SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
แผนการเรียนรู้ที่ ๑<br />หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕            รายวิชา  คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒                       มาตรฐานการเรียนรู้ ค ๓.๒ ม.๒/๑เรื่อง ความเท่ากันทุกประการ           จำนวน ๑ ชั่วโมง๑.สาระสำคัญ<br />รูปสองรูปที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากัน และทับกันสนิทพอดี จะมีความเท่ากันทุกประการ เราใช้สัญลักษณ์  แทนคำว่า quot;
เท่ากันทุกประการquot;
<br />๒.จุดประสงค์การเรียนรู้<br /> ด้านความรู้๑)  เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างของรูปโดยการสังเกตความเท่ากันทุกประการได้๒)  เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างของรูปจากการตรวจสอบความเท่ากันทุกประการได้ด้านทักษะ/กระบวนการ๑)  การแก้ปัญหา๒)  การให้เหตุผล๓)  การเชื่อมโยงด้านคุณลักษณะ๑)  มีความรอบคอบ๒)  มีวิจารณญาณ๓)  มีความเชื่อมั่นในตนเอง๔)  ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน๓.สาระการเรียนรู้ที่ ๑  การเท่ากันทุกประการ (กระบวนการเรียนรู้โดยใช้เกมส์)<br />         ๑)  ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนอาสาสมัครออกมารับรูปเรขาคณิตสองมิติ<br />ที่ครูตัดเตรียมมาให้ตามจำนวนนักเรียนในห้อง (ซึ่งรูปเหล่านี้จะมีรูปที่เหมือนกันเป็นคู่ๆ คละสลับกันอยู่) แล้วนำไปแจกเพื่อนทุกคน คนละ ๑ รูป๒)  ครูชี้แจงว่าจะให้นักเรียนทำกิจกรรม โดยมีกติกาว่าให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่มีภาพเหมือนกันและเท่ากันให้ได้เร็วที่สุด  ใครได้คู่แล้วให้นั่งลงแล้วช่วยกันหาเหตุผลว่าทราบได้อย่างไรว่ารูปของนักเรียนและคู่ของนักเรียนเท่ากัน๓)  ครูให้นักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายตามข้อ ๒) ซึ่งคำตอบที่คาดหวังจากนักเรียนคือ ใช้<br />วิธีนำรูปสองรูปมาทาบกันแล้วทับกันได้สนิทพอดี๔)  ครูเสริมความรู้ให้กับนักเรียนว่ารูปสองรูปที่ทับกันสนิทพอดีเรียกว่า รูปทั้งสองมีความเท่ากันทุกประการ ใช้สัญลักษณ์นี้  ครูเขียนสัญลักษณ์บนกระดานดำ๕)  ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปความหมายของการเท่ากันทุกประการเป็นบทนิยาม ได้ดังนี้ quot;
รูปสองรูปเท่ากันทุกประการ เมื่อสามารถนำรูปหนึ่งทับอีกรูปหนึ่งได้สนิทพอดีquot;
<br />191452516510๖)  ครูติดแผ่นภาพดังรูป                     บนกระดานดำ แล้วแจกรูปก้อนเมฆลักษณะเดียวกันแต่ขนาดต่างกันซึ่งตัดเป็นรูปร่างแล้ว ให้กับนักเรียน ๓ คน นำไปทับหรือทับกับรูปที่ติดไว้ (มีเพียงรูปเดียวที่ทับกันได้สนิทพอดี) ให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาเขียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความเท่ากันทุกประการ แล้วให้นักเรียนทั้งห้องช่วยกันอภิปรายว่าควรใช้สัญลักษณ์แบบใดแสดงความ  “ไม่เท่ากันทุกประการ”  จนได้ข้อตกลงเหมือนกันว่าควรเป็น สัญลักษณ์  ๗)  ครูให้นักเรียนเล่นเกมความเท่ากันทุกประการ โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ กลุ่มละ ๑๐ คน ถ้ากลุ่มสุดท้ายเหลือเศษนักเรียนไม่ครบสิบคน ให้ครูแต่งตั้งนักเรียนเหล่านั้นเป็นกรรมการนักเรียน (วิธีเล่นดูรายละเอียดจากใบกิจกรรมที่ ๑) กลุ่มใดได้คะแนนมากที่สุดชนะ๘)  ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความเท่ากันทุกประการ<br />๔.สื่อการเรียนรู้<br />๔.๑  สื่อการเรียนรู้๑)  รูปเรขาคณิตสองมิติ๒)  รูปภาพก้อนเมฆขนาดต่างๆ๓)  ใบกิจกรรม๕.การวัดและประเมินผล<br />๑.วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้๑.๑)จากการทำใบงานหรือใบกิจกรรม๑.๒)สังเกตพฤติกรรมในการเรียนการ๑.๓)การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม๒.เครื่องมือการวัดและประเมินผล๑.๑)แบบประเมินการเสนอผลงาน<br />๑.๒)แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการ๑.๓)แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล๑.๑)เกณฑ์การประเมินจากแบบประเมินการแสดงผลงาน๕=ดีมาก๔=ดี๒=พอใช้๓=ผ่าน   ๑=ปรับปรุง   ๐=ไม่ผ่าน๑.๒)เกณฑ์การประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม<br />๑=ปรับปรุง๒=ปานกลาง๓=ดี<br /> ๑.๓)  เกณฑ์การประเมินจากแบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียน<br />๕=ดีมาก๔=ดี๒=พอใช้๓=ผ่าน<br />   ๑=ปรับปรุง             ๐=ไม่ผ่าน <br />แบบประเมินการแสดงผลงาน<br />เลขที่กลุ่มที่ความถูกต้องความรวดเร็วการนำเสนอความร่วมมือรวม(ชื่อกลุ่ม)๕๕๕๕๒๐<br />ลงชื่อ .......................................................... ผู้ประเมิน<br />แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการ<br />เลขที่ชื่อ – สกุลของความเข้าใจความตั้งใจความร่วมมือมารยาทรวมผู้รับการประเมิน๕๕๕๕๒๐<br />         ลงชื่อ .................................................................. ผู้ประเมิน<br />1143000-274320แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม<br />กลุ่มที่ ......................... ชั้น .................................สมาชิกภายในกลุ่ม๑. ..............................................................       ๒. ..............................................................      ๓. ..............................................................                                 ๔. ..............................................................คำชี้แจง  ให้ทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง<br />ที่รายการพฤติกรรมคุณภาพการปฏิบัติดีปานกลางปรับปรุง๑การมีสวนร่วมในการวางแผน๒การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่๓การให้ความร่วมมือในการทำงาน๔การแสดงความคิดเห็น๕การยอมรับความคิดเห็น๖การเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ๗ความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย<br />ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน         .............. / ............... / .................<br />ใบกิจกรรมเกมความเท่ากันทุกประการ<br />คำชี้แจงให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้1.  จัดกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน2.  นักเรียนที่เหลือซึ่งยังไม่มีกลุ่ม ให้ทำหน้าที่เป็นกรรมการนักเรียน3.  ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาสุ่มหยิบรูปเรขาคณิตสองมิติ 10 ชิ้น แล้วนำไปแจกสมาชิกในกลุ่มให้ครบทุกคน บันทึกรูปที่ได้ลงในแบบฟอร์มด้านล่าง4.  กรรมการนักเรียนติดรูปเรขาคณิตสองมิติคราวละ 1 รูปบนกระดานดำ5.  กลุ่มใดที่มีรูปเรขาคณิตสองมิติเหมือนบนกระดานดำ ให้ส่งตัวแทนกลุ่มนำรูปมาทาบกับรูปบนกระดานดำทีละกลุ่ม6.  กรรมการนักเรียนดูว่ารูปของกลุ่มใดทับหรือทับกับรูปบนกระดานดำได้สนิทพอดี กลุ่มนั้นจะได้คะแนน 1 คะแนน ให้แต่ละกลุ่มบันทึกคะแนนลงในแบบฟอร์ม7.  ดำเนินการข้อ  4.  -  6.  จนครบ 10 รูป แล้วรวมคะแนนกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ....................................................<br />ลำดับที่ชื่อ- สกุลรูปเรขาคณิตสองมิติคะแนน12345678910รวมคะแนน<br />

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8dump0507
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2พัน พัน
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)ssuser2812ac
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccskrurutsamee
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีพัน พัน
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1Pa'rig Prig
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)Aon Narinchoti
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาNU
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์Jirathorn Buenglee
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียงkrurutsamee
 

What's hot (17)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
Ppt6.3
Ppt6.3Ppt6.3
Ppt6.3
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
 
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนการศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
การศึกษาเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
 
1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง1. เศรษฐกิจพอเพียง
1. เศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to แผนการเรียนรู้ที่ ๑

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555peter dontoom
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1dump0507
 

Similar to แผนการเรียนรู้ที่ ๑ (20)

Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1แผนการจัดการเรียนรู้ที1
แผนการจัดการเรียนรู้ที1
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

แผนการเรียนรู้ที่ ๑

  • 1. แผนการเรียนรู้ที่ ๑<br />หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ รายวิชา คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ มาตรฐานการเรียนรู้ ค ๓.๒ ม.๒/๑เรื่อง ความเท่ากันทุกประการ จำนวน ๑ ชั่วโมง๑.สาระสำคัญ<br />รูปสองรูปที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากัน และทับกันสนิทพอดี จะมีความเท่ากันทุกประการ เราใช้สัญลักษณ์ แทนคำว่า quot; เท่ากันทุกประการquot; <br />๒.จุดประสงค์การเรียนรู้<br /> ด้านความรู้๑) เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างของรูปโดยการสังเกตความเท่ากันทุกประการได้๒) เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างของรูปจากการตรวจสอบความเท่ากันทุกประการได้ด้านทักษะ/กระบวนการ๑) การแก้ปัญหา๒) การให้เหตุผล๓) การเชื่อมโยงด้านคุณลักษณะ๑) มีความรอบคอบ๒) มีวิจารณญาณ๓) มีความเชื่อมั่นในตนเอง๔) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน๓.สาระการเรียนรู้ที่ ๑ การเท่ากันทุกประการ (กระบวนการเรียนรู้โดยใช้เกมส์)<br /> ๑) ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนอาสาสมัครออกมารับรูปเรขาคณิตสองมิติ<br />ที่ครูตัดเตรียมมาให้ตามจำนวนนักเรียนในห้อง (ซึ่งรูปเหล่านี้จะมีรูปที่เหมือนกันเป็นคู่ๆ คละสลับกันอยู่) แล้วนำไปแจกเพื่อนทุกคน คนละ ๑ รูป๒) ครูชี้แจงว่าจะให้นักเรียนทำกิจกรรม โดยมีกติกาว่าให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่มีภาพเหมือนกันและเท่ากันให้ได้เร็วที่สุด ใครได้คู่แล้วให้นั่งลงแล้วช่วยกันหาเหตุผลว่าทราบได้อย่างไรว่ารูปของนักเรียนและคู่ของนักเรียนเท่ากัน๓) ครูให้นักเรียนทุกคนร่วมกันอภิปรายตามข้อ ๒) ซึ่งคำตอบที่คาดหวังจากนักเรียนคือ ใช้<br />วิธีนำรูปสองรูปมาทาบกันแล้วทับกันได้สนิทพอดี๔) ครูเสริมความรู้ให้กับนักเรียนว่ารูปสองรูปที่ทับกันสนิทพอดีเรียกว่า รูปทั้งสองมีความเท่ากันทุกประการ ใช้สัญลักษณ์นี้ ครูเขียนสัญลักษณ์บนกระดานดำ๕) ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปความหมายของการเท่ากันทุกประการเป็นบทนิยาม ได้ดังนี้ quot; รูปสองรูปเท่ากันทุกประการ เมื่อสามารถนำรูปหนึ่งทับอีกรูปหนึ่งได้สนิทพอดีquot; <br />191452516510๖) ครูติดแผ่นภาพดังรูป บนกระดานดำ แล้วแจกรูปก้อนเมฆลักษณะเดียวกันแต่ขนาดต่างกันซึ่งตัดเป็นรูปร่างแล้ว ให้กับนักเรียน ๓ คน นำไปทับหรือทับกับรูปที่ติดไว้ (มีเพียงรูปเดียวที่ทับกันได้สนิทพอดี) ให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาเขียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนความเท่ากันทุกประการ แล้วให้นักเรียนทั้งห้องช่วยกันอภิปรายว่าควรใช้สัญลักษณ์แบบใดแสดงความ “ไม่เท่ากันทุกประการ” จนได้ข้อตกลงเหมือนกันว่าควรเป็น สัญลักษณ์ ๗) ครูให้นักเรียนเล่นเกมความเท่ากันทุกประการ โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ กลุ่มละ ๑๐ คน ถ้ากลุ่มสุดท้ายเหลือเศษนักเรียนไม่ครบสิบคน ให้ครูแต่งตั้งนักเรียนเหล่านั้นเป็นกรรมการนักเรียน (วิธีเล่นดูรายละเอียดจากใบกิจกรรมที่ ๑) กลุ่มใดได้คะแนนมากที่สุดชนะ๘) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความเท่ากันทุกประการ<br />๔.สื่อการเรียนรู้<br />๔.๑ สื่อการเรียนรู้๑) รูปเรขาคณิตสองมิติ๒) รูปภาพก้อนเมฆขนาดต่างๆ๓) ใบกิจกรรม๕.การวัดและประเมินผล<br />๑.วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้๑.๑)จากการทำใบงานหรือใบกิจกรรม๑.๒)สังเกตพฤติกรรมในการเรียนการ๑.๓)การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม๒.เครื่องมือการวัดและประเมินผล๑.๑)แบบประเมินการเสนอผลงาน<br />๑.๒)แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการ๑.๓)แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล๑.๑)เกณฑ์การประเมินจากแบบประเมินการแสดงผลงาน๕=ดีมาก๔=ดี๒=พอใช้๓=ผ่าน ๑=ปรับปรุง ๐=ไม่ผ่าน๑.๒)เกณฑ์การประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม<br />๑=ปรับปรุง๒=ปานกลาง๓=ดี<br /> ๑.๓) เกณฑ์การประเมินจากแบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียน<br />๕=ดีมาก๔=ดี๒=พอใช้๓=ผ่าน<br /> ๑=ปรับปรุง ๐=ไม่ผ่าน <br />แบบประเมินการแสดงผลงาน<br />เลขที่กลุ่มที่ความถูกต้องความรวดเร็วการนำเสนอความร่วมมือรวม(ชื่อกลุ่ม)๕๕๕๕๒๐<br />ลงชื่อ .......................................................... ผู้ประเมิน<br />แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการ<br />เลขที่ชื่อ – สกุลของความเข้าใจความตั้งใจความร่วมมือมารยาทรวมผู้รับการประเมิน๕๕๕๕๒๐<br /> ลงชื่อ .................................................................. ผู้ประเมิน<br />1143000-274320แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม<br />กลุ่มที่ ......................... ชั้น .................................สมาชิกภายในกลุ่ม๑. .............................................................. ๒. .............................................................. ๓. .............................................................. ๔. ..............................................................คำชี้แจง ให้ทำเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง<br />ที่รายการพฤติกรรมคุณภาพการปฏิบัติดีปานกลางปรับปรุง๑การมีสวนร่วมในการวางแผน๒การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่๓การให้ความร่วมมือในการทำงาน๔การแสดงความคิดเห็น๕การยอมรับความคิดเห็น๖การเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ๗ความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย<br />ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมิน .............. / ............... / .................<br />ใบกิจกรรมเกมความเท่ากันทุกประการ<br />คำชี้แจงให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้1. จัดกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน2. นักเรียนที่เหลือซึ่งยังไม่มีกลุ่ม ให้ทำหน้าที่เป็นกรรมการนักเรียน3. ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาสุ่มหยิบรูปเรขาคณิตสองมิติ 10 ชิ้น แล้วนำไปแจกสมาชิกในกลุ่มให้ครบทุกคน บันทึกรูปที่ได้ลงในแบบฟอร์มด้านล่าง4. กรรมการนักเรียนติดรูปเรขาคณิตสองมิติคราวละ 1 รูปบนกระดานดำ5. กลุ่มใดที่มีรูปเรขาคณิตสองมิติเหมือนบนกระดานดำ ให้ส่งตัวแทนกลุ่มนำรูปมาทาบกับรูปบนกระดานดำทีละกลุ่ม6. กรรมการนักเรียนดูว่ารูปของกลุ่มใดทับหรือทับกับรูปบนกระดานดำได้สนิทพอดี กลุ่มนั้นจะได้คะแนน 1 คะแนน ให้แต่ละกลุ่มบันทึกคะแนนลงในแบบฟอร์ม7. ดำเนินการข้อ 4. - 6. จนครบ 10 รูป แล้วรวมคะแนนกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ....................................................<br />ลำดับที่ชื่อ- สกุลรูปเรขาคณิตสองมิติคะแนน12345678910รวมคะแนน<br />