SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู๎ที่ 2
รหัสวิชา ศ 23101 รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง การใช๎ความคิดสร๎างสรรค์อยํางพอเพียง จานวน 2 ชั่วโมง ครูผู๎สอน อารมณ์ อินทรประเสริฐ
1. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ 1.1 สร๎างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร๎างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์
คุณคํางานทัศนศิลป์ ถํายทอดความรู๎สึก ความคิดตํองานศิลปะ อยํางอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน
2. สาระสาคัญ
2.1 ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล๎อมและงานทัศนศิลป์ การสร๎างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล การ
สร๎างงานทัศนศิลป์รูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ์และจินตนาการสะท๎อนคุณคําทางวัฒนธรรม
1. บรรยายสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลปที่เลือกมาโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู๎
1. บอกความหมายและประโยชน์ของความคิดสร๎างสรรค์ได๎
2. จาแนกลักษณะของความคิดสร๎างสรรค์ได๎
3. รู๎จักวัสดุเหลือใช๎
4. ประดิษฐ์ของเหลือใช๎ประดิษฐ์กระปุกออมสิน
5. บอกหน๎าที่รู๎จักดารงตนอยูํโดยใช๎หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จ
พระเจ๎าอยูํหัว รู๎จักอดออมไว๎ใช๎เมื่อยามจาเป็น มีไว๎พอกินพอใช๎
3. สาระการเรียนรู้
3.1 ความหมายและประโยชน์ของความคิดสร๎างสรรค์
3.2 จาแนกลักษณะของความคิดสร๎างสรรค์
3.3 ทักษะการทางานรํวมกัน
3.4 ประดิษฐ์ของเหลือใช๎กระปุกออมสิน
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด ใช๎ความคิดสร๎างสรรต์ในกระประดิษฐ์วัสดุเหลือใช๎
4.3 ความสามารถในการแก๎ปัญหา เลือกวัสดุของเหลือใช๎มาสร๎างสรรค์
4.4 ความสามารถในการใช๎ทักษะในการใช๎ชีวิต วัสดุที่เลือกใช๎สามารถนามาใช๎ในชีวิตประจาวันได๎
4.5 ความสามารถในการใช๎เทคโนโลยี ในการสืบค๎นเลือกวัสดุเหลือใช๎มาประดิษฐ์ให๎เกิดประโยชน์
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู๎
5. อยูํอยํางพอเพียง
6. มุํงมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
6. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความมีเหตุผล
ความมีเหตุผลหมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต๎องเป็นไป
อยํางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข๎อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวํา
จะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อยํางรอบคอบ
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. ให๎นักเรียนดูรูปภาพกระปุกออมสินเป็นงานประดิษฐ์ที่ได๎รับความนิยมในการประดิษฐ์มาก เพราะสามารถปลูกฝัง
ความประหยัดอดออมให๎กับเด็กๆได๎ และรูปแบบของกระปุกก็มักจะเป็นรูปหมู ในวันนี้ผมจึงนาวิธีการทากระปุกรูปหมู
แบบงํายๆ ให๎ทุกคนสามารถทากันได๎
2. แบํงนักเรียนออกเป็นกลุํม ๆ ละ 4-6 คน โดยคละกันตามความสามารถ
3. ให๎นักเรียนศึกษาเนื้อหาสาระจากอินเทอร์เนตในการประดิษฐ์กระปุกออมสินจากว๎สดุเหลือใช๎
4. ให๎ตัวแทนแตํละกลุํมรับใบงานที่ 1 เรื่องการประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎
ใช๎ความคิดสร๎างสรรค์และการทางานรํวมกันเป็นกลุํม และรํวมกันทากิจกรรม โดยครูคอย
ให๎คาแนะนาเพิ่มเติมและสังเกตพฤติกรรม
5. ให๎แตํละกลุํมสํงตัวแทนรายงานหน๎าชั้นเรียนโดยให๎สรุปใจความสาคัญลงในโปรแกรม PowerPoint
ตามที่ครูกาหนดให๎ดังนี้
กลุํมที่ 1 รายงานเรื่องความหมายของความคิดสร๎างสรรค์
กลุํมที่ 2 การจาแนกลักษณะของวัสดุเหลือใช๎
กลุํมที่ 3 องค์ประกอบของความคิดสร๎างสรรค์ประเภทงานประดิษฐ์กระปุกออมสิน
กลุํมที่ 4 ประโยชน์ของความคิดสร๎างสรรค์
กลุํมที่ 5 อุปสรรค์ของการฝึกความคิดสร๎างสรรค์
6. ครูและนักเรียนรํวมกันอภิปรายตามใบงานที่ 1 ดังนี้
6.1 ความคิดสร๎างสรรค์หมายถึงอะไร
แนวคาตอบ กระบวนการคิดของสมองที่คิดสร๎างสรรค์สิ่งใหมํ ๆที่แตกตํางไปจากเดิมและสามารถใช๎ประโยชน์ได๎อยําง
เหมาะสมเพราะสมองของมนุษย์เรามีความสามารถในการคิด
ได๎หลากหลายและแปลกใหมํและคิดรูปแบบใหมํขึ้นมาเลือกวํา คิดนอกกรอบ
6.2 การจาแนกวัสดุเหลือใช๎
แนวคาตอบ วัสดุเหลือใช๎แบํงตามประเภท ได๎ดังนี้
1.วัสดุจากธรรมชาติ เชํน เศษไม๎ เปลือกข๎าวโพด เปลือกถั่วลิสง เปลือกไขํ ขนสัตว์ เกล็ดปลา เป็น
ต๎น
2.พลาสติก เชํน ขวดน้าอัดลม ขวดน้าเปลํา กระป๋องแป้ง เส๎นพลาสติกรัดของ ถุงหํอขนม ถุง
นม ขวดน้ายาล๎างจาน เป็นต๎น
3.แก๎ว เชํน ขวดแก๎วเครื่องดื่มบารุงสุขภาพ เครื่องดื่มชูกาลัง ขวดน้าปลา เป็นต๎น
4.โลหะ เชํน เศษเหล็ก เส๎นลวด น็อต ตะปู สังกะสี กระป๋องนม เป็นต๎น
5.กระดาษ เชํน กระดาษหนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร กลํองกระดาษ ปฏิทิน เป็นต๎น
6.ผ๎าหรือเศษด๎าย เชํน เศษผ๎าไหม เศษผ๎ายืด เศษผ๎าฝ้าย เป็นต๎น
7.2ประเภทอื่นๆ เชํน โฟม กระดุม เศษกระเบื้อง ขี้เลื่อย เป็นต๎น
7.3 องค์ประกอบของความคิดสร๎างสรรค์ได๎แกํอะไรบ๎างและมีขั้นตอนในการคิดอยํางไร
แนวคาตอบ ความคิดสร๎างสรรค์จะเกิดขึ้นได๎ต๎องอาศัยองค์ประกอบ 3 อยํางคือความคิดนั้นต๎องเป็นสิ่งใหมํ เป็น
ความคิดไมํเหมือนใคร นาไปใช๎ได๎หรือมีประโยชน์ มีความเหมาะสมกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่กาลังคิดกาลัง
แก๎ปัญหา
ขั้นตอนในการคิดมี 4 ขั้นตอนคือ ขั้นเตรียมการคือการรวบรวมข๎อมูล ขั้นครุํนคิด
แตํยังคิดไมํออก ขั้นของการเกิดความคิด ขั้นพิสูจน์ เป็นระยะของการตรวจสอบประเมินผล
7.4 การประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎
แนวคาตอบ อุปกรณ์ในการทามีดังนี้
1. ขวดน้าเหลือใช๎ 5 ขวด(ขนาดตามต๎องการ)
2. กระดาษเหลือใช๎
3. กาวลาเท็กซ์
4. สีโปสเตอร์และพูํกัน
5. คัดเตอร์
7.5 ข๎อใดคือ อุปสรรคของการฝึกความคิดสร๎างสรรค์
แนวคาตอบ แบํงออกเป็น 2 ประเภท คืออุปสรรคภายนอก ข๎อจากัดอันเกิด
จาก ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและกฏเกณฑ์ของสังคม
อุปสรรคภายใน คือ อุปนิสัย ทําที และเจตคติของตัวเองได๎แกํความกลัวที่จะถูกกตาหนิและหาวําแปลกหรือชินกับ
ความคิดเดิมหรือมีมุมมองแคบมองทุกอยํางเพียงมิติเดียว
7.6 หลักเศรษฐกิจพอเพียง
แนวคาตอบ ทักษะการทางาน รู๎จักดารงตนอยูํโดยใช๎หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว รู๎จักอดออมไว๎ใช๎เมื่อยามจาเป็น มีไว๎พอกินพอใช๎
8. ให๎นักเรียนประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎
9. ครูและนักเรียนรํวมกันสรุปในการประดิษฐ์กระปุกออมสิน
10. ทดสอบหลังเรียน (แบบทดสอบหลังเรียนในเว็บไซต์ www.peterfineart.com)
สื่อการเรียนการสอน
1. ใบงานที่ 1 เรื่องความคิดสร๎างสรรค์การประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎
2. คอมพิวเตอร์
การวัดผลประเมินผล
1. สิ่งที่จะวัด
1.1 ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู๎
1.2 พฤติกรรมการปฏิบัติ
1.3 การทากิจกรรม
2. วิธีการวัด
2.1 ทาแบบทดสอบ
2.2 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ
2.3 ตรวจผลการทากิจกรรม(ผลงาน)
3. เครื่องมือวัด
3.1 แบบทดสอบ
3.2 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
3.3 แบบบันทึกการทากิจกรรม(แบบบันทึกการตรวจผลงาน)
4. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
4.1 เกณฑ์การวัด
4.1.1 ให๎คะแนนแบบทดสอบ ข๎อถูกให๎ 1 คะแนน ข๎อผิดให๎ 0 คะแนน
4.1.2 ให๎คะแนนพฤติกรรมดังนี้
ดีมาก ให๎ 9-10 คะแนน
ดี ให๎ 7-8 คะแนน
พอใช๎ ให๎ 5-6 คะแนน
ควรปรับปรุงให๎ 1-4 คะแนน
4.1.3 ให๎คะแนนการทากิจกรรมหรือคะแนนปฏิบัติผลงาน ดังนี้ ข๎อถูกให๎ 1 คะแนน
ข๎อผิดให๎ 0 คะแนน สาหรับผลงาน ผลงานเสร็จสมบูรณ์เรียบร๎อยทันเวลาที่กาหนด
ให๎ 5 คะแนน ทาผลงานเสร็จเรียบร๎อยสมบูรณ์ทันเวลาแตํยังไมํประณีตความสวยงามระดับปานกลาง-ดี ให๎
คะแนน 4 คะแนน ทาเสร็จสมบูรณ์ทันเวลาแตํไมํสวยงามให๎ 3 คะแนน
4.2 เกณฑ์การประเมินผล
4.2.1 นักเรียนได๎คะแนนทดสอบไมํน๎อยกวําร๎อยละ 50
4.2.2 นักเรียนได๎คะแนนพฤติกรรมรวมไมํน๎อยกวําร๎อยละ 70
4.2.3 นักเรียนได๎คะแนนกิจกรรมหรือผลงานรวมไมํน๎อยกวําร๎อยละ 70
ข๎อเสนอแนะของหัวหน๎าสถานศึกษาฝ่ายบริหาร
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ
(นายนิวัตร วงศ์วิลัย)
ผู๎อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
บันทึกผลหลังสอน
1. ผลการสอน
2. ปัญหาและอุปสรรค
3. ข๎อเสนอแนะเพิ่มเติม
ลงชื่อ……………………………................................
(นายอารมย์ อินทรประเสริฐ)
ครูผู๎สอน
ภาคผนวกท้ายแผนการจัดการเรียนรู้
ประกอบด้วยใบความรู้แบบฝึกทักษะ/ใบงาน/ใบกิจกรรมฯลฯ
ตารางวิเคราะห์แผนจัดการเรียนรู้ตามหลัดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑.ผู้สอนนาหลักฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้
ประเด็นหลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวเอง
เนื้อหา การใช้ความคิดสร้างสรรค์ วัสดุเหลือใช้บางประเภทมี
ประโชน์
นักเรียนแก้ปัญหาการใช้
วัสดุ
เวลา 2 ชั่วโมง ทาตามเวลาที่กาหนด ซื่อสัตย์ต่อตัวเอง
กิจกรรมการเรียนรู้ ทางานเป็นทีม แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ คิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็น
สื่ออุปกรณ์/แหล่งการ
เรียนรู้
สิ่งพิมพ์ อินเทอร์เนต เลือกใช้วัสดุอย่างมีเหตุผล แก้ปัญหาได้
การประเมินผล ยอมรับการตัดสิน แยกแยะปัญหาการทางาน กลับไปแก้ไขผลงาน
ความรู้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เลือกใช้ในการทางาน รวดเร็วตอบสนองการใช้
งาน
ความรู้ที่ครูต้องมี ความคิดสร้างสรรค์ ทฤษฏีและปฏิบีติ สื่อต่างๆ
คุณธรรมของครู
๒. ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
หลักพอเพียง
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวเอง
เข้าใจแก้ปัญหาเป็น ทาแล้วเกิดประโยชน์อะไร 3ห่วง2เงื่อนไข
ความรู้ที่ต้องมีก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ปฏิบัติงานแล้วนาไปใช้ได้
เกิดประโยชน์
สามารถปรับประยุกต์งาน
ต่อไป
คุณธรรมของผู้เรียน ซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา มีวินัยการทางาน มีศิลธรรมในตัวเอง
๓. ผู้เรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ ดังนี้
ด้านองค์ประกอบ
สมดุลและพร้อมรับเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้ สิ่งของที่เหลือใช้ มิตรภาพกับเพื่อน ค้นคว้าหาวัสดุที่มา
ทดแทน
รักษาความเป็นไทย
ทักษะ คิดความสร้างสรรค์ การปฏิบัติ ฝีมือการ
ประดิษฐ์
ไม่ทาลายรักษา
สมดุลย์ธรรมชาติ
รักษ์ความเป็นไทย
ค่านิยม เลือกใช้วัสดุ คิดสร้างสรรค์อย่าง
ไทย
ไม่ทาลาย
สิ่งแวดล้อม
รักษาความเป็นไทย
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน เรื่องความคิดสร๎างสรรค์การประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎
คาชี้แจง ให๎นักเรียนเขียนเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน๎าคาตอบที่ถูกต๎อง
๑. ความคิดสร๎างสรรค์มีลักษณะตรงกับข๎อใด
ก. คิดถํายโอนไปให๎ผู๎อื่นไมํได๎ ข. คิดสามารถเก็บสะสมไว๎ได๎
ค.กระบวนการคิดของสมองที่คิดสร๎างสรรค์สิ่งใหมํ ๆที่แตกตํางไปจากเดิม ง. คิดมีความสวยงาม
๒. ความคิดนอกกรอบคือ
ก. คิดอย่างตรงๆ ข. คิดอย่างมีระบบ
ค. คิดอะไรก็ได้ ง. การคิดอย่างแตกต่าง อย่างไม่เป็นไปตามแบบแผน
๓. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีกี่หํวง
ก. 5 หํวง 3 เงื่อนไข ข. 3 หํวง 2 เงื่อนไข
ค. 2 หํวง 3 เงื่อนไข ง. ผิดทุกข๎อ
๔. คุณธรรมคืออะไรที่ถูกต๎อง
ก. ราคาความมีได๎ มีเสีย ข. อดทน มีสติ ปัญญา แบํงปัน
ค. รูปแบบความคิดดี ง. ความคุ๎มคําและประโยชน์ในการกระทา
๕. วัสดุเหลือใช๎ได๎แกํ
ก. โทรศัพท์ ข. ขวด กระป๋อง แก๎ว
ค. พัดลม ง. กระเป๋า
๖. ข๎อใดคือ เงื่อนไขความรู้
ก. รู๎รอบด๎าน ความรอบคอบที่จะนาความรู๎เหลํานั้นมาพิจารณาให๎เชื่อมโยงกัน ข. ได๎รับการชักจูงในการเลือกข๎าง
ค. ได๎รับความรู๎ที่กวําความเป็นจริง
ง. ได๎ทราบข๎อมูลตามความเป็นจริง
๗. การมีภูมิคุ๎มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง
ก. สิทธิที่จะได๎รับขําวสาร ข. สิทธิที่จะได๎รับความปลอดภัย
ค. สิทธิที่จะมีผูกพันธ์กับตัวเอง
ง. การเตรียมตัวให๎พร๎อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด๎านการตํางๆทั้งอนาคตใกล๎-ไกล
๘. กระปุกออมสินตรงกับคาภาษาอังกฤษวํา
ก. Bank duck ข. Bank dog ค. Piggy bank ง. Poke bank
๙. วัสดุจากธรรมชาติ คือ
ก. พัดลม น้าตาล ข. น้าปลา ยาสีฟัน
ค.เปลือกข๎าวโพด เปลือกถั่วลิสง เปลือกไขํ ง. น้าดื่ม หม๎อหุงข๎าว
๑๐. ข๎อใดตรงกับคาวํา “Sufficient economy”
ก. มีกินมีใช๎ ข. ไมํได๎มาตรฐาน
ค. เศรษฐกิจพอเพียง ง. ระมัดระวังการใช๎

More Related Content

What's hot

การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลNavie Bts
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8sirinan120
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้ยัยบ้อง ตาบร้า
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้vizaza
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้สุเทพ สอนนิล
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 

What's hot (19)

การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 

Viewers also liked

ข้อสอบปลายภาคศิลป์ ดนตรี นาฏ
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ ดนตรี นาฏข้อสอบปลายภาคศิลป์ ดนตรี นาฏ
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ ดนตรี นาฏpeter dontoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียงpeter dontoom
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Viewers also liked (11)

01
0101
01
 
03
0303
03
 
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ ดนตรี นาฏ
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ ดนตรี นาฏข้อสอบปลายภาคศิลป์ ดนตรี นาฏ
ข้อสอบปลายภาคศิลป์ ดนตรี นาฏ
 
05
0505
05
 
02
0202
02
 
04
0404
04
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง
 
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
การงาน3
การงาน3การงาน3
การงาน3pannee
 
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณMeaw Sukee
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑an510140238
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8dump0507
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
การงาน3
การงาน3การงาน3
การงาน3
 
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 

More from peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

More from peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างพอเพียง แผนการจัดการเรียนรู๎ที่ 2 รหัสวิชา ศ 23101 รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การใช๎ความคิดสร๎างสรรค์อยํางพอเพียง จานวน 2 ชั่วโมง ครูผู๎สอน อารมณ์ อินทรประเสริฐ 1. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ 1.1 สร๎างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร๎างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณคํางานทัศนศิลป์ ถํายทอดความรู๎สึก ความคิดตํองานศิลปะ อยํางอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน 2. สาระสาคัญ 2.1 ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล๎อมและงานทัศนศิลป์ การสร๎างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล การ สร๎างงานทัศนศิลป์รูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ์และจินตนาการสะท๎อนคุณคําทางวัฒนธรรม 1. บรรยายสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลปที่เลือกมาโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู๎ 1. บอกความหมายและประโยชน์ของความคิดสร๎างสรรค์ได๎ 2. จาแนกลักษณะของความคิดสร๎างสรรค์ได๎ 3. รู๎จักวัสดุเหลือใช๎ 4. ประดิษฐ์ของเหลือใช๎ประดิษฐ์กระปุกออมสิน 5. บอกหน๎าที่รู๎จักดารงตนอยูํโดยใช๎หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จ พระเจ๎าอยูํหัว รู๎จักอดออมไว๎ใช๎เมื่อยามจาเป็น มีไว๎พอกินพอใช๎ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความหมายและประโยชน์ของความคิดสร๎างสรรค์ 3.2 จาแนกลักษณะของความคิดสร๎างสรรค์ 3.3 ทักษะการทางานรํวมกัน 3.4 ประดิษฐ์ของเหลือใช๎กระปุกออมสิน 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
  • 2. 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด ใช๎ความคิดสร๎างสรรต์ในกระประดิษฐ์วัสดุเหลือใช๎ 4.3 ความสามารถในการแก๎ปัญหา เลือกวัสดุของเหลือใช๎มาสร๎างสรรค์ 4.4 ความสามารถในการใช๎ทักษะในการใช๎ชีวิต วัสดุที่เลือกใช๎สามารถนามาใช๎ในชีวิตประจาวันได๎ 4.5 ความสามารถในการใช๎เทคโนโลยี ในการสืบค๎นเลือกวัสดุเหลือใช๎มาประดิษฐ์ให๎เกิดประโยชน์ 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู๎ 5. อยูํอยํางพอเพียง 6. มุํงมั่นในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 6. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความมีเหตุผล ความมีเหตุผลหมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต๎องเป็นไป อยํางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข๎อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวํา จะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อยํางรอบคอบ 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. ให๎นักเรียนดูรูปภาพกระปุกออมสินเป็นงานประดิษฐ์ที่ได๎รับความนิยมในการประดิษฐ์มาก เพราะสามารถปลูกฝัง ความประหยัดอดออมให๎กับเด็กๆได๎ และรูปแบบของกระปุกก็มักจะเป็นรูปหมู ในวันนี้ผมจึงนาวิธีการทากระปุกรูปหมู แบบงํายๆ ให๎ทุกคนสามารถทากันได๎
  • 3. 2. แบํงนักเรียนออกเป็นกลุํม ๆ ละ 4-6 คน โดยคละกันตามความสามารถ 3. ให๎นักเรียนศึกษาเนื้อหาสาระจากอินเทอร์เนตในการประดิษฐ์กระปุกออมสินจากว๎สดุเหลือใช๎ 4. ให๎ตัวแทนแตํละกลุํมรับใบงานที่ 1 เรื่องการประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎ ใช๎ความคิดสร๎างสรรค์และการทางานรํวมกันเป็นกลุํม และรํวมกันทากิจกรรม โดยครูคอย ให๎คาแนะนาเพิ่มเติมและสังเกตพฤติกรรม 5. ให๎แตํละกลุํมสํงตัวแทนรายงานหน๎าชั้นเรียนโดยให๎สรุปใจความสาคัญลงในโปรแกรม PowerPoint ตามที่ครูกาหนดให๎ดังนี้ กลุํมที่ 1 รายงานเรื่องความหมายของความคิดสร๎างสรรค์ กลุํมที่ 2 การจาแนกลักษณะของวัสดุเหลือใช๎ กลุํมที่ 3 องค์ประกอบของความคิดสร๎างสรรค์ประเภทงานประดิษฐ์กระปุกออมสิน กลุํมที่ 4 ประโยชน์ของความคิดสร๎างสรรค์ กลุํมที่ 5 อุปสรรค์ของการฝึกความคิดสร๎างสรรค์ 6. ครูและนักเรียนรํวมกันอภิปรายตามใบงานที่ 1 ดังนี้ 6.1 ความคิดสร๎างสรรค์หมายถึงอะไร แนวคาตอบ กระบวนการคิดของสมองที่คิดสร๎างสรรค์สิ่งใหมํ ๆที่แตกตํางไปจากเดิมและสามารถใช๎ประโยชน์ได๎อยําง เหมาะสมเพราะสมองของมนุษย์เรามีความสามารถในการคิด ได๎หลากหลายและแปลกใหมํและคิดรูปแบบใหมํขึ้นมาเลือกวํา คิดนอกกรอบ 6.2 การจาแนกวัสดุเหลือใช๎ แนวคาตอบ วัสดุเหลือใช๎แบํงตามประเภท ได๎ดังนี้ 1.วัสดุจากธรรมชาติ เชํน เศษไม๎ เปลือกข๎าวโพด เปลือกถั่วลิสง เปลือกไขํ ขนสัตว์ เกล็ดปลา เป็น ต๎น 2.พลาสติก เชํน ขวดน้าอัดลม ขวดน้าเปลํา กระป๋องแป้ง เส๎นพลาสติกรัดของ ถุงหํอขนม ถุง นม ขวดน้ายาล๎างจาน เป็นต๎น 3.แก๎ว เชํน ขวดแก๎วเครื่องดื่มบารุงสุขภาพ เครื่องดื่มชูกาลัง ขวดน้าปลา เป็นต๎น 4.โลหะ เชํน เศษเหล็ก เส๎นลวด น็อต ตะปู สังกะสี กระป๋องนม เป็นต๎น 5.กระดาษ เชํน กระดาษหนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร กลํองกระดาษ ปฏิทิน เป็นต๎น 6.ผ๎าหรือเศษด๎าย เชํน เศษผ๎าไหม เศษผ๎ายืด เศษผ๎าฝ้าย เป็นต๎น
  • 4. 7.2ประเภทอื่นๆ เชํน โฟม กระดุม เศษกระเบื้อง ขี้เลื่อย เป็นต๎น 7.3 องค์ประกอบของความคิดสร๎างสรรค์ได๎แกํอะไรบ๎างและมีขั้นตอนในการคิดอยํางไร แนวคาตอบ ความคิดสร๎างสรรค์จะเกิดขึ้นได๎ต๎องอาศัยองค์ประกอบ 3 อยํางคือความคิดนั้นต๎องเป็นสิ่งใหมํ เป็น ความคิดไมํเหมือนใคร นาไปใช๎ได๎หรือมีประโยชน์ มีความเหมาะสมกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่กาลังคิดกาลัง แก๎ปัญหา ขั้นตอนในการคิดมี 4 ขั้นตอนคือ ขั้นเตรียมการคือการรวบรวมข๎อมูล ขั้นครุํนคิด แตํยังคิดไมํออก ขั้นของการเกิดความคิด ขั้นพิสูจน์ เป็นระยะของการตรวจสอบประเมินผล 7.4 การประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎ แนวคาตอบ อุปกรณ์ในการทามีดังนี้ 1. ขวดน้าเหลือใช๎ 5 ขวด(ขนาดตามต๎องการ) 2. กระดาษเหลือใช๎ 3. กาวลาเท็กซ์ 4. สีโปสเตอร์และพูํกัน 5. คัดเตอร์ 7.5 ข๎อใดคือ อุปสรรคของการฝึกความคิดสร๎างสรรค์ แนวคาตอบ แบํงออกเป็น 2 ประเภท คืออุปสรรคภายนอก ข๎อจากัดอันเกิด จาก ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมและกฏเกณฑ์ของสังคม อุปสรรคภายใน คือ อุปนิสัย ทําที และเจตคติของตัวเองได๎แกํความกลัวที่จะถูกกตาหนิและหาวําแปลกหรือชินกับ ความคิดเดิมหรือมีมุมมองแคบมองทุกอยํางเพียงมิติเดียว 7.6 หลักเศรษฐกิจพอเพียง แนวคาตอบ ทักษะการทางาน รู๎จักดารงตนอยูํโดยใช๎หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว รู๎จักอดออมไว๎ใช๎เมื่อยามจาเป็น มีไว๎พอกินพอใช๎ 8. ให๎นักเรียนประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎ 9. ครูและนักเรียนรํวมกันสรุปในการประดิษฐ์กระปุกออมสิน 10. ทดสอบหลังเรียน (แบบทดสอบหลังเรียนในเว็บไซต์ www.peterfineart.com) สื่อการเรียนการสอน 1. ใบงานที่ 1 เรื่องความคิดสร๎างสรรค์การประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎ 2. คอมพิวเตอร์
  • 5. การวัดผลประเมินผล 1. สิ่งที่จะวัด 1.1 ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู๎ 1.2 พฤติกรรมการปฏิบัติ 1.3 การทากิจกรรม 2. วิธีการวัด 2.1 ทาแบบทดสอบ 2.2 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ 2.3 ตรวจผลการทากิจกรรม(ผลงาน) 3. เครื่องมือวัด 3.1 แบบทดสอบ 3.2 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม 3.3 แบบบันทึกการทากิจกรรม(แบบบันทึกการตรวจผลงาน) 4. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล 4.1 เกณฑ์การวัด 4.1.1 ให๎คะแนนแบบทดสอบ ข๎อถูกให๎ 1 คะแนน ข๎อผิดให๎ 0 คะแนน 4.1.2 ให๎คะแนนพฤติกรรมดังนี้ ดีมาก ให๎ 9-10 คะแนน ดี ให๎ 7-8 คะแนน พอใช๎ ให๎ 5-6 คะแนน ควรปรับปรุงให๎ 1-4 คะแนน 4.1.3 ให๎คะแนนการทากิจกรรมหรือคะแนนปฏิบัติผลงาน ดังนี้ ข๎อถูกให๎ 1 คะแนน ข๎อผิดให๎ 0 คะแนน สาหรับผลงาน ผลงานเสร็จสมบูรณ์เรียบร๎อยทันเวลาที่กาหนด ให๎ 5 คะแนน ทาผลงานเสร็จเรียบร๎อยสมบูรณ์ทันเวลาแตํยังไมํประณีตความสวยงามระดับปานกลาง-ดี ให๎ คะแนน 4 คะแนน ทาเสร็จสมบูรณ์ทันเวลาแตํไมํสวยงามให๎ 3 คะแนน 4.2 เกณฑ์การประเมินผล 4.2.1 นักเรียนได๎คะแนนทดสอบไมํน๎อยกวําร๎อยละ 50 4.2.2 นักเรียนได๎คะแนนพฤติกรรมรวมไมํน๎อยกวําร๎อยละ 70 4.2.3 นักเรียนได๎คะแนนกิจกรรมหรือผลงานรวมไมํน๎อยกวําร๎อยละ 70
  • 6. ข๎อเสนอแนะของหัวหน๎าสถานศึกษาฝ่ายบริหาร …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ (นายนิวัตร วงศ์วิลัย) ผู๎อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม บันทึกผลหลังสอน 1. ผลการสอน 2. ปัญหาและอุปสรรค 3. ข๎อเสนอแนะเพิ่มเติม ลงชื่อ……………………………................................ (นายอารมย์ อินทรประเสริฐ) ครูผู๎สอน
  • 7. ภาคผนวกท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยใบความรู้แบบฝึกทักษะ/ใบงาน/ใบกิจกรรมฯลฯ ตารางวิเคราะห์แผนจัดการเรียนรู้ตามหลัดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑.ผู้สอนนาหลักฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ ประเด็นหลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวเอง เนื้อหา การใช้ความคิดสร้างสรรค์ วัสดุเหลือใช้บางประเภทมี ประโชน์ นักเรียนแก้ปัญหาการใช้ วัสดุ เวลา 2 ชั่วโมง ทาตามเวลาที่กาหนด ซื่อสัตย์ต่อตัวเอง กิจกรรมการเรียนรู้ ทางานเป็นทีม แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ คิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็น สื่ออุปกรณ์/แหล่งการ เรียนรู้ สิ่งพิมพ์ อินเทอร์เนต เลือกใช้วัสดุอย่างมีเหตุผล แก้ปัญหาได้ การประเมินผล ยอมรับการตัดสิน แยกแยะปัญหาการทางาน กลับไปแก้ไขผลงาน ความรู้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เลือกใช้ในการทางาน รวดเร็วตอบสนองการใช้ งาน ความรู้ที่ครูต้องมี ความคิดสร้างสรรค์ ทฤษฏีและปฏิบีติ สื่อต่างๆ คุณธรรมของครู
  • 8. ๒. ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวเอง เข้าใจแก้ปัญหาเป็น ทาแล้วเกิดประโยชน์อะไร 3ห่วง2เงื่อนไข ความรู้ที่ต้องมีก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ปฏิบัติงานแล้วนาไปใช้ได้ เกิดประโยชน์ สามารถปรับประยุกต์งาน ต่อไป คุณธรรมของผู้เรียน ซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา มีวินัยการทางาน มีศิลธรรมในตัวเอง ๓. ผู้เรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ ดังนี้ ด้านองค์ประกอบ สมดุลและพร้อมรับเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ สิ่งของที่เหลือใช้ มิตรภาพกับเพื่อน ค้นคว้าหาวัสดุที่มา ทดแทน รักษาความเป็นไทย ทักษะ คิดความสร้างสรรค์ การปฏิบัติ ฝีมือการ ประดิษฐ์ ไม่ทาลายรักษา สมดุลย์ธรรมชาติ รักษ์ความเป็นไทย ค่านิยม เลือกใช้วัสดุ คิดสร้างสรรค์อย่าง ไทย ไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อม รักษาความเป็นไทย แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน เรื่องความคิดสร๎างสรรค์การประดิษฐ์กระปุกออมสินจากวัสดุเหลือใช๎
  • 9. คาชี้แจง ให๎นักเรียนเขียนเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน๎าคาตอบที่ถูกต๎อง ๑. ความคิดสร๎างสรรค์มีลักษณะตรงกับข๎อใด ก. คิดถํายโอนไปให๎ผู๎อื่นไมํได๎ ข. คิดสามารถเก็บสะสมไว๎ได๎ ค.กระบวนการคิดของสมองที่คิดสร๎างสรรค์สิ่งใหมํ ๆที่แตกตํางไปจากเดิม ง. คิดมีความสวยงาม ๒. ความคิดนอกกรอบคือ ก. คิดอย่างตรงๆ ข. คิดอย่างมีระบบ ค. คิดอะไรก็ได้ ง. การคิดอย่างแตกต่าง อย่างไม่เป็นไปตามแบบแผน ๓. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีกี่หํวง ก. 5 หํวง 3 เงื่อนไข ข. 3 หํวง 2 เงื่อนไข ค. 2 หํวง 3 เงื่อนไข ง. ผิดทุกข๎อ ๔. คุณธรรมคืออะไรที่ถูกต๎อง ก. ราคาความมีได๎ มีเสีย ข. อดทน มีสติ ปัญญา แบํงปัน ค. รูปแบบความคิดดี ง. ความคุ๎มคําและประโยชน์ในการกระทา ๕. วัสดุเหลือใช๎ได๎แกํ ก. โทรศัพท์ ข. ขวด กระป๋อง แก๎ว ค. พัดลม ง. กระเป๋า ๖. ข๎อใดคือ เงื่อนไขความรู้ ก. รู๎รอบด๎าน ความรอบคอบที่จะนาความรู๎เหลํานั้นมาพิจารณาให๎เชื่อมโยงกัน ข. ได๎รับการชักจูงในการเลือกข๎าง ค. ได๎รับความรู๎ที่กวําความเป็นจริง
  • 10. ง. ได๎ทราบข๎อมูลตามความเป็นจริง ๗. การมีภูมิคุ๎มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง ก. สิทธิที่จะได๎รับขําวสาร ข. สิทธิที่จะได๎รับความปลอดภัย ค. สิทธิที่จะมีผูกพันธ์กับตัวเอง ง. การเตรียมตัวให๎พร๎อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด๎านการตํางๆทั้งอนาคตใกล๎-ไกล ๘. กระปุกออมสินตรงกับคาภาษาอังกฤษวํา ก. Bank duck ข. Bank dog ค. Piggy bank ง. Poke bank ๙. วัสดุจากธรรมชาติ คือ ก. พัดลม น้าตาล ข. น้าปลา ยาสีฟัน ค.เปลือกข๎าวโพด เปลือกถั่วลิสง เปลือกไขํ ง. น้าดื่ม หม๎อหุงข๎าว ๑๐. ข๎อใดตรงกับคาวํา “Sufficient economy” ก. มีกินมีใช๎ ข. ไมํได๎มาตรฐาน ค. เศรษฐกิจพอเพียง ง. ระมัดระวังการใช๎