90 - 100 22 - 24 ดีมาก ร้อยละ 70 - 89 17 - 21 ดี ร้อยละ 50 - 69 12 - 16 พอใช้ ร้อยละ 0 - 49 0 - 11 ปรับปรุง
  • 12. เกณฑ์การประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษ การประเมิน คะแนน ระดับความสามารถ ความคล่องแคล่ว (Fluency) 1 2 3 4 5 6 พูดไม่เป็นธรรมชาติ หยุดชะงักบ่อย ตะกุกตะกักจนไม่สามารถเข้าใจได้ พูดค่อนข้างไม่เป็นธรรมชาติ หยุดชะงักบ่อย ตะกุกตะกักจนไม่สามารถพูดต่อเนื่องได้ พูดเป็นธรรมชาติเล็กน้อย หยุดชะงัก ตะกุกตะกักเป็นบางครั้ง พูดค่อนข้างเป็นธรรมชาติ มีความราบรื่น สามารถเข้าใจได้ พูดเป็นธรรมชาติ มีความราบรื่น สามารถเข้าใจได้ แต่ไม่ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา พูดเป็นธรรมชาติ มีความราบรื่น สามารถเข้าใจง่าย และใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา ความเข้าใจง่าย (Comprehensibility) 1 2 3 4 5 6 ไม่สามารถเข้าใจในสิ่งที่พูดได้ เข้าใจเป็นบางคา ไม่สามารถประติดประต่อได้ เข้าใจเป็นบางวลี หรือกลุ่มคา เข้าใจเป็นประโยคสั้นๆง่ายๆ เข้าใจเกือบทั้งหมดที่ผู้พูดกล่าวถึง เข้าใจทั้งหมดที่ผู้พูดกล่าวถึง ปริมาณการสื่อสาร (Amount of Communication) 1 2 3 4 5 6 ไม่สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้ สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้น้อยมาก สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้เป็นบางครั้ง สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้พอประมาณ สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้เกือบทั้งหมด สามารถสื่อสารเนื้อหาที่เกี่ยวข้องได้ทั้งหมด คุณภาพของการสื่อสาร (Quality of Communication) 1 2 3 4 5 6 สื่อสารไม่ถูกต้องตามโครงสร้างประโยค สื่อสารตามโครงสร้างประโยคได้น้อยมาก สื่อสารได้ถูกต้องตามโครงสร้างประโยคเป็นบางส่วน สื่อสารได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ มีผิดบ้างเล็กน้อย สื่อสารได้ถูกต้องตามโครงสร้างประโยคเกือบทั้งหมด สื่อสารถูกต้องตามโครงสร้างประโยคทั้งหมด
  • 13. How to make sandwich Good morning, My name ………………………………………. I am a student in Pratom 4 at Banhuana school. Today, I will show you how to make sandwich. Let's get to know all our ingredients. 1. bread 2. cheese 3. ham 4. tomatoes 5. lettuce 6. mayonnaise You can add more ingredients if you want. Ok, let’s start. 1. First, put the bread slice on the plate. 2. Then, spread mayonnaise on each slice. 3. Next, put slice of tomato, slice of ham, slice of cheese and some lettuce on the bread 4. After that, put the second slice of bread on the top. 5. Finally, cut the bread in half and serve.
  • 22.
  • 23. plate
  • 24. First, put the bread slice on the plate. Then, spread mayonnaise on each slice. Next, put slice of tomato, slice of ham, slice of cheese and some lettuce on the bread. After that, put the second slice of bread on the top. Finally, cut the bread and serve.